เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เตตริส

ดัชนี เตตริส

ตัวบล็อกทั้ง 7 ชนิดในเกมเตตริส เตตริส (Тетрис; Tetris) เป็นเกมแก้ปัญหาจัดเรียงตัวบล็อกที่หล่นลงมา จัดเรียงให้เป็นแถว เกมเตตริสนั้นเป็นเกมที่นิยมมากที่สุดเกมหนึ่ง โดยมีการนำมาทำซ้ำหลายครั้ง ตัวเกมออกแบบโดยอะเลคเซย์ ปายีตนอฟ (Alexey Pajitnov) นักออกแบบเกมชาวรัสเซียออกแบบสำหรับเล่นในเครื่อง Electronika 60 ไว้เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน..

สารบัญ

  1. 10 ความสัมพันธ์: การฟื้นเห็นเป็น 3 มิติมิวทอร์เรนต์รายชื่อเกมคอมพิวเตอร์และวิดีโอเกมเรียงตามลำดับอักษรรายชื่อเกมคอมพิวเตอร์และวิดีโอเกมเรียงตามประเภทวิดีโอเกมอะเลคเซย์ ปายีตนอฟซูเปอร์มาริโอแลนด์โทะโมะกะซุ เซะกิเอลเยคโตรนีกา 60เครื่องเล่นเกมพกพา

การฟื้นเห็นเป็น 3 มิติ

การปิดตาอาจจะช่วยทำให้ตาที่ปิดแข็งแรงดีขึ้น แต่ก็ไม่ช่วยทำให้เห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาและเห็นเป็น 3 มิติ แต่บางครั้งก็อาจรักษาได้ด้วยวิธีอื่น ๆ การฟื้นเห็นเป็น 3 มิติ (Stereopsis recovery, recovery from stereoblindness) เป็นปรากฏการณ์ที่ผู้บอดไม่เห็นเป็น 3 มิติจะได้คืนสมรรถภาพการเห็นเป็น 3 มิติอย่างเต็มตัวหรือโดยส่วนหนึ่ง การรักษาคนไข้ที่มองไม่เห็นเป็น 3 มิติมีเป้าหมายให้ได้คืนสมรรถภาพนี้ให้มากที่สุด เป็นเป้าหมายที่มีในการแพทย์มานานแล้ว การรักษาจะมุ่งให้เห็นเป็น 3 มิติในทั้งเด็กเล็ก ๆ และคนไข้ที่เคยเห็นเป็น 3 มิติผู้ต่อมาเสียสมรรถภาพไปเนื่องจากภาวะโรค โดยเปรียบเทียบกันแล้ว การรักษาโดยจุดมุ่งหมายนี้ จะไม่ใช้กับคนไข้ที่พลาดระยะการเรียนรู้การเห็นเป็น 3 มิติในช่วงต้น ๆ ของชีวิตไป เพราะการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาและการเห็นเป็น 3 มิติ ดั้งเดิมเชื่อว่า เป็นไปไม่ได้ยกเว้นจะได้สมรรถภาพนี้ในระยะหัวเลี้ยวหัวต่อ (critical period) คือในช่วงวัยทารกและวัยเด็กต้น ๆ แต่สมมติฐานนี้ก็ไม่ได้สอบสวนและได้กลายเป็นรากฐานของวิธีการรรักษาโรคการเห็นด้วยสองตาเป็นทศวรรษ ๆ จนกระทั่งเร็ว ๆ นี้ที่เกิดข้อสงสัย เพราะงานศึกษาเรื่องการฟื้นเห็นเป็น 3 มิติที่ได้ปรากฏในวารสารวิทยาศาสตร์และได้ปรากฏต่อสาธารณชนต่อมาว่า นักประสาทวิทยาศาสตร์ ดร.

ดู เตตริสและการฟื้นเห็นเป็น 3 มิติ

มิวทอร์เรนต์

มิวทอร์เรนต์ (µTorrent) เป็นโปรแกรมบิตทอร์เรนต์บนระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ เขียนด้วยภาษา C++ โดยทั้งโปรแกรมมีขนาดเพียง 214 kB (อ้างจากรุ่น 1.7.7 build 8179) โปรแกรมออกแบบมาเน้นใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์อย่างประหยัด โดยที่ยังมีความสามารถเทียบเท่ากับโปรแกรมบิตทอร์เรนต์อื่นๆ เช่น Azureus หรือ BitComet.

ดู เตตริสและมิวทอร์เรนต์

รายชื่อเกมคอมพิวเตอร์และวิดีโอเกมเรียงตามลำดับอักษร

นี่คือรายชื่อของเกมคอมพิวเตอร์และวิดีโอเกมเรียงตามลำดับอักษร โปรดดูรายชื่อเกมคอมพิวเตอร์และวิดีโอเกมเรียงตามประเภท สำหรับการเรียงลำดับของเกมตามประเภท อาทิเช่น แอ็คชั่น-ผจญภัย, เกมออนไลน์, เกมประเภทการยิง, จำลองสถานการณ์, กีฬา ฯลฯ.

ดู เตตริสและรายชื่อเกมคอมพิวเตอร์และวิดีโอเกมเรียงตามลำดับอักษร

รายชื่อเกมคอมพิวเตอร์และวิดีโอเกมเรียงตามประเภท

นี่คือรายชื่อเกมคอมพิวเตอร์และวิดีโอเกมเรียงตามประเภท สำหรับการเรียงลำดับของเกมตามตัวอักษร โดยเรียงตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ หมายเหตุ:เกมบางเกมสามารถจัดกลุ่มได้หลายประเภท ! กเมคอมพิวเตอร์และวิดีโอเกมเรียงตามลำดับอักษร fi:Luettelo tietokone- ja videopeleistä sl:Seznam računalniških iger.

ดู เตตริสและรายชื่อเกมคอมพิวเตอร์และวิดีโอเกมเรียงตามประเภท

วิดีโอเกม

กม ''ป็อง'' ถือได้ว่าเป็นวิดีโอเกมส์ชนิดแรกที่เกิดขึ้น เกม ''Space Invaders'' เป็นอีกหนึ่งเกมดังในยุคกำลังพัฒนาของวิดีโอเกม เกม ''Pac-Man'' เป็นเกมที่โด่งดังที่สุดในขณะวิดีโอเกมกำลังพัฒนา วิดีโอเกม (Video game) คือ เครื่องเกมอิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์ใช้ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (user interface) ส่งผลการกระทำ (input) กลับเข้าไปยังหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processor Unit) ในตัวเครื่อง ให้คิดคำนวณแล้วแสดงผลโต้ตอบกลับมาด้วย แสง-เสียง-การสั่น-หรือภาพบนจอภาพ วิดีโอ คำว่า วิดีโอ ในวิดีโอเกม แต่เดิมหมายถึงอุปกรณ์แสดงภาพแบบแรสเตอร์ แต่ปัจจุบันสามารถใช้เรียกอุปกรณ์แสดงภาพใด ๆ ก็ได้ที่สร้างภาพสองมิติหรือสามมิติขึ้นมา ตัวอย่างเช่นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และเครื่องเล่นวิดีโอเกม อุปกรณ์เหล่านี้เป็นไปได้ตั้งแต่เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ไปจนถึงอุปกรณ์มือถือขนาดเล็ก วิดีโอเกมแบบเฉพาะอย่างเช่น เกมตู้ เคยมีแพร่หลายในอดีต แต่ปัจจุบันค่อย ๆ มีใช้น้อยลง วิดีโอเกมได้พัฒนาไปจนกลายเป็นอุตสาหกรรมและงานศิลปะ อุปกรณ์นำข้อมูลเข้าเป็นที่ใช้กันในการบังคับวิดีโอเกมเรียกว่า อุปกรณ์ควบคุมเกม (game controller) และแตกต่างกันไปในเครื่องเล่นแบบต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น อุปกรณ์ควบคุมอาจประกอบด้วยเพียงแค่ปุ่มกดและก้านควบคุม (joystick) หรืออาจมีปุ่มกดถึงสิบปุ่ม และอาจจะมีมากกว่าหนึ่งก้านควบคุมก็ได้ เกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลยุคแรกจำเป็นต้องใช้คีย์บอร์ดในการเล่นเกม หรือต้องการให้ผู้ใช้ซื้อก้านควบคุมที่มีปุ่มกดอย่างน้อยหนึ่งปุ่มด้วย เกมคอมพิวเตอร์สมัยใหม่จำนวนมากให้ผู้เล่นหรือต้องการให้ผู้เล่นใช้คีย์บอร์ดควบคู่ไปกับเมาส์ อุปกรณ์ควบคุมเกมที่พบได้บ่อยกันคือ เกมแพด เมาส์ คีย์บอร์ด และก้านควบคุม ในหลายปีที่ผ่านมานี้ มีวิธีการนำข้อมูลเข้าเพิ่มเติมเช่น การให้ผู้เล่นสังเกตการณ์ในเครื่องเล่นที่ใช้กล้อง และระบบจอสัมผัสบนโทรศัพท์มือถือ วิดีโอเกมโดยทั่วไปใช้วิธีการเพิ่มเติมมากมายเพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์และสารสนเทศให้กับผู้เล่น เสียงออดิโอในวิดีเกมนั้นเกือบจะเป็นสากล คือใช้อุปกรณ์ผลิตเสียง อย่างเช่น ลำโพง และหูฟัง ผลป้อนกลับอาจมาจากอุปกรณ์ต่อพ่วงสัมผัส (haptic peripheral) เช่นระบบการสั่น หรือผลป้อนกลับโดยใช้กำลัง (force feedback) บางครั้งการสั่นใช้กระตุ้นผลป้อนกลับแบบใช้กำลัง ผู้เล่นบางส่วนเชื่อว่าวิดีโอเกมสามารถพัฒนาทักษะทางจิตใจได้.

ดู เตตริสและวิดีโอเกม

อะเลคเซย์ ปายีตนอฟ

อะเลคเซย์ เลโอนีโดวิช ปายีตนอฟ (Алексе́й Леони́дович Па́житнов) เป็นนักออกแบบวิดีโอเกม และ วิศวกรคอมพิวเตอร์ชาวรัสเซีย เขาเป็นที่รู้จักจากการพัฒนาเกม เตตริส ในช่วงทำงานให้กับ Dorodnitsyn Computing Centre แห่งสถาบันวิทยาศาสตร์โซเวียต ที่รัฐบาลโซเวียตดูแล ในปี 1996 ปายีตนอฟ และ Henk Rogers ได้ร่วมกันก่อตั้ง The Tetris Company.

ดู เตตริสและอะเลคเซย์ ปายีตนอฟ

ซูเปอร์มาริโอแลนด์

ซูเปอร์มาริโอแลนด์ (Super Mario Land) เป็นวิดีโอเกมแพลตฟอร์มแนวจอเลื่อนด้านข้าง เป็นเกมที่สี่ในวิดีโอเกมชุดซูเปอร์มาริโอ พัฒนาและจำหน่ายโดยนินเท็นโด ออกจำหน่ายพร้อมกับเครื่องเล่นเกมมือถือ เกมบอย การเล่นคล้าย ๆ กับเกมซูเปอร์มาริโอบราเธอส์ ที่จำหน่ายเมื่อ..

ดู เตตริสและซูเปอร์มาริโอแลนด์

โทะโมะกะซุ เซะกิ

ทะโมะกะซุ เซะกิ (คันจิ:関 智一; 8 กันยายน พ.ศ. 2515 —) เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น เนื่องจากสามารถดัดเสียงได้หลายแบบจึงส่งผลให้เขามีผลงานมากมาย เซกิเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นจากบทโดมอน กัช จากจีกันดั้ม และหลังจากนั้นเขาก็มีผลงานโดดเด่นอย่างต่อเนื่องมาตลอด เช่น ซางาระ โซสุเกะ จากฟูลเมทัล พานิค, โซมะ เคียว จากเสน่ห์สาวข้าวปั้น, อิซาค จูล จากกันดั้มซี้ด และในปี พ.ศ.

ดู เตตริสและโทะโมะกะซุ เซะกิ

เอลเยคโตรนีกา 60

อลเยคโตรนีกา 60 (Электроника 60) เป็นเทอร์มินอลคอมพิวเตอร์ของ สหภาพโซเวียต โดย เอลเยคโตรนีกา ใน โวโรเนช โดยถอดแบบจากLSI-11 (ผลิตโดย Digital Equipment Corporation) รูปแบบเดิมของเตตริสนั่น ได้ถูกเขียนสำหรับเครื่องเอลเยคโตรนีกา 60 โดย อะเลคเซย์ ปายีตนอฟ โดยที่ Elektra 60 ไม่มีความสามารถด้านกราฟิก.

ดู เตตริสและเอลเยคโตรนีกา 60

เครื่องเล่นเกมพกพา

อุปกรณ์อิเลคทรอนิคส์ขนาดเล็ก มีจอภาพแสดงผล (โดยมากมักมีสีเดียว ใช้เทคโนโลยี LCD ต่อมาพัฒนาเป็นจอสี และมีหลายจอ) มีลำโพง มีปุ่มสั่งการไม่มาก เช่น ปุ่มเปิด-ปิด เลือกเกมส์ (mode) ปุ่มควบคุมทิศทาง (d-pad ได้ไอเดียจาก เกมกด) ปุ่มยิง (ปุ่มแอ็คชั่น A, B) ปุ่มปรับเสียง-ความสว่าง จุดมุ่งหมายแรกคือ ความสะดวกในการพกพา (mobility) ใส่ในกระเป๋าเสื้อหรือกระเป๋ากางเกง หรือกระเป๋าถือ ใช้พลังงานจากถ่านแบตเตอรี่ หรือเสียบสายชาร์จผ่านหม้อแปลง กินไฟน้อย เล่นได้นานหลายชั่วโมง เพื่อใช้ฆ่าเวลา แก้เบื่อ ต่อมาก็ผนวกความสามารถการใช้สอยเพิ่มเติมเช่น มีนาฬิกาบอกเวลา-ตั้งปลุก, เป็นเครื่องคิดเลข ฯลฯ หนึ่งเครื่องมีหนึ่งเกม ต่อมามีหลายเกมส์ให้เลือก เช่น เตตริส หรือเป็นระบบเปลี่ยนซอฟท์เกมได้เรื่อยๆ ปัจจุบัน อุปกรณ์พกพาหลายๆ อย่าง ทั้งเกมพกพา, เครื่องจดบันทึก, กล้องถ่ายรูป, เครื่องฟังเพลง มักรวมเข้าไปอยู่ใน โทรศัพท์มือถือ แบบสมาร์ทโฟนเพียงเครื่องเดียว.

ดู เตตริสและเครื่องเล่นเกมพกพา

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Tetris