สารบัญ
13 ความสัมพันธ์: บาซิลิกาซานมินิอาโตอัลมอนเตบุญเกิด กฤษบำรุงชีวิตอารามวาสีลูกา ซิญโญเรลลีอารามมอนเตโอลีเวโตมัจโจเรอารามแซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์คณะซิสเตอร์เชียนคณะเบเนดิกตินต้นสมัยกลางนักพรตแม่พระมหาการุณย์ (ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา)เรลิก11 กรกฎาคม
บาซิลิกาซานมินิอาโตอัลมอนเต
นักบุญมินิอัสแห่งฟลอเรนซ์ทางขวาของพระเยซู โดยมีคำจารึกว่า: "S. MINIATUS REX ERMINIE" บาซิลิกาซานมินิอาโตอัลมอนเต (Basilica di San Miniato al Monte) เป็นบาซิลิกาที่ตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ทางตอนกลางของประเทศอิตาลี ตัวบาซิลิกาตั้งอยู่บนเนินที่สูงที่สุดของเมืองฟลอเรนซ์ บาซิลิกาซานมินิอาโตอัลมอนเตได้ชื่อว่าเป็นสถาปัตยกรรมชิ้นเอกชิ้นหนึ่งของสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ในทัสเคนี บาซิลิกาตั้งอยู่ติดกับสำนักสงฆ์ลัทธิโอลิเวทันส์ที่จะมองเห็นเมื่อขึ้นบันไดไปยังบาซิลิกา นักบุญมินิอัสแห่งฟลอเรนซ์ หรือมินาส (Մինաս, Miniato) เดิมเป็นเจ้าชายชาวอาร์มีเนียผู้รับราชการเป็นทหารในกองทัพโรมันภายใต้จักรพรรดิเดซิอัส มินิอัสถูกประณามว่าเป็นผู้นับถือคริสต์ศาสนาหลังจากที่ไปเป็นนักพรต และถูกนำตัวมาปรากฏต่อหน้าจักรพรรดิ ผู้กำลังตั้งค่ายอยู่หน้าประตูเมืองฟลอเรนซ์ พระจักรพรรดิมีพระบรมราชโองการให้โยนมินิอัสให้สัตว์ป่ากินในสนามกีฬา แต่เมื่อปล่อยเสือดำเข้าไป เสือดำก็ไม่ยอมทำร้ายมินิอัส มินิอัสจึงถูกตัดหัวต่อหน้าพระจักรพรรดิ กล่าวกันว่ามินิอัสไม่ได้เสียชีวิตทันทีแต่ก้มลงยกหัวของตนขึ้นมา แล้วประคองหัวข้ามแม่น้ำอาร์โน จากนั้นก็เดินขึ้นเนินมอนส์ฟิโอเรนตินัสไปยังที่อาศัย ต่อมาก็ได้มีการสร้างสักการะสถานตรงจุดนี้ และเมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 8 ก็มีชาเปลขึ้นแล้ว การก่อสร้างคริสต์ศาสนสถานที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้เริ่มขึ้นเมื่อ ค.ศ.
ดู เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซียและบาซิลิกาซานมินิอาโตอัลมอนเต
บุญเกิด กฤษบำรุง
ญราศีนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง (31 มกราคม พ.ศ. 2438 – 12 มกราคม พ.ศ. 2487) เป็นบาทหลวงชาวนครปฐม สังกัดมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ เมื่อรับศีลอนุกรมเป็นบาทหลวงแล้วได้ทำงานแพร่ธรรมในหลายจังหวัด จนกระทั่งเกิดกรณีพิพาทอินโดจีนขึ้น บาทหลวงบุญเกิดถูกตำรวจจับในข้อหา "กบฏภายนอกราชอาณาจักร" ศาลตัดสินให้จำคุก 15 ปีที่เรือนจำกลางบางขวาง และถึงแก่กรรมด้วยวัณโรคหลังจากติดคุกได้ 3 ปี บาทหลวงบุญเกิดได้รับยกย่องจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกว่าเป็นมรณสักขี และได้รับการประกาศเป็นบุญราศีเมื่อวันที่ 5 มีนาคม..
ดู เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซียและบุญเกิด กฤษบำรุง
ชีวิตอารามวาสี
อารามเซนต์แคเธอริน เขาไซนายในอียิปต์ ก่อตั้งราวระหว่าง ค.ศ. 527 ถึง ค.ศ. 565 ชีวิตอารามวาสีสมชัย พิทยาพงษ์พร, บาทหลวง, พัฒนาการวิถีชีวิตจิตคริสตชน, นครปฐม: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม, 2551, หน้า 27 (monasticism) มาจากภาษากรีก “μοναχός” - “monachos” ที่มีรากมาจากคำว่า “monos” ที่แปลว่า “สันโดษ” หรือ “ผู้เดียว” หมายถึงวิถีชีวิตทางศาสนาที่นักบวชเน้นสละชีวิตทางโลกเพื่ออุทิศตนอย่างเต็มตัวในทางธรรม คำนี้ที่มาจากภาษากรีกโบราณและอาจเกี่ยวกับภิกษุซึ่งเป็นนักพรตในพุทธศาสนา ในคริสต์ศาสนา บุรุษที่ใช้ชีวิตอารามวาสีเรียกว่านักพรต ถ้าเป็นหญิงก็เรียกว่านักพรตหญิง นักพรตทั้งชายและหญิงจะเรียกโดยรวมว่าอารามิกชน (monastics) ศาสนาอื่นต่างก็มีชีวิตอารามวาสีเป็นของตนเองโดยเฉพาะในศาสนาพุทธ และรวมทั้งลัทธิเต๋า ศาสนาฮินดู และศาสนาเชน แต่รายละเอียดของแต่ละระบบของแต่ละศาสนาหรือแต่ละนิกายก็แตกต่างจากกันมาก.
ดู เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซียและชีวิตอารามวาสี
ลูกา ซิญโญเรลลี
ตรกรรมฝาผนัง “กิจการของพระเยซูเท็จ”(Deeds of the Antichrist) ราว ค.ศ. 1501)ที่มหาวิหารออร์เวียตโต ลูคา ซินยอเรลลิ (Luca Signorelli หรือ Luca da Cortona หรือ Luca d'Egidio di Ventura (ชื่อเมื่อแรกเกิด)) (ราว ค.ศ.
ดู เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซียและลูกา ซิญโญเรลลี
อารามมอนเตโอลีเวโตมัจโจเร
อารามมอนเตโอลีเวโตมัจโจเร (Abbazia territoriale di Monte Oliveto Maggiore, Monte Oliveto Maggiore) เป็นอารามประจำดินแดนของคณะเบเนดิกตินที่ตั้งอยู่ราวสิบกิโลเมตรทางใต้ของเมืองอาชีอาโนในประเทศอิตาลี กลุ่มสิ่งก่อสร้างของ ส่วนใหญ่สร้างด้วยอิฐสีแดงที่โดดเด่นจากภูมิทัศน์รอบข้างที่เป็นสีนวลเทาของดินทรายของบริเวณที่เรียกว่าแคว้นเกรเตเซเนซีซึ่งบริเวณตอนใต้ของเมืองซีเอนา อารามมอนเตโอลีเวโตมัจโจเรเป็นอารามแม่ของคณะโอลิเวตัน ซึ่งเป็นที่มาของชื่ออารามว่าเป็น “Monte Oliveto Maggiore” (อารามโอลีเวโตใหญ่) เพื่อให้ต่างจากอารามย่อยในฟลอเรนซ์, ซานจิมิยาโน, เนเปิลส์ และ อื่น.
ดู เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซียและอารามมอนเตโอลีเวโตมัจโจเร
อารามแซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์
อารามแซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์ (Abbaye de Saint-Benoît-sur-Loire) หรือ อารามเฟลอรี (Abbaye de Fleury) เป็นแอบบีย์ของคณะเบเนดิกติน ตั้งอยู่ที่เมืองแซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์ จังหวัดลัวแร ประเทศฝรั่งเศส เป็นหนึ่งในแอบบีย์ที่มีฐานะดีที่สุดและมีอำนาจมากที่สุดในบรรดาแอบบีย์ของคณะเบเนดิกตินในทวีปยุโรปตะวันตก ชื่อปัจจุบันของแอบบีย์คือ “เฟลอรี-แซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์” ที่มาจากการอ้างว่าพบเรลิกของนักบุญเบเนดิกต์แห่งเนอร์เซียที่นั่น ตำแหน่งที่ตั้งอยู่บนแม่น้ำลัวร์ทำให้ง่ายต่อการติดต่อกับออร์เลอ็องซึ่งเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่ต่อเนื่องกันมาอย่างไม่ขาดสายตั้งแต่สมัยโรมัน.
ดู เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซียและอารามแซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์
คณะซิสเตอร์เชียน
ตราอาร์มของคณะซิสเตอร์เชียน คณะซิสเตอร์เชียน (Ordo Cisterciensis, Cistercian Order,.
ดู เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซียและคณะซิสเตอร์เชียน
คณะเบเนดิกติน
ณะนักบุญเบเนดิกต์ (Ordo Sancti Benedicti; Order of Saint Benedict) นิยมเรียกกันว่า คณะเบเนดิกติน (Benedictine Order) (ค.ศ. 480 - ค.ศ. 547) เป็นคณะนักบวชคาทอลิกที่ใช้ชีวิตอารามวาสีตามหลักวินัยของนักบุญเบเนดิกต์ นักพรตในคณะนี้จะอาศัยอยู่ร่วมกันในคริสต์ศาสนสถานที่เรียกว่าอาราม (บางอารามเรียกว่าแอบบีย์หรือไพรออรี) ซึ่งแต่ละอารามจะปกครองตนเองเป็นอิสระ ไม่ขึ้นต่ออารามอื่น ๆ มีสมาพันธ์เบเนดิกตินซึ่งสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 13 ทรงตั้งขึ้นเพื่อเป็นองค์การปกครองคณะในระดับสากล มีอธิการไพรเมตเป็นประธานสมาพัน.
ดู เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซียและคณะเบเนดิกติน
ต้นสมัยกลาง
ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg.
ดู เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซียและต้นสมัยกลาง
นักพรต
นักพรต (monk)กีรติ บุญเจือ, แก่นปรัชญายุคกลาง, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550, หน้า 131 คือผู้บำเพ็ญพรต หรือผู้ประพฤติตามข้อกำหนดการปฏิบัติทางศาสนาเพื่อข่มกาย ใจ ของตนราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..
ดู เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซียและนักพรต
แม่พระมหาการุณย์ (ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา)
แม่พระมหาการุณย์ (Madonna della Misericordia) เป็นงานเขียนชิ้นแรก ๆ ของปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา จิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ Pinacoteca Comunale ที่เมืองซานเซพอลโคร ประเทศอิตาลี แผงกลางเป็นลักษณะภาพ “แม่พระมหาการุณย์” ที่นิยมเขียนกันในอิตาลี ในปี ค.ศ.
ดู เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซียและแม่พระมหาการุณย์ (ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา)
เรลิก
รลิก (relic) คือชิ้นส่วนร่างกายของนักบุญหรือบุคคลที่เป็นที่นับถือ หรือศาสนวัตถุโบราณอื่นๆ ที่มีการเก็บรักษาไว้ให้ศาสนิกชนได้บูชา หรือเป็นเครื่องระลึกถึง ความเชื่อเกี่ยวกับเรลิกมีความสำคัญในหลายศาสนา เช่น ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู ลัทธิเชมัน ฯลฯ คำว่า relic มาจาก ภาษาละติน “reliquiae” แปลว่าสิ่งที่หลงเหลืออยู่ และคำว่า “reliquary” หมายถึงที่เก็บรักษาเรลิกซึ่งอาจเป็นหีบหรือตู้ หรือศาสนสถานสถานที่เช่นมหาวิหารหรือวั.
ดู เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซียและเรลิก
11 กรกฎาคม
วันที่ 11 กรกฎาคม เป็นวันที่ 192 ของปี (วันที่ 193 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 173 วันในปีนั้น.
ดู เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซียและ11 กรกฎาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Benedict of NursiaSaint Benedictนักบุญเบ็นนาดิคนักบุญเบ็นนาดิคแห่งเนอร์เซีย