โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์น

ดัชนี เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์น

ยาค็อบ ลุดวิก เฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น-บาร์โธลดี (Jakob Ludwig Felix Mendelssohn-Bartholdy) เป็นที่รู้จักกันในชื่อ เฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น (3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809 - 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1847) เป็นนักเปียโน คีตกวี และผู้อำนวยเพลงชาวเยอรมัน อยู่ในยุคโรแมนติกตอนต้น มีผลงานประพันธ์ทั้งซิมโฟนี คอนแชร์โต ออราทอริโอ และ1847 หมวดหมู่:คีตกวีชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักดนตรีคลาสสิก หมวดหมู่:วาทยกร หมวดหมู่:นักเปียโน หมวดหมู่:คีตกวีและนักแต่งเพลงชาวยิว หมวดหมู่:คีตกวีอุปรากร หมวดหมู่:บุคคลจากฮัมบูร์ก หมวดหมู่:ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว โครงดนตรี.

17 ความสัมพันธ์: ชาวยิวอัชเคนาซิพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 4 แห่งปรัสเซียกุสตาฟ มาห์เลอร์ออราทอริโอดนตรียุคโรแมนติกดนตรีคลาสสิกซิมโฟนีหมายเลข 1 (ชูมันน์)ซิมโฟนีหมายเลข 3 (เบโทเฟน)ซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อยประเทศเยอรมนีโบสถ์นักบุญโธมัส (ไลพ์ซิก)ไบรดัลคอรัสไลพ์ซิชไวโอลินคอนแชร์โต (เมนเดลโซห์น)เพาล์ โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน ไฮเซอเกวันด์เฮาส์เว็ดดิงมาร์ช

ชาวยิวอัชเคนาซิ

วยิวอัชเคนาซิ หรือ ชาวยิวแห่งอัชเคนาซ (יְהוּדֵי אַשְׁכֲּנָז หรือ אַשְׁכֲּנָזִים, Ashkenazi Jews หรือ Ashkenazic Jews หรือ Ashkenazim) คือชาวยิวที่สืบเชื้อสายมาจากชาวยิวที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในลุ่มแม่น้ำไรน์แลนด์ทางตะวันตกของเยอรมนีและตอนเหนือของฝรั่งเศสในยุคกลาง คำว่า "Ashkenaz" เป็นชื่อภาษาฮิบรูสมัยกลางของภูมิภาคที่ในปัจจุบันครอบคลุมประเทศเยอรมนี และบริเวณที่มีชายแดนติดต่อที่พูดภาษาเยอรมัน นอกจากนั้นอัชเคนาซก็ยังเป็นประมุขจาเฟติคที่สืบเชื้อสายมาจากลูกหลานของโนอาห์ (Table of Nations) ฉะนั้น "อัชเคนาซิม" หรือ "อัชเคนาซิยิว" ก็คือ "ชาวยิวเยอรมัน" ต่อมาชาวยิวอัชเคนาซิก็อพยพไปทางตะวันออก ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณที่ไม่ได้พูดภาษาเยอรมันที่รวมทั้งฮังการี โปแลนด์ ลิทัวเนีย รัสเซีย ยุโรปตะวันออก และ ภูมิภาคอื่นๆ ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึง 19 ภาษาที่นำติดตัวไปก็คือภาษายิดดิชซึ่งเป็นภาษาเยอรมันภาษายิว|ยิว ที่ตั้งแต่ยุคกลางมาเป็น "ภาษากลาง" ในหมู่ชาวยิวอัชเคนาซิ นอกจากนั้นก็มีบ้างที่พูดภาษายิว-ฝรั่งเศส หรือ ภาษาซาร์ฟาติค (Zarphatic) และ ภาษากลุ่มสลาฟ-ที่มีพื้นฐานมาจากภาษาคนานิค (ภาษายิว-เช็ก) ชาวยิวอัชเคนาซิวิวัฒนาการวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่ผสานเอาวัฒนธรรมของชนในท้องถิ่นที่ตั้งถิ่นฐานในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกเข้ามาด้วย แม้ว่าในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชาวยิวอัชเคนาซิจะเป็นจำนวนเพียง 3 เปอร์เซ็นต์ของประชากรชาวยิวทั้งโลก แต่เมื่อมาถึงปี..

ใหม่!!: เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นและชาวยิวอัชเคนาซิ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 4 แห่งปรัสเซีย

ระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 4 (Friedrich Wilhelm IV) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งปรัสเซียระหว่าง..

ใหม่!!: เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นและพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 4 แห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

กุสตาฟ มาห์เลอร์

กุสตาฟ มาห์เลอร์ ในวัยเด็ก กุสตาฟ มาห์เลอร์ (เกิด 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1860 - เสียชีวิต 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1911) เป็นคีตกวีและวาทยกรชาวโบฮีเมียน-ออสเตรียน มาห์เลอร์เป็นที่รู้จักในยุคของเขา ในฐานะวาทยากรชื่อดังแห่งยุค แต่ในปัจจุบัน เขากลับเป็นที่ยอมรับในฐานะคีตกวีแห่งยุคนีโอโรแมนติก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากซิมโฟนี และบทเพลงในลักษณะซิมโฟนี เช่น เพลง Das Lied von der Erde (บทเพลงแห่งโลก) ที่เป็นจุดสุดยอดของบทเพลงขับร้องที่เขาประพันธ์ ส่วนซิมโฟนีหมายเลข 3 ความยาว 95 นาที นับเป็นซิมโฟนีที่ยาวที่สุดที่เคยมีการเปิดแสดง และยังชื่อได้ว่าเป็นซิมโฟนีที่ยาวที่สุดในบรรดาซิมโฟนีทั้งหลายอีกด้ว.

ใหม่!!: เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นและกุสตาฟ มาห์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ออราทอริโอ

ออราทอริโอ (Oratorio) มีกำเนิดขึ้นโดยผู้ประพันธ์เพลงนาม Carisimi (1605-1674) ออราทอริโอเป็นบทเพลงที่ประกอบด้วยการร้องเดี่ยว หรือร้องกลุ่มของนักร้องระดับเสียงต่างๆ การร้องของวงขับร้องประสานเสียง โดยมีการบรรเลงของวงออร์เคสตราประกอบ ซึ่งบทร้องเป็นเรื่องราวขนาดยาวเกี่ยวกับศาสนาคริสต์ ลักษณะของออราทอริโอนั้นมีความคล้ายกับโอเปร่า แต่ออราทอริโอนั้นไม่มีการแต่งตัวแบบละคร ไม่มีฉากหลัง และการแสดงประกอบนั่นเอง ลักษณะเด่นของออราทอริโอที่ต่างไปจากเพลงศาสนาแบบอื่นๆ ได้แก่ การประพันธ์บทร้องที่คำนึงถึงดนตรีประกอบ มิได้มุ่งถึงบทร้องที่นำมาจากบทประพันธ์ของวัดแต่ดั้งเดิมดังเช่นเพลงโบสถ์แบบอื่นๆ นอกจากนี้ออราทอริโอยังเป็นบทเพลงที่มีความยาวมาก ซึ่งต่างไปจากเพลงคันตาตาที่เป็นบทเพลงขนาดสั้นกว่า ออราทอริโอถ้าแสดงโดยสมบูรณ์อาจยาวถึง 4-6 ชั่วโมง ในปัจจุบันการแสดงบทเพลงออราทอริโอจึงมีการตัดเพลงบางท่อนออกเพื่อลดเวลาการแสดงให้เหมาะสม.

ใหม่!!: เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นและออราทอริโอ · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรียุคโรแมนติก

รแมนติก (ค.ศ.1810-1910) เป็นยุคของดนตรีคลาสสิกในช่วงศตวรรษที่19 ซึ่งเน้นอารมณ์ของดนตรีมากกว่าความสมดุลของบทตอน และเน้นความเป็นตัวตนของคีตกวีมากกว่ากฎเกณฑ์ทางดนตรีที่มีมาแต่เดิม คำว่า "โรแมนติก" ถูกประยุกต์ใช้ในวงการดนตรีปี ค.ศ. 1810 ซึ่งเอามาจากวงการวรรณกรรม มีความหมายว่า อารมณ์ที่รุนแรงของมนุษย์ โดยลักษณะดนตรีแบบโรแมนติกนี้เริ่มขึ้นในงานของนักประพันธ์เพลงและนักดนตรีชื่อ ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน (Ludwig van Beethoven) ดนตรียุคโรแมนติกนั้นเริ่มต้นด้วยเพลงขับร้องและเพลงเปียโนสั้นๆ ต่อมาเป็นเพลงสำหรับวงออร์เคสตร.

ใหม่!!: เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นและดนตรียุคโรแมนติก · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีคลาสสิก

วงซิมโฟนีออเคสตรา ดนตรีคลาสสิก (Classical music) เป็นรูปแบบหนึ่งของดนตรี ซึ่งมักจะหมายถึงดนตรีที่เป็นศิลปะของตะวันตก การแสดงดนตรีคลาสสิกจะใช้เครื่องดนตรี 4 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ เครื่องสาย (String) แบ่งออกเป็น ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และดับเบิลเบส กลุ่มที่สอง คือ เครื่องลมไม้ (Woodwind) เช่น ฟลูต คลาริเน็ต โอโบ บาสซูน ปิคโคโล กลุ่มที่สาม คือ เครื่องลมทองเหลือง (Brass) เช่น ทรัมเป็ต ทรอมโบน ทูบา เฟรนช์ฮอร์น กลุ่มที่สี่ คือ เครื่องกระทบ (Percussion) เช่น กลองทิมปานี ฉาบ กลองใหญ่ (Bass Drum) กิ๋ง (Triangle) เมื่อเล่นรวมกันเป็นวงเรียกว่าวงดุริยางค์หรือ ออร์เคสตรา (Orchestra) ซึ่งมีผู้อำนวยเพลง (conductor) เป็นผู้ควบคุมวง.

ใหม่!!: เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นและดนตรีคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนีหมายเลข 1 (ชูมันน์)

ลารา วิค เมื่ออายุ 15 ปี ก่อนจะพบกับโรเบิร์ต ชูมันน์ ภาพปี ค.ศ. 1835 ซิมโฟนีหมายเลข 1 ในบันไดเสียง บี แฟลต เมเจอร์ (Symphony No.) ผลงานประพันธ์ซิมโฟนีชิ้นแรกของโรเบิร์ต ชูมันน์ เขาเริ่มร่างซิมโฟนีเป็นครั้งแรกโดยการสนับสนุนจากคลารา ชูมันน์ในช่วงฤดูใบไม้ร่วงของปี..

ใหม่!!: เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นและซิมโฟนีหมายเลข 1 (ชูมันน์) · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนีหมายเลข 3 (เบโทเฟน)

หน้าปก ''Eroica'' Symphony มีร่องรอยจากการที่เบโทเฟินขูดชื่อนโปเลียนออกไป ซิมโฟนีหมายเลข 3 ในบันไดเสียง อี แฟลต เมเจอร์ (Symphony No.) ของลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน รู้จักกันในชื่อ อีรอยกา ซิมโฟนี (Eroica Symphony; Eroica มาจากภาษาอิตาลี หมายถึง "heroic", วีรบุรุษ) เป็นผลงานซิมโฟนีของเบโทเฟินที่บางครั้งถูกอ้างถึงว่าเป็นจุดสิ้นสุดของดนตรียุคคลาสสิก และเป็นจุดเริ่มต้นของดนตรียุคโรแมนติก เบโทเฟินเริ่มแต่งซิมโฟนีบทนี้ด้วยความเลื่อมใสในตัวนโปเลียน โบนาปาร์ต (1769-1821) ในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เดิมเมื่อเริ่มแต่ง เขาอุทิศผลงานชิ้นนี้ให้กับนโปเลียน พร้อมกับตั้งชื่อให้ว่า Bonaparte เริ่มตั้งแต่ช่วงปลายปี..

ใหม่!!: เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นและซิมโฟนีหมายเลข 3 (เบโทเฟน) · ดูเพิ่มเติม »

ซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย

ซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย (Seasons Change เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย) เป็นภาพยนตร์ไทย เรื่องราวเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเด็กวัยรุ่น 3 คน ในช่วงระยะเวลาหนึ่งปี ที่ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยเปรียบเทียบกับฤดูกาลที่เปลี่ยนไป ภาพยนตร์เรื่องนี้ กำกับโดย นิธิวัฒน์ ธราธร และเข้าฉาย เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นและซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์นักบุญโธมัส (ไลพ์ซิก)

นักบุญโธมัส (Thomaskirche) เป็นโบสถ์เก่าแก่ของเมืองไลพ์ซิก มีหลักฐานการสร้างโบถส์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1212 ปัจจุบันมีความสำคัญเนื่องจากเป็นโบสถ์ที่ โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค คีตกวีชื่อดังชาวเยอรมัน เคยทำงานเพลง และยังเป็นสถานที่ฝังศพของเขาอีกด้วย โบสถ์นักบุญโธมัส เมืองไลพ์ซิก โบสถ์นักบุญโธมัส เมืองไลพ์ซิกทางด้านทิศเหนือ.

ใหม่!!: เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นและโบสถ์นักบุญโธมัส (ไลพ์ซิก) · ดูเพิ่มเติม »

ไบรดัลคอรัส

รดัลคอรัส (bridal chorus) หรือ ไบรดัลมาร์ช (bridal march) หรือ Treulich geführt เป็นเพลงมาร์ชที่นิยมใช้บรรเลงขณะเจ้าสาวเดินทางเข้าสู่พิธีในงานแต่งงานแบบตะวันตก นำมาจากท่อนร้องประสานเสียง จากองก์ที่ 3 ของอุปรากรเรื่อง โลเฮ็นกริน ผลงานประพันธ์ของริชาร์ด วากเนอร์ ในปี..

ใหม่!!: เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นและไบรดัลคอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ไลพ์ซิช

ลพ์ซิช (Leipzig) เป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งในรัฐซัคเซิน ในประเทศเยอรมนี มีประชากร 515,110 คน และเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในรัฐ และเป็นเมืองที่มีระบบการปกครองในรูปแบบเขตปกครองพิเศษ ชื่อ "ไลพ์ซิช" มาจากภาษาสลาฟว่า "ลิพสค์" (Lipsk) ซึ่ง แปลว่า ตั้งอยู่บนพื้นที่ ที่มีต้นไม้ดอกเหลือง นอกจากนี้ ไลพ์ซิชยังเป็นชื่อของเขตปกครองภายในรัฐซัคเซิน โดยในสหพันธรัฐแซกโซนีประกอบด้วย 3 เขตปกครอง (Landkreise) และ 3 เขตปกครองพิเศษ (Kreisfreie Städte) โดยเขตปกครองไลพ์ซิชเป็นเขตปกครองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสหพันธรัฐแซกโซนี เนื้อหาของบทความนี้กล่าวถึงเฉพาะเมืองไลพ์ซิชซึ่งเป็นเขตปกครองพิเศษเท่านั้น.

ใหม่!!: เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นและไลพ์ซิช · ดูเพิ่มเติม »

ไวโอลินคอนแชร์โต (เมนเดลโซห์น)

ฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น เฟอร์ดินานด์ เดวิด ไวโอลินคอนแชร์โต ในบันไดเสียง อี ไมเนอร์ (Violin Concerto in E minor, Op.) เป็นผลงานประพันธ์ชิ้นใหญ่สำหรับบรรเลงด้วยวงออร์เคสตรา ชิ้นสุดท้ายของเฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น เป็นคอนแชร์โตสำหรับไวโอลินชิ้นหนึ่งที่ได้รับความนิยม และนำมาบรรเลงบ่อยครั้งที่สุด เมนเดลโซห์นเริ่มแต่งคอนแชร์โตบทนี้ในปี..

ใหม่!!: เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นและไวโอลินคอนแชร์โต (เมนเดลโซห์น) · ดูเพิ่มเติม »

เพาล์ โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน ไฮเซอ

ล์ โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน ไฮเซอ (Paul Johann Ludwig von Heyse; 15 มีนาคม ค.ศ. 1830 - 2 เมษายน ค.ศ. 1914) เพาล์ โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน ไฮเซอเป็นนักเขียนคนสำคัญชาวเยอรมันผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1910 ฟอน ไฮเซอเป็นบุตรของคาร์ล วิลเฮล์ม ลุดวิจ ไฮเซอนักนิรุกติศาสตร์ผู้มีชื่อเสียง และยูลี ซาลลิง ยูลีเป็นบุตรีผู้มาจากตระกูลลชาวยิวที่มีหน้ามีตาและมีความเกี่ยวดองกับช่างอัญมณีประจำราชสำนักเฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น ฟอน ไฮเซอได้รับการศึกษาในเบอร์ลินแต่บอนน์ ในสาขาวิชาภาษาคลาสสิก หลังจากนั้นฟอน ไฮเซอก็แปลงานกวีนิพนธ์ของกวีอิตาลีหลายคน และเขียนเรื่องสั้น และ นวนิยายที่ได้รับการตีพิมพ์หลายเรื่อง แต่เรื่องที่มีชื่อเสียงที่สุดคือเรื่อง “Kinder der Welt” (ยุวชนของโลก, ค.ศ. 1873) ในเบอร์ลินฟอน ไฮเซอเป็นสมาชิกของสมาคมกวี “Tunnel über der Spree” (อุโมงค์ข้ามแม่น้ำสปรี) และในมิวนิคก็เป็นสมาชิกของสมาคมกวี “Krokodil” (จระเข้) พร้อมกับเอ็มมานูเอล ไกเบิล ฟอน ไฮเซอเขียนหนังสือ, กวีนิพนธ์ และ บทละครราว 60 เรื่อง ผลงานจำนวนมากทำให้ฟอน ไฮเซอกลายเป็นผู้นำในบรรดานักวิชาการหรือปัญญาชนเยอรมัน ฟอน ไฮเซอได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1910 ในฐานะผู้ เวียร์เซนผู้ตัดสินคนหนึ่งของคณะกรรมการโนเบลกล่าวว่า “เยอรมนีไม่มีอัจฉริยะทางด้านวรรณกรรมมาตั้งแต่เกอเท”.

ใหม่!!: เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นและเพาล์ โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน ไฮเซอ · ดูเพิ่มเติม »

เกวันด์เฮาส์

กวันด์เฮาส์ (Gewandhaus) เมืองไลพ์ซิจ เป็นห้องจัดแสดงคอนเสิร์ตที่มีความสำคัญแห่งหนึ่งของเมือง นอกจากนี้ ยังเป็นสถานที่จัดแสดงคอนเสิร์ตของวงออร์เคสตราเกวันด์เฮาส์อีกด้วย ปัจจุบันเกวันด์เฮาส์เมืองไลพ์ซิจ ตั้งอยู่ ณ ลานจัตุรัสเอากุสตุส อาคารเกวันด์เฮาส์หลังปัจจุบันถูกสร้างเพื่อทดแทนหลังเก่าที่ถูกทำลายในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เกวันด์เฮาส์ หลังแรก ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1781 เกวันด์เฮาส์ หลังที่สอง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1884 เกวันด์เฮาส์ หลังปัจจุบัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1981.

ใหม่!!: เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นและเกวันด์เฮาส์ · ดูเพิ่มเติม »

เว็ดดิงมาร์ช

thumb เว็ดดิงมาร์ช (Wedding march) ของเฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น ในบันไดเสียงซี เมเจอร์ แต่งขึ้นในปี..

ใหม่!!: เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นและเว็ดดิงมาร์ช · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Felix Mendelssohnเฟลิกซ์ เมนเดลซอห์นเฟลิกซ์ เมนเดลโซห์นเฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น-บาร์โธลดี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »