เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เนเมียวสีหบดี

ดัชนี เนเมียวสีหบดี

นเมียวสีหบดี (နေမျိုးသီဟပတေ့, Ne Myo Thihapate) เขาเป็นแม่ทัพของราชวงศ์คองบองที่โดดเด่นมีฝีมือการรบเป็นที่น่าเกรงขาม อีกทั้งเป็นทหารคู่บารมีของพระเจ้ามังระอีกคนหนึ่ง.

สารบัญ

  1. 22 ความสัมพันธ์: บางระจันฟ้าใหม่พระเจ้ามังระพระเจ้าจิงกูจาการล้อมอยุธยา (2309–2310)การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองมังมหานรธาราชวงศ์โกนบองวิศรุต หิรัญบุศย์ศรีอโยธยาสายโลหิตสียามาสงครามอะแซหวุ่นกี้สงครามจีน–พม่าหนึ่งด้าวฟ้าเดียวอะแซหวุ่นกี้อำเภอเวียงแหงจอห์น อิสรัมย์โป่มะยุง่วนเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)เทศบาลตำบลทับยาเนเมียวสีหตู

บางระจัน

ที่ตั้งค่ายบางระจัน เมื่อเทียบกับในปัจจุบัน บางระจัน เป็นค่ายป้องกันตัวเองของชาวบ้านเมืองสิงห์บุรีและเมืองต่าง ๆ ที่พากันมาหลบภัยจากกองทัพพม่าที่บางระจัน ก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง สามารถต้านทานการเข้าตีของกองทัพพม่าได้หลายครั้ง และมีกิตติศัพท์เลื่องลือในด้านวีรกรรมความกล้าหาญในประวัติศาสตร์ไทย โดยมีอนุสาวรีย์สร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงวีรกรรมในครั้งนี้ในตำบลบางระจัน อำเภอค่ายบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี.

ดู เนเมียวสีหบดีและบางระจัน

ฟ้าใหม่

ฟ้าใหม่ เรื่องราวของเหตุการณ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เมื่อข้าศึกเข้ามาราวี คนไทยแปรพักตร์เพราะหวังเป็นใหญ่ในภายหน้า เจ้าเหนือหัวฝักใฝ่อยู่แต่อิสตรี ทำให้บ้านเมืองถึงกลียุค ผู้กล้าของไทยแม้เพียงน้อยนิดหรือจะทัดทานข้าศึกที่ยกมาเป็นพันเป็นหมื่น ไม่นานนักอยุธยาก็ล้มสลาย แม่ทัพนายกองที่มีฝีมือก็ถูกส่งไปประจำหัวเมืองต่างๆ ไม่มีผู้ใดกอบกู้อยุธยา พวกหัวเมืองพากันแต่งตั้งตัวเองเป็นเจ้าเมือง และเมืองพิษณุโลกถูกพม่าแย่งชิงไป ทำให้พระเจ้าตากรู้สึกเสียพระทัยอย่างมากจึงต้องส่งยอดฝีมือขึ้นไปปราบจนพม่าไม่กล้ามาตีสยามประเทศอีกเลย ฟ้าใหม่เป็นละครโทรทัศน์ไทยแนวนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ มีเนื้อหาอิงประวัติศาสตร์ไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย กรุงธนบุรี จนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ผ่านสายตาของตัวละครหลักชื่อ "แสน" นายทหารมหาดเล็กเชื้อสายผู้ดีแขกเทศ เพื่อนร่วมสาบานรุ่นของคุณคนใหญ่ (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช), คุณคนกลาง (สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช) และคุณคนเล็ก (กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท) ซึ่งได้เค้าโครงมาจากประวัติของเจ้าพระยามหาเสนา (บุนนาค) ต้นสกุลบุนนาค ที่คุณศุภรเป็นสะใภ้คนหนึ่งของตระกูลนี้ นวนิยายดังกล่าวได้รับการดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์โดย บริษัท ดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น จำกัด จากบทประพันธ์ของ ศุภร บุนนาค บทโทรทัศน์โดย ศัลยา กำกับการแสดงโดย จรูญ ธรรมศิลป์ นำแสดงโดย ณัฐวุฒิ สกิดใจ กับ พัชราภา ไชยเชื้อ ร่วมด้วย จีรนันท์ มะโนแจ่ม, อติมา ธนเสนีวัฒน์, ภูธฤทธิ์ พรหมบันดาล, ชินมิษ บุนนาค, คงกระพัน แสงสุริยะ และนักแสดงมากฝีมืออีกคับคั่ง ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ทั้งนี้ละครโทรทัศน์ดังกล่าวมีจำนวน 9 ตอน ออกอากาศทุกวันจันทร์และอังคาร เวลา 20.25 น.

ดู เนเมียวสีหบดีและฟ้าใหม่

พระเจ้ามังระ

ระเจ้ามังระ หรือ พระเจ้าซินพะยูชิน (ဆင်ဖြူရှင်;‌ Hsinbyushin.) เป็นพระโอรสองค์ที่ 2 ในจำนวน 6 พระองค์ของพระเจ้าอลองพญา ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์อลองพญาหรือราชวงศ์คองบอง ได้ขึ้นเป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์อลองพญา ในปี..

ดู เนเมียวสีหบดีและพระเจ้ามังระ

พระเจ้าจิงกูจา

ระเจ้าจิงกูจา (Singu Min,စဉ့်ကူးမင်း) พระโอรสของพระเจ้ามังระ ขึ้นครองราชย์ด้วยพระชันษาเพียง 20 ปี ภายหลังการสวรรคตของพระเจ้ามังระ พระเจ้าจิงกูจา ได้ทำการปราบบรรดาผู้ที่ต่อต้านน้อยใหญ่ ซึ่งประกอบไปด้วยเชื้อพระวงศ์ พระญาติ และเหล่าขุนนางด้วยวิธีการที่เด็ดขาด คือ ประหารชีวิตเสียหลายคน และหลายคนก็ถูกลดอำนาจหรือส่งไปอยู่หัวเมืองที่ห่างไกล เช่น พระเจ้าปดุง ที่ถูกส่งไปอยู่เมืองสะกาย และมีผู้ทำการควบคุมอีกชั้นหนึ่ง โดยเมื่อพระองค์ได้อำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดแล้วก็ทรงปลดอะแซหวุ่นกี้แม่ทัพคู่บารมีของพระเจ้ามังระพระราชบิดาของพระองค์ลงแล้วเนรเทศไปอยู่ที่เมืองสะกายเช่นเดียวกับพระเจ้าปดุง ทั้งที่แม่ทัพเฒ่าผู้นี้ยกกองทัพกลับมาจากการตีกรุงธนบุรี เพื่อมาควบคุมสถานะการในกรุงอังวะจนเรียบร้อยและมอบพระราชอำนาจเต็มแก่พระองค์ ซึ่งหากวิเคราะห์แล้วก็อาจเป็นเพราะอะแซหวุ่นกี้มีอำนาจ บารมีทางการทหารมากเกินไป รวมไปถึงเนเมียวสีหบดี, เนเมียวสีหตูและเหล่าขุนนางเก่าในพระเจ้ามังระพระองค์ก็ประหารทิ้งบ้าง ปลดทิ้งเสียจากตำแหน่งบ้างไปอีกหลายคน ซึ่งการใช้พระเดชเช่นนี้ทำให้ระหว่างการครองราชย์ผู้คนรอบตัวต่างหวาดระแวงภัยที่อาจมาถึงตัวเมื่อใดก็ได้ ในที่สุดหลังจากพระเจ้าจิงกูจาครองราชย์เพียง 5 ปี ก็ถูกเชื้อพระวงศ์พระองค์หนึ่ง คือ หม่องหม่อง โอรสของพระเจ้ามังลอก ทำการรัฐประหารยึดพระราชวัง ในระหว่างที่พระองค์เสด็จไปสักการะพระพุทธรูปสิงหดอที่ทางเหนือ โดยความช่วยเหลือของขุนนางและเชื้อพระวงศ์หลายคน (เชื่อว่ารวมทั้งอะแซหวุ่นกี้ที่ทนต่อการบริหารราชการของพระองค์ไม่ได้) แต่แรกพระเจ้าจิงกูจาคิดจะหนีไปอาศัยอยู่เมืองกะแซ แต่เป็นห่วงพระราชชนนีจึงลอบลงมาใกล้เมืองอังวะ แล้วมีหนังสือเข้าไปทูลให้ทราบว่าจะหนีไปเมืองกะแซ.

ดู เนเมียวสีหบดีและพระเจ้าจิงกูจา

การล้อมอยุธยา (2309–2310)

การปิดล้อมอยุธยา ระหว่างปี พ.ศ. 2309-พ.ศ. 2310 เป็นการปิดล้อมระยะเวลานานกว่า 14 เดือนระหว่างสงครามคราวเสียกรุงครั้งที่สอง ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าเอกทัศของอาณาจักรอยุธยา และพระเจ้ามังระของอาณาจักรพม.

ดู เนเมียวสีหบดีและการล้อมอยุธยา (2309–2310)

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองหรือ สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง เป็นความขัดแย้งทางทหารครั้งที่สองระหว่างราชวงศ์โกนบองแห่งพม่า กับราชวงศ์บ้านพลูหลวงแห่งอยุธยา ในการทัพครั้งนี้ กรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นราชธานีคนไทยเกือบสี่ศตวรรษได้เสียแก่พม่าและถึงกาลสิ้นสุดลงไปด้วย เหตุการณ์ได้เกิดขึ้นเมื่อวันอังคาร ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน ตรงกับวันที่ 7 เมษายน..

ดู เนเมียวสีหบดีและการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง

มังมหานรธา

มังมหานรธา (မဟာနော်ရထာ, Maha Nawrahta) เป็นหนึ่งในขุนพลเอกของพระเจ้ามังระที่พระองค์ทรงไว้ใจเป็นอย่างมาก มังมหานรธามักจะเป็นตัวเลือกแรกๆที่พระเจ้ามังระทรงเลือกใช้งานโดยไม่คำนึงถึงอายุที่มากของเขาไม่ว่าผู้ใดจะทัดทาน ในปี..

ดู เนเมียวสีหบดีและมังมหานรธา

ราชวงศ์โกนบอง

ราชวงศ์โกนบอง (ကုန်းဘောင်ခေတ်,; Konbaung Dynasty) เป็นราชวงศ์ที่ 3 ในประวัติศาสตร์พม่า และเป็นราชวงศ์สุดท้ายของพม่า ก่อนที่จะตกเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร และสิ้นสุดการปกครองระบอบราชาธิปไตยของพม่า ราชวงศ์อลองพญานั้นได้รับการสถาปนาขึ้นโดยการเสวยราชสมบัติของพระเจ้าอลองพญาในปี..

ดู เนเมียวสีหบดีและราชวงศ์โกนบอง

วิศรุต หิรัญบุศย์

วิศรุต หิรัญบุศย์ (ชื่อเล่น:ไผ่) เป็น นักแสดงและนายแบบ ชาวไทย โดยเป็นที่รู้จักจากบท พี่คล้าว จาก สุภาพบุรษจุฑาเทพ ตอน คุณชายปวรร.

ดู เนเมียวสีหบดีและวิศรุต หิรัญบุศย์

ศรีอโยธยา

รีอโยธยา ภาพยนตร์ชุดอิงประวัติศาสตร์ ออกอากาศทางทรูวิชั่นส์ สร้างเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพครบ 90 พรรษา 5 ธันวาคม..

ดู เนเมียวสีหบดีและศรีอโยธยา

สายโลหิต

ลหิต เป็นผลงานนวนิยายของโสภาค สุวรรณ ได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกลงในนิตยสารสตรีสาร เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ชาติไทยปลายกรุงศรีอยุธยาก่อนเสียกรุง ข้าศึกเรื่องนี้เกิดขึ้นเพราะการไม่เตรียมพร้อมและประมาทของพลเมือง ความขัดแย้งสืบเนื่องมาจากความไม่สามัคคี การทำลายฆ่าฟันกันเอง อันเป็นผลให้คนดีมีฝีมือลดน้อยลง เป็นสาเหตุสำคัญที่อาจเป็นอุทาหรณ์สอนใจ ไม่ให้ประวัติศาสตร์ซ้ำรอยอีกครั้ง แม้ว่าจะต่างวาระก็ตาม.

ดู เนเมียวสีหบดีและสายโลหิต

สียามา

ียามา (ชื่ออังกฤษ: Village Of Warriors) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2551 กำกับโดย ปรีชา ส่งสกุล นำแสดงโดย ธัญญ์ ธนากร, ฐิติมา มะลิวัลย์, ณัฐนันท์ จันทรเวช, บริบูรณ์ จันทร์เรือง, หรรษพลณ์ คงสิบ, มานพ อัศวเทพ, สมภพ เบญจาธิกุล และ อมรพรรณ กองตระการ ทำรายได้รวม 4.6 ล้านบาท.

ดู เนเมียวสีหบดีและสียามา

สงครามอะแซหวุ่นกี้

้นทางการเดินทัพของพม่าทั้ง3ทาง สงครามอะแซหวุ่นกี้ เป็นสงครามระหว่างอาณาจักรธนบุรีและพม่าครั้งสำคัญที่สุด ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเดือน ตุลาคม พ.ศ.

ดู เนเมียวสีหบดีและสงครามอะแซหวุ่นกี้

สงครามจีน–พม่า

งครามจีน–พม่า (တရုတ်-မြန်မာ စစ်, 中緬戰爭, 清緬戰爭) หรือ การบุกพม่าของราชวงศ์ชิง หรือ การทัพพม่าแห่งราชวงศ์ชิง (Qing invasions of Burma, Myanmar campaign of the Qing Dynasty) เป็นการสงครามระหว่างราชวงศ์ชิงของจีน กับราชวงศ์โกนบองของพม่า กินเวลา 4 ปี ระหว่าง..

ดู เนเมียวสีหบดีและสงครามจีน–พม่า

หนึ่งด้าวฟ้าเดียว

หนึ่งด้าวฟ้าเดียว เป็นวรรณกรรมไทย เรื่องราวเหตุการณ์อิงประวัติศาสตร์ ในยุคปลายกรุงศรีอยุธยา ก่อนและหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ในสมัยสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ จนถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กอบกู้เอกราชและสถาปนากรุงธนบุรี จากนวนิยายชื่อดังของ วรรณวรรธน์ ผู้แต่งคนเดียวกับ ข้าบดินทร์ ที่สร้างเป็นละครมาแล้วในปี..

ดู เนเมียวสีหบดีและหนึ่งด้าวฟ้าเดียว

อะแซหวุ่นกี้

มะฮาตีฮะตูระ (แปลงเป็นไทย มหาสีหสุระ, မဟာသီဟသူရ, Maha Thiha Thura; ราวพุทธศักราช 2263-2325) เอกสารไทยเรียก อะแซหวุ่นกี้ เป็นแม่ทัพแห่งกองทัพพม่าช่วง..

ดู เนเมียวสีหบดีและอะแซหวุ่นกี้

อำเภอเวียงแหง

วียงแหง (50px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ จัดตั้งในปี..

ดู เนเมียวสีหบดีและอำเภอเวียงแหง

จอห์น อิสรัมย์

อห์น อิสรัมย์ นักแข่งรถจักรยานยนต์ผาดโผน อดีตแชมเปียนรถจักรยานยนต์โมโตครอสคนแรกของประเทศไทย ในปีแรกที่มีการจัดการแข่งขัน เมื่อ พ.ศ.

ดู เนเมียวสีหบดีและจอห์น อิสรัมย์

โป่มะยุง่วน

ป่มะยุง่วน เป็นชาวพม่าที่ได้รับแต่งตั้งจากพระเจ้ามังระแห่งกรุงอังวะให้ไปครองเมืองเชียงใหม่ ก่อนที่กรุงศรีอยุธยาจะเสียแก่พม่าครั้งที่สองไม่นานนัก เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงยกกองทัพไปปราบชุมนุมเจ้าพระฝางที่เมืองสวางคบุรี พวกเจ้าพระฝางหนีไปพึ่งพม่าที่เมืองเชียงใหม่ โปมะยุง่วนเห็นเป็นโอกาส จึงยกกองทัพลงมาตีเมืองสวรรคโลก เมื่อปี..

ดู เนเมียวสีหบดีและโป่มะยุง่วน

เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)

้าพระยาพิษณุโลก (พ.ศ. 2262 - พ.ศ. 2311) (เขียนแบบเก่า "เจ้าพระยาพิศณุโลก") เดิมชื่อ เรือง หรือ บุญเรือง เป็นเจ้าพระยามหานครผู้ครองหัวเมืองชั้นเอก เมืองพิษณุโลก และเป็นผู้ตั้งชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง มีราชทินนามขุนนางตามที่ปรากฏในทำเนียบพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมือง..

ดู เนเมียวสีหบดีและเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)

เทศบาลตำบลทับยา

ทศบาลตำบลทับยา เป็นเทศบาลตำบลแห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ในเขตอำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี มีพื้นที่ 24.27 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ตำบลทับยาทั้งตำบล มีประชากรในปี..

ดู เนเมียวสีหบดีและเทศบาลตำบลทับยา

เนเมียวสีหตู

นเมียวสีหตู (နေမျိုးစည်သူ) นับเป็นผู้ชำนาญการรบแบบจรยุทธที่เก่งกาจที่สุดผู้หนึ่งของพม่า โดยพระเจ้ามังระเห็นถึงความสามารถในด้านนี้ของเขา และเลือกใช้งานเขาเพื่อก่อกวนแนวหลังของต้าชิง ซึ่งเนเมียวสีหตูก็สามารถทำผลงานได้เป็นอย่างดี จนทำให้กองทัพต้าชิงต้องลำบากทุกครั้งที่เจอเขา เนเมียวสีหตูนับเป็นอีกหนึ่งหัวใจสำคัญที่อยู่เบื้องหลังชัยชนะทุกครั้งของพม่า และทุกความพ่ายของต้าชิงจะต้องมีเขาอยู่ด้วยตลอด เนเมียวสีหตู และเตงจามินคองทำสงครามกองโจรกับต้าชิงได้อย่างมีประสิท.

ดู เนเมียวสีหบดีและเนเมียวสีหตู