โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เทวญาณ

ดัชนี เทวญาณ

ทวปรัชญา (Theosophy; θεοσοφία theosophia) มีที่มาจากคำว่า θεός theos ที่แปลว่า เทว + σοφία sophia ที่แปลว่าปรัชญาหรือปรีชาญาณ เทวปรัชญาจึงหมายถึง "ความรู้เกี่ยวกับพระเป็นเจ้า" ใช้หมายถึงระบบปรัชญาแบบคุยหลัทธิ (Esotericism) ที่มุ่งเข้าถึงพระเป็นเจ้าโดยตรง โดยไม่ผ่านการอาศัยคัมภีร์หรือผู้รู้อื่น ๆ เทวปรัชญาจึงเป็นส่วนหนึ่งของคุยหลัทธิซึ่งให้ความสำคัญกับความรู้หรือปัญญาที่นำไปสู่การหลุดพ้นเฉพาะบุคคล นักเทวปรัชญาพยายามเข้าใจรหัสยภาวะของเอกภพ และสิ่งที่เชื่อมเอกภพ มนุษยชาติ และพระเป็นเจ้าเข้าด้วยกัน เทวปรัชญามีจุดมุ่งหมายที่จะสืบหาต้นกำเนิดของพระเป็นเจ้าและมนุษยชาติ วันสิ้นโลก ชีวิต และมนุษยชาติ ด้วยการศึกษาประเด็นเหล่านี้ นักเทวปรัชญาเชื่อว่าจะสามารถอธิบายจุดมุ่งหมายและกำเนิดของเอกภพได้.

4 ความสัมพันธ์: ระบบหอสมุดรัฐสภารูดอล์ฟ ชไตเนอร์ทศาวตารเฮนรี สตีล โอลคอต

ระบบหอสมุดรัฐสภา

ระบบหอสมุดรัฐสภา (Library of Congress Classification, ย่อ: LCC) เป็นระบบการจัดหมู่ของห้องสมุดที่หอสมุดรัฐสภาพัฒนาขึ้น หอสมุดวิจัยและวิชาการส่วนมากในสหรัฐและอีกหลายประเทศใช้ระบบดังกล่าว ในประเทศเหล่านี้ ห้องสมุดสาธารณะส่วนมากและห้องสมุดวิชาการขนาดเล็กยังใช้การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ที่เก่ากว่า เฮอร์เบิร์ต พัทนัม (Herbert Putnum) ประดิษฐ์การจำแนกนี้ใน..

ใหม่!!: เทวญาณและระบบหอสมุดรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

รูดอล์ฟ ชไตเนอร์

รูดอล์ฟ โยเซฟ ลอเรินซ์ ชไตเนอร์ (Rudolf Joseph Lorenz Steiner) เป็นนักปรัชญา, นักปฏิรูปสังคม และสถาปนิกชาวออสเตรีย เขามีชื่อเสียงขึ้นมาในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 จากการวิจารณ์แนวคิดและตีพิมพ์ผลงานด้านปรัชญาต่างๆ ผลงานชิ้นเด่นคือหนังสือ The Philosophy of Freedom เขากลายเป็นผู้ก่อตั้งองค์กรลับด้านเจตนิยมซึ่งต่อมาคือสำนักมานุษยวิทยา แนวคิดขององค์กรนี้ได้รับอิทธิพลมาจากเทวปรัชญาและอุดมคติเยอรมัน.

ใหม่!!: เทวญาณและรูดอล์ฟ ชไตเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทศาวตาร

อวตารของพระวิษณุ โดยราชา รวิ วรรมา วาดในช่วงศตวรรษที่ 19. ทศาวตาร () หมายถึง อวตารหลักทั้งสิบปางของพระวิษณุ เทพเจ้าในศาสนาฮินดู คำว่าทศาวตาร เป็นคำสมาสของคำว่า ทศ หมายถึง สิบ และ อวตาร หมายถึง การแบ่งภาคมาเก.

ใหม่!!: เทวญาณและทศาวตาร · ดูเพิ่มเติม »

เฮนรี สตีล โอลคอต

ันเอก เฮนรี สตีล โอลคอต (කර්නල් හෙන්රි ස්ටීල් ඔල්කට්; Henry Steel Olcott; 2 สิงหาคม ค.ศ. 1832 – 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1907) เป็นข้าราชการทหาร นักหนังสือพิมพ์ และนักนิติศาสตร์ชาวอเมริกันซึ่งเป็นผู้ร่วมก่อตั้งและเป็นประธานคนแรกแห่งสมาคมเทวปรัชญา โอลคอตเป็นผู้มีชื่อเสียงชาวอเมริกาเชื้อสายยุโรปคนแรกที่เข้ารีตเป็นพุทธศาสนิกชน การต่าง ๆ ที่เขาปฏิบัติในภายหลังในฐานะประธานสมาคมเทวปรัชญานั้นมีส่วนช่วยฟื้นฟูการศึกษาพุทธศาสนา โอลคอตยังชื่อว่าเป็นนักนวนิยมทางพุทธที่ลงทุนลงแรงไปในการตีความพุทธศาสนาผ่านมุมมองแบบตะวันตก นอกจากนี้ เขายังเป็นหัวเรือในการฟื้นฟูพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา จึงได้รับการยกย่องเรื่องนี้ในประเทศศรีลังกา โดยชาวศรีลังกากล่าวขานกันว่า เขา "เป็นวีรบุรุษคนหนึ่งซึ่งฝ่าฝันเพื่อเอกราชของเรา และเป็นนักบุกเบิกการรื้อฟื้นทางศาสนา ชาตินิยม และวัฒนธรรมในยุคปัจจุบัน" โอลคอตนั้นเกิดในครอบครัวคริสต์เพรสไบทีเรียน (Presbyterian) ที่เคร่งครัด ในเมืองออเรนจ์ รัฐนิวเจอร์ซีย์ เขาเดินทางและเริ่มงานของเขาเพราะเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเมืองปานะดุระ ประเทศศรีลังกา และเพียงเพราะหนังสือพิมพ์ Times Of Ceylon จาก ดร.เจมส์ มาร์ติน พีเบิลส์ ที่นำไปให้ เพื่อหน้าที่ของเขา และคนสำคัญจากส่วนต่าง ๆ ของโลก เขาเดินทางมาถึงประเทศศรีลังกาเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เทวญาณและเฮนรี สตีล โอลคอต · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Theosophyสมณวาทะเทวปรัชญา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »