โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เทวสถานโบสถ์พราหมณ์

ดัชนี เทวสถานโบสถ์พราหมณ์

ทวสถาน กรุงเทพมหานคร เทวสถาน สำหรับพระนคร (โบสถ์พราหมณ์) หรือที่นิยมเรียกกันว่า เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ เป็นโบสถ์พราหมณ์ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 268 ถนนบ้านดินสอ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ใกล้เสาชิงช้า และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร.

15 ความสัมพันธ์: พระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ (ชวิน รังสิพราหมณกุล)พระมหาราชครูอัษฎาจารย์ (ละเอียด รัตนพราหมณ์)พระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวายพระราชครูวามเทพมุนีพระวิษณุพระแม่มาเหศวรีพระแม่คงคารายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตพระนคร)วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารศาลพระกาฬ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)ศาสนสถานถนนดินสอแยกคอกวัวโบสถ์พราหมณ์เสาชิงช้า

พระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ (ชวิน รังสิพราหมณกุล)

ระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ (ชวิน รังสิพราหมณกุล) เป็นผู้ดำรงตำแหน่งประธานพระครูพราหมณ์คนปัจจุบันซึ่ง สำเร็จการศึกษาเศรษฐศาสตรบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยรามคำแหง และบวชเป็นพราหมณ์ตั้งแต..

ใหม่!!: เทวสถานโบสถ์พราหมณ์และพระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ (ชวิน รังสิพราหมณกุล) · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาราชครูอัษฎาจารย์ (ละเอียด รัตนพราหมณ์)

ระมหาราชครูอัษฎาจารย์ (ละเอียด รัตนพราหมณ์) พระมหาราชครูอัษฎาจารย์ (ละเอียด รัตนพราหมณ์) (17 มีนาคม 2463 - 2 พฤษภาคม 2554)เป็นประธานพราหมณ์ในพระราชสำนัก และ เป็นผู้นำศาสนาฮินดูแห่งประเทศไทย โดยเขาสืบเชื้อสายมาจากพราหมณ์ในประเทศอินเดีย โดย บรรพบุรุษของเขาได้มาตั้งหลักถิ่นฐานในประเทศไทยเมื่อหลายร้อยปีก่อน โดยตั้งหลักอยู่แถว ภาคใต้ของประเทศไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช และ อพยพมากรุงเทพสมัย รัชกาลที่ 5 ปัจจุบัน พราหมณ์ละเอียด มีหน้าที่ คือ เป็นผู้นำศาสนาฮินดูแห่งประเทศไทย และ ทำหน้าที่ดูแลองค์กรพราหมณ์-ฮินดู ได้แก่ เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ สมาคมฮินดูสมาช และ สมาคมฮินดูธรรม.

ใหม่!!: เทวสถานโบสถ์พราหมณ์และพระมหาราชครูอัษฎาจารย์ (ละเอียด รัตนพราหมณ์) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวาย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เทวสถานโบสถ์พราหมณ์และพระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวาย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชครูวามเทพมุนี

พระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ (ชวิน รังสิพราหมณกุล) ขณะประกอบพิธีกรรมทางศาสนา พระราชครูวามเทพมุนี เป็นชื่อตำแหน่งหัวหน้าคณะพราหมณ์ประจำเทวสถาน โบสถ์พราหมณ์ เป็นผู้นำสูงสุดแห่งลัทธิพราหมณ์ในประเทศไทย โดยมีการสืบทอดตำแหน่งอยู่ภายในสายสกุลที่สืบทอดมาจากชาวอินเดียที่นับถือศาสนาพราหมณ์ ซึ่งอพยพมาตั้งรกรากในประเทศไทย ปัจจุบันมีตระกูลพราหมณ์ที่ปฏิบัติหน้าที่ถวายงานพระราชพิธีหรือที่เรียกกันว่าพราหมณ์หลวง ซึ่งสืบสายมาจากบรรพบุรุษทั้งสิ้น 7 ตระกูล ได้แก่ สยมภพ โกมลเวทิน นาคะเวทิน วุฒิพราหมณ์ ภวังคนันท์ รัตนพราหมณ์ และรังสิพราหมณกุล ส่วนตระกูลพราหมณ์ที่ไม่มีผู้บวชพราหมณ์เพื่อสืบทอด ได้แก่ บุรณศิริ คุรุกุล ศิริพราหมณกุล วสุพราหมณ์ สตะเวทิน สวัสดิเวทิน เสตะพราหมณ์ และจารุเสน การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งพระราชครูวามเทพมุนี จะพิจารณาเลือกจากบุคคลที่อยู่ในสายสกุลที่ใกล้ชิดกับพระราชครูวามเทพมุนีคนก่อน ดำรงตำแหน่งพราหมณ์ราชสำนักโดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นผู้แต่งตั้ง เนื่องจากพราหมณ์ราชสำนักเป็นข้าราชการในสังกัดกองพระราชพิธีสำนักพระราชวัง พระราชครูวามเทพมุนีคนปัจจุบันคือพระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ (ชวิน รังสิพราหมณกุล) ดำรงตำแหน่งนี้ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เทวสถานโบสถ์พราหมณ์และพระราชครูวามเทพมุนี · ดูเพิ่มเติม »

พระวิษณุ

ลปะโจฬะที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินิวเดลี ประเทศอินเดีย. ศิลปะโจฬะที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินิวเดลี ประเทศอินเดีย. พระวิษณุ (विष्णु วิษฺณุ) หรือที่รู้จักกันในพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า พระนารายณ์ (नारायण นารายณ) เป็นหนึ่งในสามตรีมูรติ มีหน้าที่คุ้มครองแลดูแลรักษาทั้ง 3 โลกตามความเชื่อของชาวฮินดู จากคัมภีร์พราหมณ์ รูปร่างลักษณะมีพระวรกายจะมีสีที่เปลี่ยนไปตามยุค ฉลองพระองค์ดั่งกษัตริย์ มีมงกุฎทอง อาภรณ์สีเหลือง มี 4 กร ถือ สังข์ จักรสุทรรศน์ คทาเกาโมทกี แต่ที่จะพบเห็นได้บ่อยที่สุดคือถือ จักร์ สังข์ คทา ส่วนอีกกรจะถือ ดอกบัวบ้าง หรือ ไม่ถืออะไรเลยบ้าง (โดยจะอยู่ในลักษณะ"ประทานพร") โดยปรกติ พระวิษณุ จะทรงประทับอยู่ที่เกษียรสมุทร โดยส่วนมากจะบรรทมอยู่บนหลังพญาอนันตนาคราช โดยมีพระชายาคือพระแม่ลักษมีมหาเทวี คอยฝ้าดูแลปรนิบัติอยู่ข้าง ๆ เสมอ พาหนะของพระวิษณุคือ พญาครุฑ พระวิษณุ มีอีกพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า "หริ" แปลว่าผู้ดูแลแห่งจักรวาลถือเป็นเทพสูงสุด เพราะทุกอย่างเกิดจาก "หริ" โดย"หริ"ได้แบ่งตนเองออกเป็น 3 คือ.

ใหม่!!: เทวสถานโบสถ์พราหมณ์และพระวิษณุ · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มาเหศวรี

ระแม่มเหศวรี(माहेस्वरीMaheshvari)เป็นเทวีในศาสนาฮินดูองค์หนึ่งในคณะของพระแม่สัปตมาตฤกา โดยถือว่าเป็นพลังของพระอิศวรและพระอุมาเทวี ในศาสนาฮินดูและยังปรากฏเทวรูปในประเทศไทยที่ประเทศไทยเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ กรุงเทพมหานครโดยประดิษฐานในบุษบกขนาบข้างร่วมกับเทวรูปพระนารายณ์และเทวรูปพระลักษมี ในหอพระนารายณ.

ใหม่!!: เทวสถานโบสถ์พราหมณ์และพระแม่มาเหศวรี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่คงคา

ตรกรรมถอดแบบจากจิตรกรรมโบราณของอินเดียภาคเหนือ ของพระแม่คงคาทรงเทววาหนะมกร พระแม่คงคา เป็นพระเทวีองค์หนึ่งในคติของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู โดยเป็นพระเทวีแห่งแม่น้ำคงคาซึ่งไหลลงมาจากเทือกเขาหิมาลัยและได้รับการนับถือจากชาวฮินดูเพราะเชื่อกันว่าถ้าใครได้ลงอาบแม่น้ำคงคาถือว่าเป็นการชำระล้างบาปออกไปจากตัวอีกด้ว.

ใหม่!!: เทวสถานโบสถ์พราหมณ์และพระแม่คงคา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตพระนคร)

ราณสถานที่มีรายชื่อในหน้านี้ตั้งอยู่ในพื้นที่สีแดงบนแผนที.

ใหม่!!: เทวสถานโบสถ์พราหมณ์และรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตพระนคร) · ดูเพิ่มเติม »

วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร

วัดสุทัศนเทพวราราม หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า วัดสุทัศน์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ที่มีอยู่เพียงไม่กี่แห่งของประเทศไทย และถือเป็นวัดประจำรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เป็นวัดที่ตั้งอยู่ในเขตพระนครชั้นใน และอยู่มีสิ่งก่อสร้างที่โดดเด่นคือ เสาชิงช้า อยู่บริเวณหน้าวั.

ใหม่!!: เทวสถานโบสถ์พราหมณ์และวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

ศาลพระกาฬ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)

ลพระกาฬ เป็นเทวสถานในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ก่อนถูกดัดแปลงเป็นพุทธสถานในยุคต่อมา ตั้งอยู่บริเวณสี่แยกตะแลงแกงบนเกาะเมือง อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่บริเวณเกือบกึ่งกลางเกาะเมืองและเป็นย่านตลาดที่มีผู้คนพลุกพล่านมาก และหากมีการประหารนักโทษก็จะมีการเสียบหัวประจานให้ประชาชีเห็นจะได้เกรงกลัวมิเอาเยี่ยงอย่าง ปัจจุบันศาลพระกาฬหลงเหลือเพียงรากฐานของอิฐเท่านั้น สุจิตต์ วงษ์เทศให้คำอธิบายว่าศาลพระกาฬในจังหวัดพระนครศรีอยุธยานี้เป็นแบบอย่างในการสร้างเทวสถานโบสถ์พราหมณ์และเสาชิงช้าหน้าวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารในกรุงเทพมหานครด้ว.

ใหม่!!: เทวสถานโบสถ์พราหมณ์และศาลพระกาฬ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนสถาน

นสถาน (Place of worship) คือสถานทางศาสนา ใช้ประกอบศาสนพิธี เช่น การอาราธนาศีลและสมาทานศีลในวัด และการละหมาดในมัสยิดอิสลาม เป็นต้น.

ใหม่!!: เทวสถานโบสถ์พราหมณ์และศาสนสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนดินสอ

ลาว่าการกรุงเทพมหานคร ถนนดินสอ (Thanon Dinso) ถนนเส้นหนึ่งในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นที่วงเวียนเสาชิงช้าที่ถนนบำรุงเมือง บริเวณหน้าเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ และทอดยาวออกไปยังถนนราชดำเนินกลางผ่านอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ไปสิ้นสุดลงที่แยกสะพานวันชาติ เชิงสะพานเฉลิมวันชาติ โดยเป็นถนนที่เป็นเส้นตรงตลอดทั้งสาย มีความยาวทั้งสิ้น 850 เมตร ถนนดินสอ เป็นถนนที่สร้างขึ้นในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 เหตุที่ได้ชื่อว่า "ดินสอ" เนื่องจากแถบนี้ในช่วงกรุงศรีอยุธยา ผู้คนที่อาศัยอยู่ที่นี่มีอาชีพทำดินสอและกระดาษ จนได้ชื่อว่า "ย่านป่าดินสอ" ปรากฏเป็นหลักฐานในเอกสารจากหอหลวง เรื่องคำให้การขุนหลวงวัดประดู่ ความว่า "ย่านป่าดินสอ ริมวัดพระงาม มีร้ายขายดินสอศิลาอ่อนแก่ แลดินสอขาวเหลือง ดินสอดำ ชื่อตลาดบ้านดินสอ" จนล่วงมาถึงยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ อาชีพทำดินสอของผู้คนแถบนี้ก็ยังคงอยู่ และถูกเรียกว่า "ย่านดินสอ" หรือ "บ้านดินสอ" ต่อมามีการสร้างถนนขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: เทวสถานโบสถ์พราหมณ์และถนนดินสอ · ดูเพิ่มเติม »

แยกคอกวัว

แยกคอกวัว (อังกฤษ: Khok Wua Intersection) เป็นสี่แยกที่เป็นจุดตัดระหว่างถนนราชดำเนินกลางกับถนนตะนาว ตั้งอยู่ในแขวงบวรนิเวศ และแขวงตลาดยอด เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เทวสถานโบสถ์พราหมณ์และแยกคอกวัว · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์พราหมณ์

ราหมณ์ หมายถึง เทวสถานที่ใช้ประกอบพิธีกรรมของศาสนาฮินดู มีพราหมณ์เป็นผู้ดูแลและประกอบพิธี.

ใหม่!!: เทวสถานโบสถ์พราหมณ์และโบสถ์พราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เสาชิงช้า

งช้า เป็น สถาปัตยกรรม ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบพิธีโล้ชิงช้า ใน พระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวาย ของ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู โดยทั่วไปหมายถึงเสาชิงช้าที่ตั้งอยู่หน้า วัดสุทัศน์เทพวราราม และลานหน้า ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (ลานคนเมือง) ใกล้กับ เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ ในพื้นที่แขวงเสาชิงช้าและแขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของ กรุงเทพมหานคร แม้พิธีโล้ชิงช้าได้เลิกไปแล้วตั้งแต่สมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ก็ตาม นอกจากนี้ ใน ประเทศไทย ยังมีเสาชิงช้าอีกแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ที่ หน้าหอพระอิศวร เมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งมีการประกอบพิธีโล้ชิงช้ามาแต่โบราณเช่นกัน แต่ได้เลิกไปก่อนที่จะมีการก่อสร้างขึ้นใหม่ในภายหลัง โดยจำลองแบบมาจากเสาชิงช้าที่ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้าที่ กรุงเทพมหานคร แห่งนี้ มีลักษณะเป็นเสาชิงช้าขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนแท่นหินขนาดใหญ่ สูง 21.15 ม. เส้นผ่านศูนย์กลาง ฐานกลมประมาณ 10.50 ม. ฐานกลมก่อเป็นฐานปัทม์ทำด้วยหินล้างสีขาว พื้นบนปูกระเบื้องดินเผาสีแดง มีบันได 2 ขั้น ทั้ง 2 ด้าน ตามแนวโค้งของฐานติดแผ่นจารึกประวัติเสาชิงช้า เสาไม้แกนกลางคู่และเสาตะเกียบ 2 คู่ เป็นเสาหัวเม็ด ล้วนทำด้วยไม้สักกลึงกลม โครงยึดหัวเสาทั้งคู่แกะสลักอย่างสวยงาม กระจังและหูช้างไม้เป็นลวดลายไทย ทั้งหมดทา สีแดงชาด ติด สายล่อฟ้า จากลวดลายกระจังด้านบนลงดิน กรมศิลปากร ได้ประกาศขึ้นทะเบียนเสาชิงช้าเป็น โบราณสถาน สำคัญของชาติเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 นับตั้งแต่สร้างครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2327 จนถึงการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งล่าสุดซึ่งเสาชิงช้าคู่เดิมถูกถอดเปลี่ยนเมื่อปี พ.ศ. 2549 เสาชิงช้ามีอายุรวมประมาณ 222 ปี.

ใหม่!!: เทวสถานโบสถ์พราหมณ์และเสาชิงช้า · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

เทวสถาน (โบสถ์พราหมณ์)เทวสถาน โบสถ์พราหมณ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »