โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เป่ายิ้งฉุบ

ดัชนี เป่ายิ้งฉุบ

ป่ายิ้งฉุบ หรือ เป่ายิงฉุบ หรือ เป่า ยิง ฉุบ เป็นการละเล่นอย่างหนึ่งที่นิยมกันมากในหมู่เด็ก ๆ หลายชาติหลายภาษาทั่วโลก อาศัยเพียงเสี่ยงมือระหว่างผู้เล่นสองฝ่ายเพื่อเอาชนะกัน การเสี่ยงมือทำได้ 3 แบบ คือ ค้อน (กำมือ), กระดาษ (แบมือ) และกรรไกร (ยื่นเฉพาะนิ้วชี้และนิ้วกลาง).

16 ความสัมพันธ์: บารากะมอน เกาะมีฮา คนมีเฮชิงร้อยชิงล้าน ชะช่ะช่าชิงร้อยชิงล้าน ทเวนตี้ เซ็นจูรี่ ตั๊กกระต่ายขาเดียวมือระบบเกมโปเกมอนอัจฉริยะยกบ้านอัตสึโกะ มาเอดะทอยเส้นตลก 6 ฉากโอน้อยออกไฟร์เอมเบลมไฟร์เอมเบลม (วิดีโอเกม)ไฟร์เอมเบลม: Ankoku Ryū to Hikari no Kenเกมวัดดวงเอจออฟมีโธโลจี

บารากะมอน เกาะมีฮา คนมีเฮ

รากะมอน เกาะมีฮา คนมีเฮ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ผลงานของ ซัตสึกิ โยะชิโนะ เคยลงเป็นเรื่องสั้นตอนเดียวจบในนิตยสาร Gangan POWERED ฉบับเดือนเมษายน 2551 และด้วยเสียงตอบรับของผู้อ่าน จึงลงตอนที่ 2 ในฉบับเดือนตุลาคมปีเดียวกัน และตอนที่ 3 ในฉบับเดือนเมษายน 2552 และได้เริ่มลงในเว็บไซต์การ์ตูนออนไลน์ Gangan ONLINE ของสำนักพิมพ์ Square Enix ตั้งแต่วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2552 เดือนละ 1 ตอน โดยปัจจุบันมียอดขายฉบับรวมเล่มรวมกันเกินกว่า 1,800,000 เล่มแล้ว.

ใหม่!!: เป่ายิ้งฉุบและบารากะมอน เกาะมีฮา คนมีเฮ · ดูเพิ่มเติม »

ชิงร้อยชิงล้าน ชะช่ะช่า

งร้อยชิงล้าน ชะชะช่า เป็นรายการเกมโชว์ที่ปรับเปลี่ยนรูปแบบมาจากรายการ ชิงร้อยชิงล้าน ซูเปอร์เกม โดยออกอากาศครั้งแรกทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เมื่อวันพุธที่ 4 มีนาคม..

ใหม่!!: เป่ายิ้งฉุบและชิงร้อยชิงล้าน ชะช่ะช่า · ดูเพิ่มเติม »

ชิงร้อยชิงล้าน ทเวนตี้ เซ็นจูรี่ ตั๊ก

งร้อยชิงล้าน ทเวนตี้ เซ็นจูรี่ ตั๊ก เป็นรายการเกมโชว์ที่เปลี่ยนชื่อจาก ชิงร้อยชิงล้าน Cha Cha Cha เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2551 ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดยออกอากาศทุกวันพุธเวลา 22.30 น. และย้ายเวลาการออกอากาศเป็นทุกวันอังคาร เวลา 22.30 น. - 00.30 น. (โดยประมาณ) โดยตั้งแต่ 7 เมษายน พ.ศ. 2552 เป็นต้นไป.

ใหม่!!: เป่ายิ้งฉุบและชิงร้อยชิงล้าน ทเวนตี้ เซ็นจูรี่ ตั๊ก · ดูเพิ่มเติม »

กระต่ายขาเดียว

กระต่ายขาเดียว เป็นการละเล่นไล่จับประเภทหนึ่ง โดยผู้ที่ถูกเรียกว่าเป็น"กระต่าย" จะยืนบนขาข้างเดียว งอเข่าขาอีกข้างไม่ให้เท้าสัมผัสพื้น แล้วกระโดด+เขย่ง เพื่อไล่จับคนอื่นๆ ให้สลับมาเป็นกระต่ายแทน เล่นได้ตามลานโล่ง หรือสนามหญ้า ช่วยออกกำลังกายขา และฝึกทรงตัวด้วยขาข้างเดียว มักแบ่งเป็น สองทีมจำนวนคนเท่าๆ กัน หรือ อาจจะไม่ต้องมีทีมเลยก็ได้ ถ้ามี 2 คน มักไม่เล่น กระต่ายขาเดียว เพราะไล่จับกันไปมา ไม่เฮฮา หากมีจำนวนผู้เล่น 3-5 คน มักไม่แบ่งทีม แต่ถ้า 6 คนขึ้นไป สามารถแบ่งเป็นสองทีมเท่าๆ กัน แล้วทีมที่เป็นกระต่าย จะส่งกระต่ายมาทีละคน แล้วกระโดดเขย่ง ไล่แตะตัว อีกทีม หากกระต่ายเหนื่อย ก็แตะมือคนในทีมเดียวกัน สลับมาเป็นกระต่าย ไล่กวด แทน (คล้ายการ tag team มวยปล้ำ) เหตุที่เรียกว่า กระต่ายขาเดียว น่าจะมาจาก การเคลื่อนที่ของกระต่าย ที่ใช้ สองขาหลัง ดีดตัว กระโดดเตี้ยๆ เพื่อเคลื่อนไปยังตำแหน่งต่างๆ เมื่อเด็กเล่นไล่จับ แล้วเคลื่อนที่ด้วยการกระโดดเขย่งๆ ด้วยขาข้างเดียว จึงคล้ายกับการกระโดดของกระต่าย พื้นที่ที่ใช้เล่น มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ชัดเจนตามปริมาณผู้เล่น เช่น สองหรือสามบล็อกพื้นถนน(ซีเมนต์) หรือประมาณ 5x5 เมตร เพื่อให้การกวดไล่จับ ไม่ยากเกินไปนัก ผู้ที่วิ่งหนี ออกนอกบริเวณ ก็เสมือนถูก"กระต่าย"แตะตัวได้ ถือว่าแพ้ และต้องมาเป็น"กระต่าย"แทน ก่อนเล่น จะต้องมีการ คัดสรรผู้ที่จะเป็นกระต่าย หรือจัดแบ่งทีม ด้วยการ "โอน้อยออก" และ "เป่ายิงฉุบ" ผู้ที่แพ้ในขั้นตอนการเป่ายิงฉุบ จะเป็นกระต่าย การเล่น ในกรณีที่เด็กไม่เยอะ ไม่จำเป็นต้องแบ่งทีม ผู้แพ้ในขั้นตอนการคัดสรร ต้องเป็นกระต่าย ให้ยืนด้วยขาข้างเดียว แล้วกระโดด เขย่ง กางแขนสองข้างได้ แล้วพยายามบีบพื้นที่ และใช้ความไว ในการแตะให้ถูกส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย เด็กคนอื่นๆ ที่มีหน้าที่วิ่งหลบ โดยทุกคนต้องอยู่ภายในพื้นที่ที่กำหนด ใครวิ่งหลุดออกนอกพื้นที่ ก็ถือว่าแพ้ ต้องสลับมาเป็นกระต่ายแทน หากคนที่เป็นกระต่าย ไล่กวดจนหมดแรง ยืนด้วยขาข้างเดียวไม่ไหว ปล่อยเท้าลงแตะพื้น ก็เท่ากับว่าแพ้ ซึ่งก็อาจจะมีวิธีการทำโทษอื่นๆ ต่อไป ในบางแห่ง กระต่าย สามารถพักได้ ด้วยการเอาเท้าของขาข้างที่ไม่ได้ใช้ยืน มาวางแตะบนเท้า ข้างที่ใช้ยืนขาเดียว แต่ห้ามเท้าแตะพื้นหรือสลับขาหลัก คนที่เป็นกระต่ายขาเดียว มักอาศัยจังหวะ กางแขนออกสองข้าง ต้อนเด็กสักคน เข้ามุม หรือขอบพื้นที่ ซึ่งเด็กคนนั้นก็ต้องหลอกล่อ อาศัยจังหวะ วิ่งหลบซ้าย หรือขวา หรือมุดหลบใต้แขน ออกนอกเขตอันตราย คนที่เป็นกระต่าย ก็ต้องไว แม้จะยืนเขย่ง ด้วยขาข้างเดียว แต่ก็ต้องดูจังหวะ ไล่แตะ หรือ กอด หรือจับให้โดน แม้จะโดนเส้นผม หรือชายเสื้อ ก็ถือว่าชนะ ไม่ต้องเป็นกระต่ายอีกต่อไป คนที่ถูกจับ ก็สลับเปลี่ยนมาเป็นกระต่ายแทน แล้วไล่จับไปเรื่อยๆ ส่วนการแบ่งทีมเล่น มักใช้เมื่อ จำนวนเด็กเยอะ โดยที่ พื้นที่ที่เล่น ยังคงนิยมใช้เท่าเดิม เช่น ประมาณ 5x5 เมตร เพราะถ้ากว้างเกิน ก็ไล่ไม่สำเร็จ หรือถ้าพื้นที่เล็กเกิน ก็หนีไม่ค่อยพ้น ทีมที่เป็นกระต่าย จะอยู่รอนอกพื้นที่ อีกทีมที่มีหน้าที่หลอกล่อ หนีกระต่าย จะลงไปอยู่ในพื้นที่กันทุกคน ทีมกระต่าย ส่งกระต่ายตัวแทนลงมาทีละหนึ่งคน เพื่อไล่แตะทีมหนี ให้หมดทุกคน คนที่โดนแตะ หรือจับได้ ก็ออกไปยืนแพ้ รออยู่นอกพื้นที่ จนกว่าจะครบหมดเกลี้ยง คนที่เป็นกระต่าย ก็มักจะสลับเปลี่ยน ให้เพื่อนร่วมทีม มาเป็นกระต่ายไล่กวดเด็กที่เหลือ จนกว่าจะหมดแรงกันไป หากทีมที่เป็นกระต่าย หมดแรง เท้าแตะพื้น ไม่สามารถจับทุกคนของอีกทีมได้หมด ก็ถือว่าแพ้ โดนลงโทษ และเป็นกระต่ายซ้ำ ไล่จับกันต่อไป แต่โดยมาก ความสนุกสนานเฮฮา ไม่ได้อยู่ที่การชนะให้ได้ตลอด แต่อยู่ที่การเชียร์-การสลับกันเป็นกระต่าย และสลับกันหนี ทีมไหนหนีได้เก่ง วิ่งหลบหลีกได้นานที่สุดก็ถือว่าได้เฮฮา หลอกล่อ เมื่อทีมฝ่ายหนี เหลือคนเดียว ก็มักจะยอมแพ้ ให้แตะโดยง่าย และสลับไปเป็นทีมกระต่ายบ้าง เพื่อจะได้ไล่จับ สลับกันไป ซึ่งสนุกกว่า เป็นทีมหนีอยู่อย่างเดียว การละเล่น "กระต่ายขาเดียว" น่าจะเป็นที่มาของ สำนวน "ยืนกระต่ายขาเดียว" หรือ "ยืนเป็นกระต่ายขาเดียว" ซึ่งหมายถึง การยืนยัน การเถียง การโต้แย้ง ด้วยเหตุผล หรือมุมมองจากตนเองฝ่ายเดียว และมักเป็นการแย้งที่ไม่สมเหตุสมผล รวมถึงมักจะเป็นการโกหก ปิดบังความจริง เพราะการยืนกระต่ายขาเดียว โอนเอน ไม่สมดุล ไม่มั่นคง ล้มได้เสมอ.

ใหม่!!: เป่ายิ้งฉุบและกระต่ายขาเดียว · ดูเพิ่มเติม »

มือ

มือ (Hand) คืออวัยวะส่วนหนึ่งของร่างกายอยู่ต่อแขน สำหรับจับ หยิบ สิ่งของต่าง.

ใหม่!!: เป่ายิ้งฉุบและมือ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบเกมโปเกมอน

ระบบเกมของวิดีโอเกมเล่นตามบทบาทชุดโปเกมอนเกี่ยวพันกับการจับและฝึกฝนสิ่งมีชีวิตหลากหลายชีวิตที่เรียกว่า "โปเกมอน" และใช้ต่อสู้กับเทรนเนอร์คนอื่น ๆ เกมโปเกมอนแต่ละเจเนอเรชันหรือรุ่น สร้างขึ้นด้วยแนวคิดเกี่ยวกับการเปิดเผยโปเกมอนชนิดใหม่ ไอเทม และแนวคิดระบบเกมแบบใหม่ บางแนวคิดเคยมีนำเสนอที่อื่นมาก่อนที่จะนำเสนอในเกม เช่น การต่อสู้แบบสองต่อสองเคยปรากฏในอะนิเมะมานานก่อนปรากฏในเกม และความสามารถพิเศษของโปเกมอนคล้ายกับค่าเพาเวอร์ในโปเกมอนเทรดดิงการ์ดเกม ซึ่งนำเสนอโปเกมอนสีแปลกด้วยร.

ใหม่!!: เป่ายิ้งฉุบและระบบเกมโปเกมอน · ดูเพิ่มเติม »

อัจฉริยะยกบ้าน

อัจฉริยะยกบ้าน (Family Genius) เป็นรายการเกมโชว์ควิซโชว์ที่ปรับรูปแบบมาจากรายการอัจฉริยะข้ามคืน โดยเปลี่ยนการแข่งขันที่เน้นความเป็นอัจฉริยะจากรายบุคคล มาเป็นการแข่งขันแบบครอบครัว 3 คน ประกอบด้วยพ่อ แม่ ลูก โดยออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 22.00 - 23.00 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ส่วนหนึ่งของรายการใช้รูปแบบที่ได้รับลิขสิทธิ์จากรายการ Ultimate Family Challenge ของ Fuji TV ประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: เป่ายิ้งฉุบและอัจฉริยะยกบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

อัตสึโกะ มาเอดะ

อัตสึโกะ มาเอดะ (10 กรกฎาคม 2534, อิชิกะวะ,จังหวัดชิบะ —) เป็นอดีตสมาชิกของวงไอดอลญี่ปุ่น AKB48 โดยเธออยู่ในทีมเอและเป็นหนึ่งในสมาชิกที่มีชื่อเสียงที่สุดของกลุ่มและได้รับเลือกตั้งเป็นอันดับที่ 1 ในปี 2552 และปี 2554 แต่ใน เซ็นบัสสึ ในปี 2553 ใน เซ็นบัสสึ มะเอะดะได้แพ้ให้กับ โอชิมะ ยูโกะ ที่เป็นผู้นำในซิลเกิลที่ 17 "Heavy Rotation" เธอเป็นส่วนหนึ่งของ กลุ่มเซ็นบัสสึ ซึ่งประกอบด้วย สมาชิกวง AKB48 ที่มีลักษณะที่เป็นสมาชิกที่ได้รับความนิยมในซิงเกิลที่ผ่านๆมา ในวันอาทิตย์ที่ 25 มีนาคม..

ใหม่!!: เป่ายิ้งฉุบและอัตสึโกะ มาเอดะ · ดูเพิ่มเติม »

ทอยเส้น

อยเส้น เป็นการละเล่นสนุกของเด็กๆ หลายจังหวัด สมัยก่อนราวๆ ยุคปี 2510-2530 โดย เด็กๆ ยืนเรียงหลังแนวเส้นหนึ่ง แล้วทอยตุ๊กตุ่น ออกไปให้คาบแนวเส้น อีกเส้นหนึ่ง หรือใครใกล้แนวเส้นที่สุดชนะ ช่วงยุคนั้น พึ่งเริ่มมีการแพร่ภาพทางโทรทัศน์ แบบขาวดำ มีการนำเข้า รายการทีวีจากต่างประเทศ รวมถึงนำรายการแนวฮีโร่ของญี่ปุ่น (ทั้งแบบที่เป็นการ์ตูนแอนิเมชัน และแบบคนแสดง) เข้ามาฉาย โดยเฉพาะงอาละวาด" เมื่อปี..

ใหม่!!: เป่ายิ้งฉุบและทอยเส้น · ดูเพิ่มเติม »

ตลก 6 ฉาก

ตลก 6 ฉาก เป็นรายการวาไรตี้ผสมละครซิตคอมตลกสั้นจบในตอนมีความกระชับ และปิดท้ายด้วยเกมโชว์ ออกอากาศทุกวันเสาร์ 11:30 - 12:30 น. และรีรัน วันจันทร์ 14:30 - 15:30 น. ทางช่องเวิร์คพอยท์ ผลิตโดย บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ในยุคแรกมีฉากทั้งหมด 6 ฉาก เช่น ฉากโรงพยาบาล, ร้านกาแฟ, ซูเปอร์มาเก็ต, ฟิตเนส เป็นต้น จึงได้ชื่อว่า "ตลก 6 ฉาก" ละครจะเน้นความตลกขบขัน ภายใต้สโลแกนว่า “จะฉากอะไรในชีวิต ก็คิดให้มันเป็นเรื่อง..ตลก” นอกจากนี้ยังเป็นรายการโทรทัศน์รายการแรกของไทยที่ได้รับ เหรียญรางวัลและเกียรติบัตรจาก เวที อินเตอร์เนชั่นแนล เอมี่ อะวอร์ดส รางวัลทางโทรทัศน์ระดับโลก ในปัจจุบัน ฉากในรายการจะมีทั้งหมด 10 ฉาก ได้แก่ ออฟฟิศจิตป่วน, ข่าวด่วนชวนยิ้ม, แท็กซี่ฮาเฮ, ห้องเรียน, ร้านเฮียพัน, ร้านเฟอร์นิเจอร์, รถไฟฟ้า, บ้าน, ห้าง, ร้านโยเกิร์ต แต่ละฉากก็จะมีเนื้อเรื่องที่แตกต่างกันออกไป มีนักแสดงหมุนเวียนสับเปลี่ยนกันแสดงทุกฉาก หากตอนในฉากใดมีหมายเลขกำกับด้านล่าง แสดงว่าเป็นตอนที่จะมีมากกว่า 1 ช่วงในตอนนั้น.

ใหม่!!: เป่ายิ้งฉุบและตลก 6 ฉาก · ดูเพิ่มเติม »

โอน้อยออก

อน้อยออก เป็น กระบวนการสั้นๆ ที่เด็กๆ นิยมใช้เพื่อ คัดสรร จัดลำดับ แบ่งกลุ่ม แยกข้าง ฯลฯ ก่อนจะเริ่มเล่นเกมส์ต่างๆ ที่ต้องมีการคัดแยกทีม หรือเรียงลำดับก่อนหลัง ด้วยการนับ"จำนวน"คนที่ หงาย หรือ คว่ำฝ่ามือ เป็นเครื่องแบ่ง และมักใช้คัดสรร เมื่อมีเด็กตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป ถ้าเหลือ 2 คน จะใช้การ "เป่ายิ้งฉุบ" หรือ "เป่ายิงฉุบ" แทน น่าประหลาดใจที่ "โอน้อยออก" และ "เป่ายิงฉุบ" เป็นที่แพร่หลายไปทั่วประเทศ ทั้งๆ ที่การสื่อสารยุคก่อน ไม่สะดวกง่ายดาย แต่เด็กทุกภูมิภาค ล้วนรู้จัก "โอน้อยออก" เหมือนๆ กัน ส่วนเด็กต่างประเทศ เท่าที่ทราบ ไม่ค่อยมี "โอน้อยออก" แต่มักใช้การ เป่ายิงฉุบ (หรือที่ภาษาอังกฤษเรียก hammer-paper-scissors หรือ Rock-paper-scissors) เพื่อคัดสรร ไม่ว่าจะมีกี่คน ก็ เป่ายิงฉุบ ไปเรื่อยๆ โดยที่หากมีจำนวนเยอะมากกว่า 3 การแสดงมือเป่ายิงฉุบจะเป็นเพียง การนับจำนวน ผู้ที่แสดงมือ ค้อน-กรรไกร-กระดาษ สิ่งใดน้อยก็ถือว่าตกรอบออกไปก่อน ต่อเมื่อเหลือ 2 คน การเป่ายิงฉุบ จึงใช้การตัดสิน สิทธิ์ที่เหนือกว่า ของ ค้อน-กรรไกร-กระดาษ ยกตัวอย่างการโอน้อยออก เช่น ก่อนการเล่นทอยเส้น หากมีจำนวนเด็กตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป ก็จะต้องทำการจัดเรียง ว่าใคร อยู่ลำดับแรก เริ่มทอยก่อน (โดยทั่วไป ทุกคนต้องการเป็นคนสุดท้าย) เด็กๆ จะเริ่มเรียก "มา โอน้อยออก กัน" จากนั้นทุกคนก็รวมกลุ่มยืนล้อมเป็นวง แล้วยื่นท่อนแขนตั้งแต่ศอกลงมาถึงมือ ออกมาหนึ่งข้าง ตั้งฉากกับลำตัว หรือขนานกับพื้นโลก เหยียดฝ่ามือ หันสันมือลงกับพื้น (นิ้วโป้งอยู่ด้านบน นิ้วก้อยอยู่ด้านล่าง) คล้ายท่า จะจับมือทักทายของฝรั่ง แล้ว สะบัดฝ่ามือแกว่งตามแนวนอน คล้ายการทำท่าพัด พร้อมกับช่วยกันเปล่งเสียงคำว่า "โอ...น้อ...อ่อก" ด้วยการลากเสียงคำว่า "โอ" และ/หรือ ลากเสียงคำว่า "น้อย" เพื่อเป็นการนัดพร้อม และออกเสียงห้วนๆ สั้นๆ กับคำว่า "ออก" เพื่อให้ทุกคนที่ล้อมวง เลือกว่า จะ "หงายฝ่ามือ" หรือ "คว่ำฝ่ามือ" ใคร หรือ กลุ่มใด แสดงผล "หงายฝ่ามือ" หรือ "คว่ำฝ่ามือ" มีจำนวนน้อยกว่า (เสียงส่วนน้อย) ก็เท่ากับว่าแพ้ ตกรอบไปก่อน คนที่เหลือ ก็ "โอน้อยออก" กันต่อไป คัดเสียงส่วนน้อย ออกไปเรื่อยๆ จนเหลือ 2 คน ก็จะใช้วิธีการ เป่ายิ้งฉุบ หรือ เป่ายิงฉุบ แทน ก็จะได้ผู้ชนะสุดท้.

ใหม่!!: เป่ายิ้งฉุบและโอน้อยออก · ดูเพิ่มเติม »

ไฟร์เอมเบลม

ฟร์เอมเบลม เป็นวิดีโอเกมแนวแท็กติกสวมบทบาท ซึ่งเป็นผลงานการพัฒนาของ Intelligent Systems(โดยเฉพาะ Shouzou Kaga) ผู้สร้างเกม Advance Wars (ซึ่งมีส่วนคล้ายคลึงกับ ไฟร์เอมเบลมในส่วนของการวางแผน), และจัดจำหน่ายโดย Nintendo เกมในชุดของ ไฟร์เอมเบลม เป็นที่รู้จักดีในในแง่ความคิดสร้างสรรค์ และ ในแง่ที่เป็นเกมในแนวแท็กติกสวมบทบาทเกมแรกๆที่เน้นเนื้อหาอิงไปทางยุคกลางของทางตะวันตก นอกจากน้นเกมในชุดนี้ยังเป็นที่รู้จัก ในแง่ของความลึกของมิติในการพัฒนาตัวละคร รวมทั้งในแง่ที่การตายของตัวละครส่วนใหญ่ การตายในการต่อสู้ นั้นหมายถึงการตายอย่างถาวรตลอดทั้งการเล่นในครั้งนั้น ปัจจุบันในชุดประกอบด้วยเกมทั้งหมด 11 ภาค ซึ่งมีทั้งในเครื่องแฟมิคอม,ซูเปอร์แฟมิคอม,เกมบอยแอ็ดวานซ์,นินเทนโดเกมคิวบ์,นินเทนโดดีเอส,และ วี ในเดือนสิงหาคม 2551, นินเทนโดจัดจำหน่ายไฟร์เอมเบลม: Shadow Dragon สำหรับเครื่องนินเทนโดดีเอส ซึ่งเป็นภาคที่นำกลับมาสร้างใหม่ของเกมภาคแรกในชุดคือ ไฟร์เอมเบลม: Ankoku Ryū to Hikari no Ken และเกมภาคใหม่นี้ยังเป็นภาคแรกในชุด "ไฟร์เอมเบลม" ที่มีระบบออนไลน์ เกมในชุดส่วนใหญ่จัดจำหน่ายเฉพาะในญี่ปุ่นเท่านั้น จนมาถึง Fire Emblem ซึ่งเป็นภาคที่เจ็ดในชุดที่ได้จัดจำหน่ายทั่วโลกในปี..

ใหม่!!: เป่ายิ้งฉุบและไฟร์เอมเบลม · ดูเพิ่มเติม »

ไฟร์เอมเบลม (วิดีโอเกม)

กมภาค Fire Emblem นี้ วางจำหน่ายในญี่ปุ่นในนาม Fire Emblem Rekka no Ken (ファイアーエムブレム 烈火の剣, Faiā Emuburemu Rekka no Ken, แปล "ไฟร์เอมเบลม:ดาบเพลิง") ในภาษาญี่ปุ่น ในรูปแบบของเกมแนววางแผน สวมบทบาท สำหรับเครื่องเกมบอยแอดวานซ์ พัฒนาโดย Intelligent Systems และจัดจำหน่ายโดย นินเทนโด เกมออกวางจำหน่ายในวันที่ 25 เมษายน..

ใหม่!!: เป่ายิ้งฉุบและไฟร์เอมเบลม (วิดีโอเกม) · ดูเพิ่มเติม »

ไฟร์เอมเบลม: Ankoku Ryū to Hikari no Ken

ฟร์เอมเบลม: Ankoku Ryū to Hikari no Tsurugi (ファイアーエムブレム 暗黒竜と光の剣,Faiā Emuburemu Ankoku Ryū to Hikari no Tsurugi, แปล ไฟร์เอมเบลม: มังกรแห่งความมืด และดาบแห่งแสงสว่าง) เป็นเกมภาคแรกในเกมชุดไฟร์เอมเบลม เกมแนววางแผนสวมบทบาทผลัดกันเดิน ที่พัฒนาขึ้นโดย Intelligent Systems และ จัดจำหน่ายโดยนินเทนโด วางจำหน่ายครั้งแรกบนเครื่องแฟมิคอม (หรือที่รู้จักกันทั่วโลกในชื่อ Nintendo Entertainment System) ในวันที่ 20 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เป่ายิ้งฉุบและไฟร์เอมเบลม: Ankoku Ryū to Hikari no Ken · ดูเพิ่มเติม »

เกมวัดดวง

กมวัดดวง เป็นรายการเกมโชว์ที่มีเนื้อหาคือ เป็นเกมการแข่งขันที่นำเอาโชคชะตาของผู้เข้าแข่งขันมาทำเป็นเกม ซึ่งทางรายการจะหาผู้ที่ดวงดีที่สุด จากผู้เข้าแข่งทั้งหมดในสัปดาห์นั้น ลักษณะเกมนั้นจะเป็นการทำกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงทุกสัปดาห์ ในแต่ละรอบ ทางรายการจะกำหนดกติกาเอาไว้ ซึ่งจะเป็นสิ่งที่กำหนดว่าผู้เข้าแข่งขันแต่ละคนจะ เข้ารอบ หรือ ตกรอบ โดยกติกาเหล่านี้จะไม่ตัดสินผู้เข้าแข่งขันด้วยความสามารถส่วนตัวใด ๆ เลย จะขึ้นอยู่กับ ดวง เพียงอย่างเดียวเท่านั้น และจะใช้หลักความน่าจะเป็น โดยมีคำขวัญว่า "คุณไม่ต้องพกอะไรนอกจากดวงเพียงอย่างเดียว" เกมวัดดวง ในระยะแรกผลิตรายการโดย บริษัท จีเอ็มเอ็ม ทีวี จำกัด ออกอากาศทุกวันจันทร์ เวลา 23.05 - 23.55 น. ต่อมาย้ายวันและเวลาออกอากาศเป็น วันเสาร์ เวลา 12.55 - 13.50 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ออกอากาศครั้งแรกในวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 ดำเนินรายการโดย ดีเจไก่ สมพล ปิยะพงศ์สิริ, ดีเจโจ้ อัครพล ธนะวิทวิลาศ และในปีพ.ศ. 2552 ได้เพิ่ม อ้อม พิยดา อัครเศรณีเข้ามาเป็นพิธีกร อย่างไรก็ตามเนื่องจากการปรับผังรายการของสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ในปีพ.ศ. 2554 ทำให้รายการ เกมวัดดวง ต้องยุติการออกอากาศลง หลังจากออกอากาศมายาวนานกว่า 8 ปี โดยเทปสุดท้ายของรายการ ออกอากาศในวันเสาร์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และมีการเพิ่มเวลาออกอากาศจากทางสถานีเดียวกันในวันหยุดนักขัตฤกษ์ โดยใช้ชื่อรายการว่า เกมวัดดวง ฮอลิเดย์ หลังจากที่จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีช่องรายการฟรีทีวีทางช่องทางดิจิทัลทีวี บริษัท เนค แอนด์ เดอะ ซิตี้ จำกัด จึงเสนอให้ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แชนแนล​ จำกัด จัดทำรายการเกมวัดดวงขึ้นใหม่อีกครั้ง โดยปรับพิธีกรใหม่ คือ เกตุเสพสวัสดิ์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา และ พัฒนศักดิ์ เรืองจำเนียร โดยช่วงแรกก่อนกลับมาออกอากาศ รายการได้เปิดการเฟ้นหาคนดวงดีทั่วประเทศในรูปแบบของการแข่งขันแบบซีซัน จากนั้นจึงกลับมาออกอากาศเป็นรายตอนตามปกติ โดยที่รายการเกมวัดดวง เริ่มกลับมาออกอากาศอีกครั้งตั้งแต่วันที่ 4 เมษายน..

ใหม่!!: เป่ายิ้งฉุบและเกมวัดดวง · ดูเพิ่มเติม »

เอจออฟมีโธโลจี

อจออฟมีโธโลจี (Age of Mythology) หรือมักย่อเป็น AoM เป็นเกมคอมพิวเตอร์แนววางแผนเรียลไทม์ ซึ่งมีเนื้อหาของปรัมปราวิทยา พัฒนาโดย เอนเซมเบิลสตูดิโอส์ และจัดจำหน่ายโดยไมโครซอฟท์เกมสตูดิโอส์ ออกวางจำหน่ายเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เป่ายิ้งฉุบและเอจออฟมีโธโลจี · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

เป่ายิงฉุบ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »