โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เดวอน

ดัชนี เดวอน

วอน (ภาษาอังกฤษ: Devon) เป็นมณฑลในอังกฤษในสหราชอาณาจักรที่มีเนื้อที่มากที่สุดที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหราชอาณาจักร เดวอนบางครั้งก็เรียกว่า “เดวอนเชอร์” แต่เป็นชื่อที่ไม่เป็นทางการ เดวอนมีเขตแดนติดกับมณฑลคอร์นวอลล์ทางตะวันตกและมณฑลดอร์เซ็ทกับมณฑลซอมเมอร์เซ็ททางตะวันออก ชายฝั่งทะเลด้านใต้เป็น ช่องแคบอังกฤษทางด้านเหนือเป็นช่องแคบบริสตอลซึ่งทำให้เป็นมณฑลเดียวในอังกฤษที่มีชายฝั่งทะเลสองด้านที่แยกกัน เดวอนมีหน่วยรัฐบาลท้องถิ่นระดับเดียวสองหน่วย: เมืองท่าพลิมัธและทอร์เบย์ที่เป็นกลุ่มบริเวณที่ท่องเที่ยวชายทะเลนอกไปจากเทศบาลการปกครองของมณฑลเดวอนเอง พลิมัธเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุด ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นชนบทรวมทั้งบริเวณอุทยานแห่งชาติ เดวอนมีประชากรมากเป็นลำดับสามของบรรดามณฑลต่างๆ โดยมีประชากรทั้งหมด 1,109,900 คน โดยมีประชากรถัวเฉลี่ย 365 คนต่อหนึ่งตารางกิโลเมตรซึ่งเป็นบริเวณที่มีประชาชนเบาบางเมื่อเทียบกับจำนวนเฉลี่ยในบริเวณอื่น เดวอนแบ่งการปกครองเป็นสิบแขวง: เอ็กซิเตอร์, อีสต์เดวอน, มิดเดวอน, นอร์ธเดวอน, ทอร์ริดจ์, เวสต์เดวอน, เซาท์แธมส, เทนบริดจ์, พลิมัธ และทอร์เบย์ โดยมีเมืองมณฑลอยู่ที่ เอ็กซิเตอร์ เดวอนเป็นที่ตั้งของชายฝั่งทะเลมรดกโลกที่เป็นที่เรียกว่าฝั่งทะลเจอราสิค (Jurassic Coast) ที่มีความสำคัญทางธรณีวิทยาและลักษณะทางภูมิศาสตร์ เดวอนและคอร์วอลล์เป็นที่รู้จักันในชื่อ “Cornubian massif” ซึ่งเป็นลักษณะธรณีวิทยาที่ทำให้เกิดภูมิทัศน์ของดาร์ทมัวร์ และเอ็กซมัวร์ที่เป็นอุทยานแห่งชาติ เดวอนมีเมืองท่องเที่ยวทางชายทะเลและมีเมืองสำคัญทางประวัติศาสตร์หลายเมือง และมีอากาศที่ไม่รุนแรงซึ่งทำให้เป็นที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวซึ่งเป็นอุตสาหกรรมสำคัญของมณฑล.

56 ความสัมพันธ์: บริเตนยุคสัมริดบอร์นมัทบักฟาสต์แอบบีย์บาร์นสตาเบิลชาในสหราชอาณาจักรพ.ศ. 2398พระนางเอลฟรีดาพระเจ้าอัลเฟรดมหาราชพลิมัธ (แก้ความกำกวม)พลิมัทพิกซีมหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์มาร์ลบะระมิสเตอร์เวิลด์ 2016ยุคดีโวเนียนรอยเท้าปีศาจรายชื่อสวนสัตว์รายชื่อหอดูดาวรายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักรวังเบลนิมวิลเลียม บัคแลนด์สะพานแคล็พเพอร์สถาปัตยกรรมแบบอิตาลีสโมสรฟุตบอลเอ็กซิเตอร์ซิตีหมาผลาญตระกูลอกาธา คริสตีอังกฤษสมัยแองโกล-แซกซันอาสนวิหารเอ็กซิเตอร์อิซาเบลลาแห่งอ็องกูแลม สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษจอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระจอห์น เบาว์ริงจุดผลิตน้ำมันสูงสุดทะเลเคลติกดอร์เซตคริส มาร์ตินคฤหาสน์ไนท์เฮย์สคอร์นวอลล์ซัมเมอร์เซตประตูปีศาจปีเตอร์ รีดนอร์แมน ล็อกเยอร์โรงเรียนโยธินบูรณะโอลด์อิงลิชชีปด็อกโจชัว เรย์โนลส์โจเอล เรดแมนไอแซก ซิงเกอร์เมืองซ่อนบาปเรือนส้มเอ็กซิเตอร์เอ็กเบิร์ต กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์...เอ็ดเวิร์ด วูด เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์เทศมณฑลที่ไม่ใช่มหานครเทศมณฑลที่เป็นมหานครและไม่ใช่มหานครของอังกฤษเทศมณฑลในประวัติศาสตร์อังกฤษเซาท์เวสต์อิงแลนด์เซนต์เจมส์พาร์ก (เอ็กซิเตอร์) ขยายดัชนี (6 มากกว่า) »

บริเตนยุคสัมริด

ริเตนยุคสัมริด (Bronze Age Britain) เป็นช่วงระยะเวลาที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ในสหราชอาณาจักรระหว่าง 2700 - 2000 ปีก่อนคริสต์ศักราช จนถึง 700 ปีก่อนคริสต์ศักร.

ใหม่!!: เดวอนและบริเตนยุคสัมริด · ดูเพิ่มเติม »

บอร์นมัท

มืองใต้ทะเล ทิวทัศน์ของบอร์นมัทมองจากสตัดแลนด์ บอร์นมัท (Bournemouth) เป็นเมืองตากอากาศขนาดใหญ่บนชายฝั่งทางใต้ของอังกฤษ ตั้งอยู่ห่างจากลอนดอนลงไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 105 ไมล์ มีอาณาเขตติดต่อกับเมืองพูลทางด้านตะวันตก เมืองไครสต์เชิร์ชทางด้านตะวันออก และหันหน้าออกสู่อ่าวพูล จากเมืองนี้สามารถมองเห็นเกาะไวต์ได้.

ใหม่!!: เดวอนและบอร์นมัท · ดูเพิ่มเติม »

บักฟาสต์แอบบีย์

ักฟาสต์แอบบีย์ (Buckfast Abbey) เป็นอารามคณะเบเนดิกตินนิกายโรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ที่เมืองบักฟาสต์ลีห์ในเทศมณฑลเดวอน อังกฤษ ที่อุทิศให้พระแม่มารีย์ บักฟาสต์แอบบีย์ก่อตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1018 และเปลี่ยนไปอยู่ภายใต้การบริหารของคณะซิสเตอร์เชียน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1147 จนกระทั่งมาถูกทำลายลงเมื่อมีการยุบอารามในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 เมื่อมาถึงปี..

ใหม่!!: เดวอนและบักฟาสต์แอบบีย์ · ดูเพิ่มเติม »

บาร์นสตาเบิล

ร์นสตาเบิล (Barnstable) เป็นนครในบาร์นสตาเบิลเคาน์ตี รัฐแมสซาชูเซตส์ บาร์นสตาเบิลเป็นชุมชนที่ใหญ่ที่สุด ทั้งในพื้นที่บนบกและประชากรในเคปค้อด ตามการสำรวจสำมะโนประชากรสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 2010 บาร์นสตาเบิลมีประชากร 45,193 คน เมืองนี้ประกอบด้วย 11 หมู่บ้าน (1 ในนั้นก็มีหมู่บ้านที่ชื่อบาร์นสตาเบิล) ภายในขอบเขตของเมือง หมู่บ้านที่ใหญ่ที่สุด คือ ไฮยานนิส บาร์นสตาเบิลยังชนะรางวัลออลอเมริกาซิตี้ประจำปี 2007.

ใหม่!!: เดวอนและบาร์นสตาเบิล · ดูเพิ่มเติม »

ชาในสหราชอาณาจักร

กับนม ประเพณีการดื่มชาของสหราชอาณาจักร ชาวสหราชอาณาจักรเป็นชาติที่ดื่มชาเป็นลำดับสองของโลกเมื่อเปรียบกับอัตราต่อคน ชาวสหราชอาณาจักรแต่ละคนดื่มชาคนละประมาณ 2.1 กิโลกรัมต่อปี,” Food & Drink.

ใหม่!!: เดวอนและชาในสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2398

ทธศักราช 2398 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1855.

ใหม่!!: เดวอนและพ.ศ. 2398 · ดูเพิ่มเติม »

พระนางเอลฟรีดา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เดวอนและพระนางเอลฟรีดา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอัลเฟรดมหาราช

ระเจ้าอัลเฟรดมหาราช (Alfred the Great; Ælfrēd) (ค.ศ. 849 - 26 ตุลาคม ค.ศ. 899) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรเวสเซ็กซ์ในสมัยราชวงศ์เวสเซ็กซ์ เสด็จพระราชสมภพที่เวนเทจ บาร์กเชอร์ เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเอเธลวูล์ฟแห่งเวสเซกซ์และออสเบอร์กา ทรงเสกสมรสกับเอลสวิธ และทรงราชย์เป็นกษัตริย์ของชนแองโกล-แซ็กซอนภายใต้ราชอาณาจักรเวสเซกซ์ระหว่างวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 871 พระเจ้าอัลเฟรดทรงมีชื่อเสียงในการป้องกันราชอาณาจักร จากการรุกรานของชาวไวกิงจากเดนมาร์ก และเป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษพระองค์เดียวที่รับสมญานามว่า “มหาราช” พระเจ้าอัลเฟรดทรงเป็นกษัตริย์แห่งแซกซันตะวันตกพระองค์แรก ที่ทรงแสดงพระองค์ว่าเป็นกษัตริย์แห่งชาวแองโกล-แซกซัน ทรงเป็นผู้มีการศึกษาดี และทรงส่งเสริมการศึกษาและปรับปรุงทางด้านกฎหมายในราชอาณาจักรและระบบการทหาร พระราชประวัติของพระองค์ถูกกล่าวถึงในงานเขียนของแอสเซอร์ (Asser) นักปราชญ์ชาวเวล.

ใหม่!!: เดวอนและพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พลิมัธ (แก้ความกำกวม)

ลิมัธ อาจจะหมายถึง.

ใหม่!!: เดวอนและพลิมัธ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

พลิมัท

ลิมัท (Plymouth) เป็นนครและเป็นเมืองที่มีการปกครองโดยรัฐบาลท้องถิ่นระดับเดียวที่อยู่ในมณฑลเดวอนในภาคการปกครองตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษ ที่อยู่ใกลจากลอนดอนไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 310 กิโลเมตร พลิมัธตั้งอยู่ระหว่างปากแม่น้ำพลิมทางตะวันออกและแม่น้ำเทมาร์ทางตะวันตกที่มารวมกันที่พลิมัธซาวนด์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1967 พลิมัธมีเทศบาลปกครองเป็นของตนเองที่รวมทั้งพลิมพ์ตัน และพลิมสต็อคที่อยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำพลิม ประวัติของพลิมัธย้อนไปถึงยุคสัมริดเมื่อมีผู้มาตั้งถิ่นฐานที่เมาท์แบตเต็น บริเวณที่ตั้งถิ่นฐานเจริญขึ้นมาเป็นเมืองค้าขายกับจักรวรรดิโรมันจนมาแทนที่ด้วยหมู่บ้านซัตตันที่เป็นเมืองพลิมัทปัจจุบันที่มีฐานะดีกว่า ในปี ค.ศ. 1620 “Pilgrim Fathers” หรือกลุ่มผู้ตั้งถิ่นฐานจากพลิมัธเดินทางไปอเมริกาและไปก่อตั้งอาณานิคมพลิมัท (Plymouth Colony) ในรัฐแมสซาชูเซตส์ปัจจุบัน—ซึ่งเป็นอาณาบริเวณการตั้งถิ่นฐานในอเมริกาที่แห่งที่สองของชาวอังกฤษที่ต่อมาก่อตั้งขึ้นเป็นสหรัฐอเมริกา ระหว่างสงครามกลางเมืองอังกฤษพลิมัธถูกยึดโดยฝ่ายรัฐสภาและถูกล้อมระหว่างปี ค.ศ. 1642 ถึง ค.ศ. 1646 ตลอดสมัยการปฏิวัติอุตสาหกรรมพลิมัธเจริญขึ้นเป็นเมืองท่าสำคัญที่มีการขนส่งสินค้าขาเข้าและผู้โดยสารจากอเมริกา และเป็นเมืองที่มีการต่อเรือสำหรับราชนาวีอังกฤษ ซึ่งทำให้กลายเป็นจุดยุทธศาสตร์ในการทำลายของข้าศึกระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังสงครามพลิมัทก็สร้างศูนย์กลางเมืองใหม่แทนส่วนที่ถูกทำลายไประหว่างสงคราม พลิมัทมีเนื้อที่ 79.29 ตารางกิโลเมตร จากการสำรวจสำมะโนประชากรในปี ค.ศ. 2007 พลิมัทมีประชากรทั้งหมดประมาณ 250,700 คน โดยมีความหนาแน่นถัวเฉลี่ยเป็นจำนวน 3,142 คนต่อหนึ่งตารางกิโลเมตร ซึ่งทำให้เป็นเมืองที่มีจำนวนพลเมืองมากเป็นลำดับที่ 15 ของอังกฤษ พลิมัทมีเทศบาลการปกครองเป็นของตนเองและมีตัวแทนในรัฐสภาสามคน เศรษฐกิจในพลิมัทยังคงเป็นการต่อเรือแต่ก็เริ่มเปลี่ยนไปเป็นเศรษฐกิจการบริการตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1990 และมีมหาวิทยาลัยที่ใหญ่เป็นลำดับที่ 11 ในสหราชอาณาจักร และเป็นที่ตั้งของราชนาวีที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปตะวันตก พลิมัธมีเรือข้ามประจำไปยังฝรั่งเศสและสเปนและมีสนามบินนานาชาต.

ใหม่!!: เดวอนและพลิมัท · ดูเพิ่มเติม »

พิกซี

กซีกำลังให้พร 7 ประการแก่เด็กผู้หญิงที่น่าเกลียดคนหนึ่ง พิกซี (Pixie หรือ Piskie หรือ Pigsie) หนึ่งในเชื้อสายเผ่าพันธ์แฟรี่ มีลักษณะเป็นภูตตัวเล็กๆ มีปีกแบบแมลง สูงไม่เกิน 1 ฟุต (ตามปกติ) และสามารถขยายหรือลดขนาดของตัวเองได้ ในความเชื่อเรื่องพิกซี่นั้นเป็นที่แพร่หลายในแถบชนบทของอังกฤษ เช่นเดวอน ซอเมอร์เซต และคอร์นวอลล์ ซึ่งทำให้เชื่อว่าน่าจะมีรากฐานมาจากวัฒนธรรมเคลต.

ใหม่!!: เดวอนและพิกซี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์

มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ (University of Exeter) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร ปัจจุบันมีพื้นที่ทำการเรียนการสอน และทำการวิจัยรวมทั้งสิ้น 3 วิทยาเขต ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองเอ็กซิเตอร์ มณฑลเดวอน จำนวน 2 วิทยาเขต และในมณฑลคอร์นวอลล์ 1 วิทยาเขต มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ ได้รับตำแหน่ง มหาวิทยาลัยแห่งปี จากไทมส์ไฮเออร์เอ็ดดูเคชัน ในปีค.ศ. 2007 และ เดอะซันเดย์ไทมส์ ในปีค.ศ. 2013 และได้รับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักรอยู่ในอันดับที่ 7 จาก เดอะไทมส์ และ เดอะซันเดย์ไทมส์ (2015) และอันดับที่ 10 โดย เดอะการ์ดเดียน (2013) และ เดอะคอมพลีทยูนิเวอร์ซิตีไกด์ (2014) อีกทั้งยังได้รับการจัดอันดับให้อยู่ภายในสิบอันดับแรกมาตลอด ของการสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาระดับชาติ ตั้งแต่มีการเริ่มทำการสำรวจในปี ค.ศ. 2005 มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์เป็นสมาชิกของกลุ่มรัสเซล ซึ่งเป็นกลุ่มของมหาวิทยาลัยวิจัยขนาดใหญ่ชั้นนำของสหราชอาณาจักร รวมถึงกลุ่ม Universities UK สมาคมมหาวิทยาลัยแห่งยุโรป(EUA) สมาคมมหาวิทยาลัยแห่งเครือจักรภพ(ACU) และเป็นสถาบันการศึกษาที่ได้รับการรับรองจากสมาคม MBAs(AMBA).

ใหม่!!: เดวอนและมหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ลบะระ

มาร์ลบะระ (Marlborough) เป็นชื่อในภาษาอังกฤษ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เดวอนและมาร์ลบะระ · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์เวิลด์ 2016

มิสเตอร์เวิลด์ 2016 (Mister World 2016) เป็นครั้งที่ 9 ของการประกวดมิสเตอร์เวิลด์ ซึ่งจัดขึ้นที่ลอรัลฮอลล์ของศูนย์การประชุมเซาท์พอร์ต ใน เซาท์พอร์ต เดวอน สหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เดวอนและมิสเตอร์เวิลด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ยุคดีโวเนียน

ีโวเนียน (Devonian) เป็นยุคที่สี่ของมหายุคพาลีโอโซอิก ยุคนี้เริ่มนับตั้งแต่จุดสิ้นสุดของยุคไซลูเรียน เมื่อประมาณ 419.2±3.2 ล้านปีก่อน และสิ้นสุดลงเมื่อก่อนเริ่มยุคคาร์บอนิเฟอรัส ประมาณ 358.9±0.4 ล้านปีก่อน ยุคนี้ตั้งชื่อตามเดวอน ประเทศอังกฤษ ซึ่งเป็นสถานที่แห่งแรกที่มีการศึกษาหินของยุคนี้ นักธรณีวิทยาจัดว่ายุคดีโวเนียนนี้เป็นยุคแรกที่มีสิ่งมีชีวิตบนบก และพืชบกเริ่มกระจายเข้าสู่แผ่นดินส่วนใน ทำให้เริ่มมีการก่อตัวเป็นป่าซึ่งจะค่อยๆปกคลุมทวีป ช่วงกลางยุคดีโวเนียน พืชบางชนิดจะเริ่มวิวัฒนาการเป็นพืชมีใบและมีรากที่มั่นคง และปลาได้วิวัฒนาการมามากกว่าออสทราโคเดิร์มแล้ว และยุคนี้มีปลาชุกชุมจึงถูกเรียกว่า ยุคแห่งปลา (Age of Fish) ปลาหลายชนิดได้เริ่มวิวัฒนาการขึ้น ซึ่งภายหลังพวกมันเป็นต้นตระกูลของปลาขนาดใหญ่หลายชนิด ขณะที่ปลามีเกราะได้เริ่มลงจำนวนลงในแหล่งน้ำทุกๆ แห่ง บรรพบุรุษของสัตว์สี่ขาได้เริ่มขึ้นมาเดินอยู่บนบก ครีบของพวกมันได้วิวัฒนาการมาเป็นขา ส่วนในทะเล ฉลามดึกดำบรรพ์มีจำนวนมากขึ้นกว่าที่มีในยุคไซลูเรียนและปลายยุคออร์โดวิเชียน ปลายยุคดีโวเนียนได้เกิดการสูญพันธุ์ขึ้น เมื่อประมาณ 375 ล้านปีก่อน การสูญพันธุ์นี้ส่งผลกระทบกับสัตว์น้ำ ปลามีเกราะและไทรโลไบต์ทั้งหมดสูญพันธุ์ ทวีปในยุคนี้แบ่งเป็นมหาทวีปกอนด์วานา ทางตอนใต้ ทวีปไซบีเรีย ทางตอนเหนือ และเริ่มมีการก่อตัวของทวีปขนาดเล็กที่มีชื่อว่า ยูราเมริกา ในตำแหน่งระหว่างกลางของกอนด์วานาและไซบีเรี.

ใหม่!!: เดวอนและยุคดีโวเนียน · ดูเพิ่มเติม »

รอยเท้าปีศาจ

วาดปรากฏการณ์รอยเท้าปีศาจ รอยเท้าปีศาจ (Devil's Footprints) เป็นชื่อเรียกปรากฏการณ์ประหลาดที่ตราบจนวันนี้ก็ยังไม่มีคำอธิบายว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร ในวันที่ 8–9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1855 ที่มณฑลเดวอน ใกล้กับแม่น้ำเอ็ก ทางตอนใต้ของประเทศอังกฤษ มีหิมะตกอย่างหนัก รุ่งเช้าขึ้นมา ชาวเมืองต่างพบกับร่องรอยประหลาดบนพื้นหิมะและน้ำแข็งคล้ายรอยเท้าของสัตว์จำพวกสัตว์กีบ เช่น ลาหรือม้า ขนาดของรอยนั้นยาว 4 นิ้ว กว้าง 2 นิ้วเศษ ร่องรอยนี้ได้กระจายไปทั่วเมือง ราวกับว่าเจ้าของเท้านี้ได้เดินไปทั่วเมืองในเวลากลางคืนที่ผ่านมา ทั้งสนามหญ้าหรือท้องทุ่ง แต่ทว่าที่ประหลาด คือ รอยนี้ดูเหมือนว่าจะเดินด้วยสองเท้าหลังเท่านั้น และปรากฏไปทั่ว แม้กระทั่งในสถานที่ที่ไม่น่าจะเกิดขึ้นได้ เช่น บนกำแพง, ขอบหน้าต่าง หรือหลังคาบ้าน และแม้กระทั่งในท่อระบายน้ำที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางเพียง 6 นิ้วเท่านั้น ความห่างระหว่างรอยมีความสม่ำเสมอกัน ซึ่งในบางแห่งการสถานที่เกิดรอยมีความห่างกันมาก จนเจ้าของรอยจะต้องกระโดดเป็นระยะทางไกล และรวมระยะทางที่ร่องรอยนี้ปรากฏเป็นระยะทางนับ 100 ไมล์ ซึ่งคงไม่มีสัตว์ชนิดไหนที่จะทำเช่นนี้ได้ภายในคืนเดียว รอยนี้ไปสิ้นสุดลงที่เมืองลิมสโตน ซึ่งเป็นเมืองที่อยู่ใกล้เคียงกัน คล้ายกับว่าได้หายตัวไปเฉย ๆ ซึ่งไม่มีผู้ใดทราบว่าเกิดจากการกระทำของสัตว์ชนิดใดหรือผู้ใด จึงเรียกกันว่า "รอยเท้าปีศาจ" ได้มีผู้ตั้งทฤษฎีไว้เกี่ยวกับรอยเท้าปีศาจนี้มากมาย ทั้ง เชื่อว่า เกิดจากการกระทำของจิงโจ้หรือปรากฏการณ์ธรรมชาติที่กระแสน้ำอุ่นที่ได้ลอยกระทบกับอุณหภูมิที่ลอยต่ำลงมา ซึ่งทำให้เกิดไอน้ำขึ้น เมื่อไอน้ำได้ลอยไปกระทบพื้นที่ที่ปกคลุมด้วยหิมะ ก็อาจทำให้น้ำเกิดการพองตัวขึ้นจนเกิดรอยดังกล่าว แต่ก็เป็นได้เพียงข้อสันนิษฐานของปริศนาที่เกิดมานานกว่า 150 ปีแล้ว และในวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 2009 ปรากฏการณ์รอยเท้าปีศาจนี้ก็ได้กลับมาเกิดขึ้นอีกครั้ง ณ มณฑลเดวอน เช่นเคยเหมือนในอดีต.

ใหม่!!: เดวอนและรอยเท้าปีศาจ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสวนสัตว์

;.

ใหม่!!: เดวอนและรายชื่อสวนสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อหอดูดาว

นี่คือ รายชื่อหอดูดาว เรียงลำดับตามตัวอักษร รวมถึงวันเปิดปฏิบัติการและตำแหน่งที่ตั้ง รายชื่อนี้อาจรวมถึงวันปฏิบัติการวันสุดท้ายสำหรับหอดูดาวที่ได้ปิดตัวลง โดยรายชื่อนี้จะเป็นหอดูดาวซึ่งใช้ศึกษาด้านดาราศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: เดวอนและรายชื่อหอดูดาว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักร

สโตนเฮนจ์เป็นส่วนหนึ่งของแหล่งมรดกโลกสโตนเฮนจ์ เอฟเบอรี และสถานที่ใกล้เคียง ในสหราชอาณาจักรและอาณานิคมโพ้นทะเลมีแหล่งมรดกโลกที่ขึ้นทะเบียนโดยยูเนสโกทั้งหมด 31 แห่ง โดยอยู่ในอังกฤษ 17 แห่ง, สกอตแลนด์ 5 แห่ง, อังกฤษและสกอตแลนด์ 1 แห่ง, เวลส์ 3 แห่ง, ไอร์แลนด์เหนือ 1 แห่ง และในดินแดนโพ้นทะเลเบอร์มิวดา หมู่เกาะพิตแคร์น เซนต์เฮเลนา และยิบรอลตาร์ที่ละ 1 แห่ง แหล่งมรดกโลกของสหราชอาณาจักรที่ได้ขึ้นทะเบียนในครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2529 ได้แก.

ใหม่!!: เดวอนและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

วังเบลนิม

วังเบลนิม (Blenheim Palace) หรือ คฤหาสน์เบลนิม เป็นคฤหาสน์ที่สร้างอย่างวังตั้งอยู่ที่เมืองเล็กๆ ชื่อวู้ดสต็อคในมลฑลอ๊อกซฟอร์ดเชอร์ในอังกฤษ สร้างโดยซาราห์ เชอร์ชิลผู้เป็นภรรยาของจอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ และเป็นพระสหายสนิทของสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์ ระหว่างปี ค.ศ. 1705 ถึง ค.ศ. 1722 วังเบลนิมเป็นสถาปัตยกรรมแบบวัง โดยมี เซอร์จอห์น แวนบรูห์เป็นสถาปนิก วังเบลนิมเป็นคฤหาสน์ที่มิได้เป็นของราชวงศ์ แต่ก็ใช้คำนำหน้าว่า “วัง” ซึ่งเป็นแห่งเดียวในอังกฤษเพราะความยิ่งใหญ่ของสิ่งก่อสร้าง จุดประสงค์ของการก่อสร้างเมื่อเริ่มแรกเพื่อเป็นของขวัญสำหรับจอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระเพื่อเป็นการตอบแทนในการนำกองทัพอังกฤษรบชนะฝรั่งเศสและบาวาเรีย แต่ต่อมาเบลนิมกลายเป็นปัญหาในการต่อสู้ทางการเมือง ซึ่งเป็นผลทำให้ดยุกและดัชเชสแห่งมาร์ลบะระสิ้นอำนาจ รวมทั้งการเสียชื่อเสียงของสถาปนิกจอห์น แวนบรูห์ ตัววังสร้างเป็นแบบบาโรก ปฏิกิริยาหรือคุณค่าของสิ่งก่อสร้างจนบัดนี้ก็ยังไม่เป็นที่เห็นพ้องกันได้ เช่นเดียวกับในสมัยเมื่อเริ่มสร้างในคริสต์ทศวรรษ 1720 ตัวสิ่งก่อสร้างเป็นลักษณะที่ผสมระหว่างที่อยู่อาศัย, ที่เก็บศพ และ อนุสาวรีย์ นอกจากนั้นสิ่งที่น่าสนใจคือเป็นที่เกิดของวินสตัน เชอร์ชิลอดีตนายกรัฐมนตรีคนสำคัญของอังกฤษ คำจารึกเหนือประตูใหญ่ทางตะวันออกบอกประวัติของสิ่งก่อสร้าง: แต่ตามความเป็นจริงแล้วความสำเร็จของการสร้างเบลนิมเป็นผลจากความทะเยอทะยานของซาราห์ เชอร์ชิลเป็นส่วนใหญ่ หลังจากสร้างเสร็จเบลนิมก็กลายเป็นที่พำนักของตระกูลเชอร์ชิลมาจนถึงปัจจุบัน เป็นเวลาได้ราว 300 ปี ในระหว่างนั้นตัววังและอุทยานก็ได้รับการเปลื่ยนแปลงมาโดยตลอด เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ตระกูลมาร์ลบะระก็ประสบปัญหาทางการเงินจนต้องขายทรัพย์สมบัติสำคัญๆ ไปบ้าง แต่การแต่งงานกับสตรีชาวอเมริกันก็ช่วยนำเงินมาบำรุงรักษาเบลนิมให้ยังอยู่ในสภาพดังเช่นเมื่อเริ่มสร้าง.

ใหม่!!: เดวอนและวังเบลนิม · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม บัคแลนด์

วิลเลียม บัคแลนด์ (William Buckland) (12 มีนาคม ค.ศ. 1784 - (14 สิงหาคม ค.ศ. 1856) วิลเลียม บัคแลนด์เป็นนักธรณีวิทยา และ นักบรรพชีวินวิทยาชาวอังกฤษ ผู้เกิดเมื่อวันที่ 12 มีนาคม ค.ศ. 1784 แอ็กซมินสเตอร์ในมณฑลเดวอนในอังกฤษ บัคแลนด์เป็นผู้เขียนหนังสือเกี่ยวกับซากดึกดำบรรพ์ของไดโนเสาร์อย่างละเอียดเป็นเล่มแรก และเป็นผู้สนับสนุนลัทธิปฐมกำเนิดของโลกเก่า (Old Earth creationism) ผู้ต่อมากลายมาเป็นผู้ที่มีความเชื่อในทฤษฎีธารน้ำแข็งของหลุยส์ อกาสซิส (Louis Agassiz) นักบรรพชีวินวิทยา นักธรณีวิทยา และนักธารน้ำแข็งวิทยาชาวสว.

ใหม่!!: เดวอนและวิลเลียม บัคแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานแคล็พเพอร์

นแคล็พเพอร์ (Clapper bridge) เป็นสะพานแบบโบราณที่พบในบริเวณภูมิภาคที่เป็นมอร์ (moors) ของมณฑลเดวอน ในบริเวณ ดาร์ทมอร์ และ เอ็กซมอร์) และบริเวณตอนเหนือขึ้นไปของสหราชอาณาจักรที่รวมทั้งสโนโดเนีย และ แองเกิลซีย์ ตัวสะพานก่อสร้างด้วยหินแกรนิตแบนแผ่นใหญ่บนตอม่อที่ทำด้วยหิน สำหรับข้ามลำธาร หรือ ริมลำธาร.

ใหม่!!: เดวอนและสะพานแคล็พเพอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมแบบอิตาลี

ร์ลส์ แบร์รีhttp://www.touruk.co.uk/houses/housebucks_clive.htm Historic Houses In Buckinghamshireที่เป็นคฤหาสน์ฟื้นฟูเรอเนซองส์ลักษณะแบบอิตาลีที่แสดงลักษณะที่ “บ่งเป็นนัยยะอย่างชัดแจ้งว่าเป็นสิ่งก่อสร้างของคหบดีพ่อค้าผู้มั่งคั่งชาวอิตาลี”“Direct quote from: Walton, John. ''Late Georgian and Victorian Britain'' Page 50. George Philip Ltd. 1989. ISBN 0-540-01185-1 สถาปัตยกรรมแบบอิตาลี (Italianate architecture หรือ Italianate style of architecture) เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ของยุคสถาปัตยกรรมที่เรียกว่ายุคฟื้นฟูสถาปัตยกรรมคลาสสิก การสร้างสิ่งก่อสร้างที่มีลักษณะเป็นแบบสถาปัตยกรรมอิตาลีเป็นการใช้ลักษณะทรงและศัพท์สถาปัตยกรรมของสถาปัตยกรรมอิตาลีของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เป็นพื้นฐานในการสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ทั้งลัทธิพาลเลเดียน และลัทธิฟื้นฟูคลาสสิกในการผสานกับความงามอันต้องตา (picturesque aesthetics) ฉะนั้นลักษณะของสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นซึ่งจัดอยู่ในกลุ่ม “ฟื้นฟูเรอเนซองส์” ด้วยจึงเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่เป็นลักษณะเฉพาะตัวของยุค นักประวัติศาสตร์ชาวสวิสเชื้อสายเยอรมันซิกฟรีด กีเดียนบรรยายเกี่ยวกับลักษณะของปรัชญาของการเปลี่ยนแปลงลักษณะสถาปัตยกรรมว่า “การมองอดีตแปรสภาพของสิ่งของ ผู้ชมทุกคนทุกสมัย—ทุกช่วงเวลา—ในที่สุดก็จะเปลี่ยนแปรลักษณะที่เห็นในอดีตในบริบทของความเข้าใจของตนเอง” สถาปัตยกรรมแบบอิตาลีเริ่มขึ้นในบริเตนราว..

ใหม่!!: เดวอนและสถาปัตยกรรมแบบอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเอ็กซิเตอร์ซิตี

มสรฟุตบอลเอ็กซิเตอร์ซิตี (Exeter City Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลระดับอาชีพ ตั้งอยู่ที่เมืองเอ็กซิเตอร์ ในประเทศอังกฤษ ปัจจุบันลงทำการแข่งขันอยู่ในระดับฟุตบอลลีกทู และมีชื่อเล่นว่า เดอะกรีเชียนส์(The Grecians) ปัจจุบัน เอ็กซิเตอร์ซิตีเป็นเพียง 1 ใน 4 สโมสรในระดับฟุตบอลลีกของอังกฤษ ที่แฟนบอลถือกรรมสิทธิ์ร่วมกันเป็นเจ้าของสโมสรผ่านกองทุนรวมผู้สนับสนุนสโมสร.

ใหม่!!: เดวอนและสโมสรฟุตบอลเอ็กซิเตอร์ซิตี · ดูเพิ่มเติม »

หมาผลาญตระกูล

หมาผลาญตระกูล (The Hound of the Baskervilles) เป็นนวนิยายอาชญากรรมเรื่องที่สามจากสี่เรื่อง เขียนโดยเซอร์อาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์ ที่กล่าวถึงนักสืบเชอร์ล็อก โฮมส์ เดิมเขียนเป็นตอนใน เดอะสแตรนด์แมกาซีน (The Strand Magazine) ตั้งแต่เดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: เดวอนและหมาผลาญตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

อกาธา คริสตี

อกาธา คริสตี อกาธา (มิลเลอร์) คริสตี (Agatha Christie, ชื่อเต็ม: Agatha Mary Clarissa, บรรดาศักดิ์ Lady Mallowan, 15 กันยายน 2433 - 12 มกราคม 2519, อายุ 86 ปี) เกิดที่เมืองทอร์คีย์ มณฑลเดวอน ครอบครัวมีฐานะปานกลางมีบิดาเป็นชาวอเมริกัน มารดาเป็นชาวอังกฤษเป็นลูกคนเล็กของครอบครัว โดยคริสตีเลือกถือสัญชาติอังกฤษ เธอมีชื่อเสียงโด่งดังในฐานะนักเขียนนิยายแนวสืบสวนสอบสวน ได้รับสมญานามว่า "ราชินีแห่งนวนิยายอาชญากรรม" และเป็นผู้ที่ได้รับการบันทึกจากกินเนสต์บุ๊คว่า เป็นนักเขียนที่มียอดขายหนังสือมากที่สุดในโลก ตัวละครนักสืบที่โด่งดังของเธอ อาทิเช่น แอร์กูล ปัวโร, เจน มาร์เปิ้ล นอกจากนี้ องค์การยูเนสโก ยังได้ระบุว่า คริสตี เป็นนักเขียนที่มีผลงานแปลมากที่สุดในโลก เป็นรองแต่เพียงงานของวอลต์ ดิสนี่ย์ โปรดักชั่น เท่านั้น คริสตียังมีผลงานนวนิยายโรแมนติกในนามปากกาว่า Mary Westmacott บทละครเวทีของเธอเรื่อง The Mousetrap เป็นการแสดงที่ได้บันทึกสถิติว่าออกแสดงนานที่สุดในโลก โดยเปิดการแสดงที่โรงละครแอมบาสซาเดอร์ในกรุงลอนดอน เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เดวอนและอกาธา คริสตี · ดูเพิ่มเติม »

อังกฤษสมัยแองโกล-แซกซัน

อังกฤษสมัยแองโกล-แซกซัน (History of Anglo-Saxon England) (ค.ศ. 410 - ค.ศ. 1066) อังกฤษสมัยแองโกล-แซกซันเป็นประวัติศาตร์ของต้นยุคกลางของอังกฤษkjhccgkoohhhhggjgfที่เริ่มตั้งแต่ปลายสมัยโรมันบริเตนจนมาถีงการก่อตั้งราชอาณาจักรต่าง ๆ ของแองโกล-แซกซัน ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 และมาสิ้นสุดลงเมื่อชาวนอร์มันได้รับชัยชนะต่ออังกฤษ ในปี ค.ศ. 1066 ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึง คริสต์ศตวรรษที่ 6 เป็นสมัยที่รู้จักกันทางโบราณคดีว่าบริเตนสมัยหลังโรมัน (Sub-Roman Britain) หรือที่รู้จักกันตามความนิยมว่า "ยุคมืด" (Dark Ages) ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 6 เป็นต้นมาก็เริ่มมีการก่อตั้งอาณาจักรที่ใหญ่ขึ้นที่เรียกกันรวม ๆ กันว่า "เจ็ดอาณาจักร" ในช่วงนี้อังกฤษแบ่งเขตการปกครองระหว่างอาณาจักรต่าง ๆ ของแองโกล-แซกซันและบริเตน การรุกรานของไวกิงในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8 นำมาซึ่งความเปลี่ยนแปลงหลายประการในบริเตน ผู้รุกรานชาวเดนมาร์กโจมตีที่ตั้งถิ่นฐานต่าง ๆ ไปทั่วบริเตน แต่การตั้งถิ่นฐานของชาวเดนมาร์กต่อมาจำกัดอยู่แต่เพียงในบริเวณทางด้านตะวันออกของเกาะอังกฤษ ขณะที่ผู้รุกรานจากนอร์เวย์ที่เข้ามาทางไอร์แลนด์โจมตีทางฝั่งตะวันตกของทั้งอังกฤษและเวลส์ แต่ในที่สุดแองโกล-แซกซันก็มีอำนาจในการปกครองไปทั่วทั้งเกาะอังกฤษสลับกับเดนมาร์กในบางช่วงในบางครั้ง ทางด้านความสัมพันธ์กับแผ่นดินใหญ่ยุโรปก็ความสำคัญมาจนกระทั่งปลายสมัยแองโกล-แซกซัน.

ใหม่!!: เดวอนและอังกฤษสมัยแองโกล-แซกซัน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารเอ็กซิเตอร์

อาสนวิหารเซนต์ปีเตอร์ที่เอ็กซิเตอร์ (Cathedral Church of Saint Peter at Exeter) หรือ อาสนวิหารเอ็กซิเตอร์ (Exeter Cathedral) เป็นอาสนวิหารแองกลิคันตั้งอยู่ที่เมืองเอ็กซีเตอร์ เทศมณฑลเดวอน ประเทศอังกฤษ เป็นที่ตั้งอาสนะของบิชอปแห่งเอ็กซิเตอร์ สิ่งก่อสร้างปัจจุบันสร้างเสร็จ เมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: เดวอนและอาสนวิหารเอ็กซิเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อิซาเบลลาแห่งอ็องกูแลม สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

อิซาเบลลาแห่งอ็องกูแลม (ภาษาอังกฤษ: Isabella of Angoulême, ภาษาฝรั่งเศส: Isabelle d'Angoulême; ค.ศ. 1186/1188 – 4 มิถุนายน ค.ศ. 1246) เป็นพระราชินีคู่สมรสแห่งอังกฤษในฐานะพระมเหสีคนที่สองของพระเจ้าจอห์น ตั้งแต..

ใหม่!!: เดวอนและอิซาเบลลาแห่งอ็องกูแลม สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ

อห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ (John Churchill, 1st Duke of Marlborough) เป็นแม่ทัพและรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้รับราชการในพระเจ้าแผ่นดิน 5 พระองค์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึง 18 เขาเป็นแม่ทัพคนสำคัญในสงครามสืบราชบัลลังก์สเปน ซึ่งทำให้อังกฤษได้เข้าครอบครองช่องแคบยิบรอลตาร์และเกาะมินอร์กา จอห์น เชอร์ชิลเริ่มขีวิตการทำงานด้วยการเป็นมหาดเล็กในราชสำนักของราชวงศ์สจวตในราชอาณาจักรอังกฤษ แต่ความเก่งกล้าสามารถในสนามรบทำให้ได้รับการเลื่อนตำแหน่งขึ้นอย่างรวดเร็วจากเจ้าชายเจมส์ ดยุกแห่งยอร์ค เมื่อเจ้าชายเจมส์ขึ้นครองราชบัลลังก์ในปี ค.ศ. 1685 เป็นพระเจ้าเจมส์ที่ 2 เชอร์ชิลได้มีบทบาทสำคัญในการพ่ายแพ้ของการกบฏที่นำโดยเจมส์ สกอตต์ ดยุกแห่งมอนม็อธที่ 1 แต่สามปีต่อมาจอห์น เชอร์ชิลได้ละทิ้งพระเจ้าเจมส์ที่ 2 ผู้เปลี่ยนไปนับถือนิกายโรมันคาทอลิกไปเข้าข้างพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 ผู้เป็นโปรแตสแตนท์ ในพระราชพิธีราชาภิเษกจอห์น เชอร์ชิลได้รับแต่งตั้งให้เป็น “เอิร์ลแห่งมาร์ลบะระ” และได้รับราชการมีผลงานดีเด่นในราชอาณาจักรไอร์แลนด์ และฟลานเดอร์สระหว่างสงครามเก้าปี แต่ความสัมพันธ์ระหว่างลอร์ดแห่งมาร์ลบะระและภรรยาซาราห์ กับพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 และ สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 ตลอดรัชสมัยของทั้งสองพระองค์ไม่ค่อยดีนัก หลังจากที่ถูกกล่าวหาว่ามีส่วนสมรู้ร่วมคิดกับอดีตพระเจ้าแผ่นดิน ลอร์ดมาร์ลบะระก็ถูกปลดจากตำแหน่งทุกตำแหน่งทั้งการทหารและพลเรือนและถูกจำคุกที่หอคอยลอนดอนอยู่ชั่วระยะหนึ่ง หลังจากพระราชินีนาถแมรีที่ 2 สวรรคตและอังกฤษเผชิญกับสงครามที่เกิดขึ้นในยุโรป ลอร์ดมาร์ลบะระจึงได้กลับมาเป็นคนโปรดอีกครั้งหนึ่ง ลอร์ดมาร์ลบะระมีอิทธิพลในราชสำนักมากที่สุดในรัชการของพระราชินีนาถแอนน์ผู้เป็นสหายสนิทของซาราห์ และได้รับแต่งตั้งให้เป็น “ผู้บัญชาการทหารสูงสุด” (Captain-General) ของกองทัพอังกฤษ แต่ต่อมาได้รับเลื่อนขึ้นเป็นดยุก ดยุกแห่งมาร์ลบะระมีชื่อเสียงจากการต่อสู้ในสงครามสืบราชบัลลังก์สเปนในยุทธการเบล็นไฮม์ (Battle of Blenheim) ยุทธการรามิลีส์ (Battle of Ramillies) และ ยุทธการอูเดนาร์ด (Battle of Oudenarde) แต่เมื่อซาราห์ไม่ได้กลายเป็นสหายสนิทของพระราชินีนาถแอนน์และพรรคทอรี จึงต้องมีการสงบศึกกับฝรั่งเศสซึ่งทำให้ดยุกแห่งมาร์ลบะระหมดอำนาจลง ดยุกแห่งมาร์ลบะระถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกงจึงถูกปลดจากตำแหน่งทุกตำแหน่งทั้งการทหารและพลเรือนอีกครั้งหนี่ง แต่ก็มารุ่งเรืองขึ้นอีกเมื่อพระเจ้าจอร์จที่ 1 ขึ้นครองราชย์ในปี ค.ศ. 1714 แต่สุขภาพของดยุกได้เริ่มเสื่อมโทรมลง หลังจากการอุดตันของเส้นโลหิตที่ไปเลี้ยงสมองเกิดขึ้นสองสามครั้ง ในที่สุดก็เสียชีวิตที่บ้านวินด์เซอร์เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน ค.ศ. 1722.

ใหม่!!: เดวอนและจอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เบาว์ริง

ซอร์จอห์น เบาว์ริง (Sir John Bowring; 17 ตุลาคม พ.ศ. 2335 – 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2415) เป็นเจ้าเมืองฮ่องกง (ค.ศ. 1848-1857) พ่อค้า นักการทูต นักเศรษฐศาสตร์การเมือง นักการศาสนา นักแต่งเพลงสวด กวี นักประพันธ์ บรรณาธิการ และนักภาษาศาสตร์ (โดยรู้ถึง 10 ภาษาหลัก ๆ ทั้งหมด ในยุโรป รวมทั้งภาษาจีน) ตลอดจนถึงเป็นราชทูตที่ได้รับการแต่งตั้งจาก สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งอังกฤษ เพื่อเข้ามาเจริญพระราชไมตรีและเจรจาทำสนธิสัญญากับราชสำนักไทย ในปี พ.ศ. 2398 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในที่สุดก็มีการลงนามในสนธิสัญญาเบาริง เมื่อวันที่ 18 เมษายนปีเดียวกัน สนธิสัญญาฉบับนี้มีผลให้สยามต้องเสียอำนาจอธิปไตยทางการศาลและคนในบังคับอังกฤษมีสิทธิสภาพนอกอาณาเขตในสยาม นอกจากนี้ สนธิสัญญาดังกล่าวเป็นการเปิดการค้าเสรีกับต่างประเทศ ถือเป็นการสิ้นสุดของการผูกขาดการค้ากับต่างประเทศโดยกรมพระคลังสินค้าของสยาม สนธิสัญญานี้มีผลใช้บังคับอยู่นานกว่า 70 ปี ท้ายที่สุดสมัยปลายรัชกาลที่ 4 และต้นรัชกาลที่ 5 ท่านได้รับแต่งตั้งเป็นอัครราชทูตไทยประจำกรุงลอนดอนและทวีปยุโรป ถือได้ว่าเป็น “ตัวแทนประจำคนแรกของไทย” ก็ว่าได้ มีบรรดาศักดิ์เป็น “พระยาสยามมานุกูลกิจ สยามมิตรมหายศ”.

ใหม่!!: เดวอนและจอห์น เบาว์ริง · ดูเพิ่มเติม »

จุดผลิตน้ำมันสูงสุด

กราฟแสดงการผลิตน้ำมันโลก ทั้งข้อมูลตามประวัติและข้อมูลอนาคตตามที่คาดหมาย และตามที่เสนอโดยนักธรณีวิทยา ดร. คิง ฮับเบิร์ต ได้ถึงจุดสูงสุดที่ 1.5 ล้านล้านลิตร (12,500 ล้านบาร์เรล) ต่อปีที่ประมาณปี ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543) การผลิตน้ำมันดิบของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งแสดงลักษณะคล้ายคลึงกับเส้นโค้งฮับเบิร์ต (Hubbert curve) แต่ให้สังเกตความแตกต่างที่เกิดขึ้นเมื่อไม่กีปีมานี้ จุดผลิตน้ำมันสูงสุด (Peak oil) เป็นเหตุการณ์ตามทฤษฎีจุดสูงสุดฮับเบิร์ต (Hubbert peak theory) ของ ดร.

ใหม่!!: เดวอนและจุดผลิตน้ำมันสูงสุด · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเคลติก

แผนที่บริเวณทะเลเคลติก, มหาสมุทรแอตแลนติก และบริเวณใกล้เคียง ทะเลเคลติก (Celtic Sea; An Mhuir Cheilteach; Y Môr Celtaidd; An Mor Keltek; Ar Mor Keltiek; La mer Celtique) เป็นบริเวณพื้นที่มหาสมุทรแอตแลนติก ทางตอนใต้ของชายฝั่งไอร์แลนด์ไปทางทิศตะวันออกจรดช่องแคบเซ็นต์จอร์จ ช่องแคบบริสตอล ช่องแคบอังกฤษ และอ่าวบิสเคย์ พื้นที่ชายฝั่งส่วนหนึ่งอยู่ในเขตของเวลส์ มณฑลคอร์นวอลล์, เดวอนของอังกฤษ และบริททานีของฝรั่งเศส ทางทิตใต้และทิศตะวันตกจรดแนวไหล่ทวีป.

ใหม่!!: เดวอนและทะเลเคลติก · ดูเพิ่มเติม »

ดอร์เซต

อร์เซ็ท (Dorset) เป็นเทศมณฑลในประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร ที่มีฐานะเป็นเทศมณฑลพิธีที่ไม่ใช่มหานคร ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ มีอาณาเขตนติดกับเดวอนทางด้านตะวันตก ซัมเมอร์เซตทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือ วิลต์เชอร์ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือ และแฮมป์เชอร์ทางตะวันออก ดอร์เซ็ทแบ่งการปกครองเป็นห้าแขวง: เวย์มัธและพอร์ทแลนด์, เวสต์ดอร์เซ็ท, นอร์ธดอร์เซ็ท, เพอร์เบ็ค, อีสต์ดอร์เซ็ท, ไครสต์เชิร์ช, บอร์นมัธ, และพูลโดยมีดอร์เชสเตอร์เป็นเมืองหลวงของมณฑล ดอร์เซ็ทมีเนื้อที่ 2653 ตารางกิโลเมตร และมีประชาชนรวมทั้งสิ้นประมาณ 708,100 คน (ค.ศ.) ถัวเฉลี่ย 265 คนต่อหนึ่งตารางกิโลเมตร ดินแดนส่วนใหญ่เป็นชนบทประชากรส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ริมทะเล ชื่อเสียงของดอร์เซ็ทอยู่ที่ฝั่งทะเลเจอราสสิคซึ่งได้รับการประกาศให้เป็นมรดกโลกที่ประกอบด้วยลัลเวิร์ธโคฟว์ (Lulworth Cove), ไอล์ออฟพอร์ตแลนด์ (Isle of Portland), หาดเชสซิล (Chesil Beach) และเดอร์เดิลดอร์ (Durdle Door) และเมืองชายทะเลบอร์นมัธ, พูล, เวย์มัธ, สวอนเนจ และไลม์รีจิส นอกจากนั้นดอร์เซ็ทก็ใช้เป็นฉากในนวนิยายหลายเรื่องโดยนักประพันธ์คนสำคัญของอังกฤษทอมัส ฮาร์ดี (Thomas Hardy) ผู้เกิดที่เมืองดอร์เชสเตอร์ ดอร์เซ็ทเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของผู้คนมาตั้งแต่โบราณที่จะเห็นได้จากหลักฐานทางโบราณคดีเช่น ป้อมเนิน (ไม่ใช่เนินป้อม hill fort) ที่เมดเด็นคาสเซิล และฮอดฮิลล.

ใหม่!!: เดวอนและดอร์เซต · ดูเพิ่มเติม »

คริส มาร์ติน

ริสโตเฟอร์ แอนโทนี จอห์น มาร์ติน หรือ คริส มาร์ติน เกิดวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1977 เป็นนักร้อง-นักแต่งเพลงชาวอังกฤษ และมีฐานะเป็นนักร้องนำแห่งวงโคลด์เพลย์ วงอัลเทอร์เนทีฟร็อกจากประเทศอังกฤษ คริส มาร์ติน เกิดที่ เอ็กซิเตอร์ เดวอน ประเทศอังกฤษ บิดาเป็นนักบัญชี ส่วนมารดาเป็นครูสอนดนตรีthebiographychannel.co.uk มาร์ตินเข้าร่วมวงดนตรีครั้งแรกตั้งแต่ยังเรียนอยู่มัธยม เขาและเพื่อนร่วมกันตั้งวงดนตรีในชื่อ The Rockin' Honkies ในปี ค.ศ. 1997 ระหว่างที่มาร์ตินกำลังศึกษาอยู่ที่ยูนิเวอร์ซิตี้คอลเลจลอนดอน เขาและเพื่อนร่วมวงโคลด์เพลย์ในปัจจุบันได้แก่ จอนนี บั๊คแลนด์, วิล แชมป์เปียน และกาย เบอร์รีแมนได้เริ่มฟอร์มวงกัน จนกระทั่ง โคลด์เพลย์ได้ออกอัลบั้มแรกชื่อ Parachutes ในปี ค.ศ. 2000 ซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอย่างดีด้วยยอดจำหน่ายกว่า 5 ล้านชุด และรางวัลต่างๆ รวมไปถึง รางวัลแกรมมี สาขาอัลบั้มอัลเทอร์เนทีฟยอดเยี่ยม อัลบั้มต่อๆมาของโคลด์เพลย์ อย่าง A Rush of Blood to the Head, X&Y, และ Viva la Vida or Death and All His Friends ก็ประสบความสำเร็จเป็นอย่างดีเช่นกัน ด้านชีวิตส่วนตัว มาร์ตินเคยสมรสกับ กวินเน็ธ พัลโทรว์ นักแสดงสาวชาวอเมริกันในปี ค.ศ. 2003 ทั้งคู่มีบุตรด้วยกัน 2 คน บุตรสาวคนโต ชื่อว่า แอปเปิ้ล บลายธ์ อลิสัน มาร์ติน (เกิด 14 พฤษภาคม ค.ศ. 2004) และบุตรชายคนเล็กชื่อ โมเสส บรูซ แอนโทนี มาร์ติน (เกิด 8 เมษายน ค.ศ. 2006) ในช่วงที่มาร์ตินใช้ชีวิตคู่พัลโทรว์นั้น ได้ประพฤติตนเป็นมังสวิรัติ และเล่นโยคะเป็นประจำ นอกจากนี้ เขายังไม่ดื่มแอลกอฮอล์ และไม่สูบบุหรี่อีกด้วย ด้านกีฬา คริส มาร์ตินเป็นแฟนบอลผู้สนับสนุนของสโมสรฟุตบอลเอ็กซิเตอร์ซิตี ซึ่งเป็นสโมสรฟุตบอลประจำบ้านเกิดที่เมืองเอ็กซิเตอร์ – NME News.

ใหม่!!: เดวอนและคริส มาร์ติน · ดูเพิ่มเติม »

คฤหาสน์ไนท์เฮย์ส

หาสน์ไนท์เฮย์ส (Knightshayes Court) เป็นคฤหาสน์ชนบทสมัยวิคตอเรียขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ใกล้ทิเวอร์ทันในมณฑลเดวอนในสหราชอาณาจักร “คฤหาสน์ไนท์เฮย์ส” ที่ออกแบบโดยวิลเลียม เบิร์กสสำหรับตระกูลฮีธโคท-อาร์มอรี เป็นสิ่งก่อสร้างสิ่งก่อสร้างภายใต้การพิทักษ์ ระดับ 1 ในปัจจุบันเป็นขององค์การอนุรักษ์แห่งชาติแห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: เดวอนและคฤหาสน์ไนท์เฮย์ส · ดูเพิ่มเติม »

คอร์นวอลล์

อร์นวอลล์ (Cornwall) หรือ แคร์นอว์ (Kernow) เป็นเทศมณฑลแห่งหนึ่งของประเทศอังกฤษภายในสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ทางปลายแหลมด้านตะวันตกเฉียงใต้ของสหราชอาณาจักร ทางด้านเหนือและด้านตะวันตกจรดทะเลเคลติก ทางด้านใต้จรดช่องแคบอังกฤษ ด้านตะวันออกติดกับเทศมณฑลเดวอนโดยมีแม่น้ำเทมาร์เป็นเส้นแบ่งเขต คอร์นวอลล์มีประชากรรวมทั้งสิ้นประมาณ 526,300 คน ในเนื้อที่ 3,563 ตารางกิโลเมตร ศูนย์กลางการปกครองตั้งอยู่ที่เมืองทรูโร ดินแดนบริเวณคอร์นวอลล์เดิมเป็นที่ตั้งหลักแหล่งของชนยุคหินจากนั้นก็เป็นชนยุคสำริดและต่อมาในสมัยยุคเหล็กโดยชาวเคลต์ คอร์นวอลล์เป็นส่วนหนึ่งของบริเวณที่พูดภาษากลุ่มบริทอนิก (Brythonic languages) ที่ตัดขาดจากกลุ่มชนที่พูดภาษากลุ่มเดียวกันในเวลส์หลังจากยุทธการเดอรัม (Battle of Deorham) โดยมักขัดแย้งกับชาวแซกซันแห่งราชอาณาจักรเวสเซกซ์ที่พยายามขยายดินแดนเข้ามา ก่อนที่พระเจ้าแอเทลสตันจะกำหนดเขตแดนระหว่างชาวอังกฤษกับชาวคอร์นิชโดยใช้แม่น้ำทามาร์ คอร์นวอลล์รวมกับอังกฤษเมื่อใดไม่มีหลักฐานแน่นอน แต่การใช้ภาษาคอร์นิชยังคงใช้กันต่อมาจนคริสต์ศตวรรษที่ 18 การฟื้นฟูการใช้ภาษาคอร์นิชอีกครั้งมาเริ่มต้นขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษ 20 และเพิ่มความนิยมมากขึ้นในคริสต์ทศวรรษที่ผ่านมา ในปัจจุบันคอร์นวอลล์ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจเนื่องจากอุตสาหกรรมเหมืองดีบุกและอุตสาหกรรมการประมงเสื่อมโทรมลงและต้องหันมาพึ่งพาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นหลัก ดินแดนคอร์นวอลล์มีชื่อในทางที่มีภูมิทัศน์เป็นดินแดนสูงที่เป็นทุ่งที่มีแต่พืชพรรณเตี้ย ๆ เติบโตอยู่ที่เรียกว่า "ทุ่งมัวร์" (Moorland) และชายฝั่งทะเลที่น่าดูและอากาศที่อุ่นกว่าบริเวณอื่นของอังกฤษ.

ใหม่!!: เดวอนและคอร์นวอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ซัมเมอร์เซต

ซัมเมอร์เซต (ภาษาอังกฤษ: Somerset) เป็นมณฑลในอังกฤษในสหราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหราชอาณาจักร มณฑลภูมิศาสตร์ซัมเมอร์เซตมีเขตแดนติดกับบริสตอล และมณฑลกลอสเตอร์เชอร์ทางเหนือ, มณฑลวิลท์เชอร์ ทางตะวันออก, มณฑลดอร์เซตทางตะวันออกเฉียงใต้, และมณฑลเดวอนทางตะวันตกเฉียงใต้ ด้านเหนือและตะวันตกบางส่วนติดกับฝั่งทะเลของช่องแคบบริสตอลและปากน้ำ (estuary) ของแม่น้ำเซเวิร์น ตามธรรมเนียมทางเหนือของมณฑลเป็นแม่น้ำเอวอนแต่เขตการปกครองเลื่อนไปทางใต้เมื่อนครบริสตอลและอดีตมณฑลเอวอนและต่อมารัฐบาลท้องถิ่นระดับเดียวขยายเขตการปกครองทางเหนือของมณฑล ซัมเมอร์เซตเป็นมณฑลชนบทที่มีภูมิประเทศเป็นเนินสูงๆ ต่ำๆ เช่นเม็นดิพฮิลล์ส, ควานต็อคฮิลล์ส และอุทยานแห่งชาติเอ็กซ์มัวร์ และดินแดนที่กว้างไกลที่รวมทั้งซัมเมอร์เซตเลเวลส์ ซัมเมอร์เซตมีหลักฐานว่ามีผู้มาตั้งถิ่นฐานตั้งแต่ยุคหินใหม่และต่อมาในสมัยโรมัน และแซ็กซอน ต่อมาซัมเมอร์เซตก็มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ที่รวมทั้งการรวบรวมอำนาจของสมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช, สงครามกลางเมืองอังกฤษ และการปฏิวัติมอนม็อธ (Monmouth Rebellion) การเกษตรกรรมเป็นธุรกิจหลักของมณฑลที่รวมทั้งการเลี้ยงแกะและวัว ที่ใช้ในการทำขนแกะและเนยแข็ง นอกจากนั้นก็มีการตัดวิลโลว์สำหรับสานตะกร้า การทำสวนแอปเปิลครั้งหนึ่งเคยทำกันเป็นอุตสาหกรรมแต่ในปัจจุบันซัมเมอร์เซตก็ยังมีชื่อเสียงในการทำไซเดอร์ (cider) สถิติผู้ว่างงานโดยถัวเฉลี่ยน้อยกว่าระดับชาติ การรับจ้างที่สูงที่สุดอยู่ในการค้าขาย, การผลิต, การท่องเที่ยว, และการสุขภาพและการสังคมสงเคราะห์ การขยายตัวของจำนวนประชากรโดยถัวเฉลี่ยสูงกว่าระดับชาติ ซัมเมอร์เซตแบ่งการปกครองเป็นเจ็ดแขวง: เซาท์ซัมเมอร์เซต, ทอนทันดีน, เวสต์ซัมเมอร์เซต, เซจมัวร์, เม็นดิพ, บาธและนอร์ธอีสต์ซัมเมอร์เซต, นอร์ธซัมเมอร์เซต โดยมีทอนทันเป็นเมืองหลวงของมณฑล ซัมเมอร์เซตมีประชาชนรวมทั้งสิ้นประมาณ 905,700 คน ในเนื้อที่ 4,171 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: เดวอนและซัมเมอร์เซต · ดูเพิ่มเติม »

ประตูปีศาจ

รอดเฮ็มพสตันในเดวอนในอังกฤษ Worth, West Sussex, has a Devil's door ประตูปีศาจ (Devil's door) เป็นส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้างของคริสต์ศาสนสถานที่เป็นประตูบนผนังด้านเหนือของตัวสิ่งก่อสร้างของสถาปัตยกรรมยุคกลาง และคริสต์ศาสนสถานที่สร้างก่อนหน้านั้นในสหราชอาณาจักร ประตูปีศาจนิยมสร้างกันในสมัยโบราณในมณฑล ซัสเซ็กซ์ที่มีวัดที่มีประตูปีศาจด้วยกันกว่า 40 วัด องค์ประกอบดังว่านี้มีต้นตอมาจากสมัยคริสเตียนยุคแรก เมื่อการสักการะตามวัฒนธรรมก่อนคริสเตียนยังคงนิยมปฏิบัติกันอยู่ และประตูดังกล่าวก็มักจะเป็นเพียงโครงสร้างที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์เท่านั้น แต่ก็มีบางครั้งก็จะเป็นทางเข้าจริง.

ใหม่!!: เดวอนและประตูปีศาจ · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ รีด

ปีเตอร์ รีด ผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวอังกฤษ และเคยเป็นนักเตะทีมชาติ สมัยเป็นนักเตะเคยเล่นให้สโมสรโบลตัน วันเดอเรอร์ส,เอฟเวอร์ตัน,ควีนส์ปาร์ค เรนเจอร์ส,แมนเชสเตอร์ ซิตี้ เซาธ์แฮมป์ตัน,น็อตต์ส เคาน์ตี้และสโมสรบิวรี่ หลังจากแขวนสตั๊ดเคยทำหน้าที่ผู้จัดการทีมให้ทีมชาติอังกฤษชุดอายุไม่เกิน 21 ปี ซันเดอร์แลนด์ ลีดส์ ยูไนเต็ด และโคเวนทรี อดีตหัวหน้าผู้ฝึกสอนฟุตบอลทีมชาติไทย ปัจจุบันเป็นผู้จัดการทีมพลิมัธ อาร์กายล์ ในลีกวัน ประเทศอังกฤษ.

ใหม่!!: เดวอนและปีเตอร์ รีด · ดูเพิ่มเติม »

นอร์แมน ล็อกเยอร์

ซอร์ โจเซฟ นอร์แมน ล็อกเยอร์ (Joseph Norman Lockyer; 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1836 – 16 สิงหาคม ค.ศ. 1920) เป็นนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษ เกิดที่เมืองรักบี้ หลังเรียนจบจากสวิตเซอร์แลนด์และฝรั่งเศส ล็อกเยอร์รับราชการที่สำนักการสงคราม และย้ายไปที่เมืองวิมเบิลดันหลังแต่งงานกับวินิเฟรด เจมส์ ล็อกเยอร์เป็นนักดาราศาสตร์สมัครเล่นที่สนใจในดวงอาทิตย์ ในปี..

ใหม่!!: เดวอนและนอร์แมน ล็อกเยอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนโยธินบูรณะ

อาคารโรงเรียนโยธินบูรณะแห่งใหม่ ซึ่งสร้างเป็นอาคารรูปทรงกรวย สูง 12 ชั้น ซึ่งทางโรงเรียนได้ย้ายการเรียนการสอนเมื่อวันจันทร์ที่ 16 พฤษภาคม 2559 อาคารสิรินธร โรงเรียนโยธินบูรณะเดิม ก่อนย้ายการเรียนการสอนไปยังโรงเรียนแห่งใหม่ โรงเรียนโยธินบูรณะ เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 1313 ถนนประชาราษฎร์ สาย 1 แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 ก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: เดวอนและโรงเรียนโยธินบูรณะ · ดูเพิ่มเติม »

โอลด์อิงลิชชีปด็อก

อลด์อิงลิชชีปด็อก โอลด์อิงลิชชีปด็อก (Old English Sheepdog) สุนัขพันธุ์ใหญ่หางยาวสีเทาและลำตัวมีขนสีขาวเป็นพันธุ์ใหญ่ของสุนัขที่พัฒนามาในประเทศอังกฤษ สุนัขพันธุ์นี้มีขนยาวมาก ปกคลุมทั้งใบหน้าและดวงตา ชื่อเล่นของมันคือบอบเทล์ ซึ่งเรียกมาจากการตัดหางสุนัขแบบหางเรือที่นิยมกันแต่ก่อน พันธุ์นี้ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นสุนัขที่ใช้ในโฆษณาสีทาบ้านของดูลักซ์ ทำให้เป็นที่รู้จักกันมากในปัจจุบัน สุนัขพันธุ์นี้มีขนปุกปุย หนา ยาวเหมือนเสื้อโค๊ทเป็นเอกลักษณ์ สมัยก่อนที่นิยมแต่งหางสุนัขพันธุ์นี้ให้กลมแล้ว ยิ่งทำให้มันเหมือนหมีแพนด้ามาก แต่ในบางสายพันธุ์ก็ถูกพัฒนาให้มีหางที่เป็นบ๊อบธรรมชาติ โดยไม่ต้องตกแต่ง ท่าทางของโอลด์อิงลิชชีพด็อกจะยืนตัวตกลง ตอนมันยืน หางก็จะตกต่ำลงกว่าสะโพก ทำให้บางครั้งขนที่ยาวมากส่วนหางจะตกลงด้วย ขนาดตัวของสุนัขพันธุ์นี้จะสูงประมาณ 61 เซนติเมตร หรือประมาญ 2 ฟุต โดยที่ตัวเมียจะตัวเล็กกว่าตัวผู้ น้ำหนักโดยเฉลี่ยจะอยู่ที่ประมาณ 46 กิโลกรัมสำหรับตัวผู้โตเต็มวัย สีขนของโอลด์อิงลิชชีปด็อกจะเป็นสองสีปนกันระหว่างสีขาวกับสีเทา บางครั้งก็จะมีสีเทาออกฟ้าแซมอยู่เล็กน้อย แต่จะเป็นขาวส่วนใหญ่ ขนชั้นในจะทำหน้าที่กันความชื้น โดยลูกสุนัขเกิดใหม่จะมีสีดำและขาว แล้วจากนั้นสีก็จะเป็นจางลงเมื่อโตขึ้น เรื่องหางของเจ้าโอลด์อิงลิชชีปด็อก ได้เป็นที่ถกเถียงมากในประเทศต่างๆ ว่าควรจะตัดหรือไม่ โดยบางประเทศที่เก่าแก่ ได้มีการคัดค้านเรื่องการตัดหางสุนัข หรือบางประเทศเช่นอเมริกา มีการตั้งมาตรฐานว่าควรจะตัดหางสันัขห่างจากตัวมากเท่าใด เมื่อสุนัขพันธุ์นี้ไม่ได้เกิดมามีหางสั้นแต่กำเนิด โดยเชื่อว่าประเพณีการตัดหางนี้มีมาแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 จากกฎหมายกำหนดลักษณะของสัตว์ที่นำมาใช้แรงงาน เพื่อให้มีลักษณะคล่องตัวกับการทำงานมากที่สุด สุนัขพันธุ์นี้ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่ามีถิ่นกำเนิดในประเทศใด แต่ได้รับการพัฒนาขึ้นทางฝั่งตะวันตกของประเทศอังกฤษบริเวณเดวอน, ซัมเมอร์เซ็ท และ ดัชชี เป็นต้น ปรากฏให้เห็นในครั้งแรกจากภาพวาดตั้งแต่สมัย ค.ศ. 1771 และสมัย ค.ศ. 1800 ทางฝั่งเมื่อตะวันตกเก่าแก่ของประเทศอังกฤษ ปรากฏในรูปของสุนัขพันธุ์แบร์เดดคอลลี ซึ่งเชื่อว่า ต่อมาได้ถูกพัฒนาสายพันธุ์กับรัสเซียนโอฟท์ชาร์คา เพื่อให้ได้ขนแบบที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ต่อมาได้มีการจัดแสดงนิทรรศการเกี่ยวกันสุนัขพันธุ์นี้ในเบอร์มิงแฮม ประเทศอังกฤษ แต่เรียกกันในนามชาเพิร์ดสด็อก ค.ศ. 1873 แต่ในตอนนั้นสายพัน์ยังไม่เป็นที่ยอมรับนัก เนื่องจากคุณภาพของสุนัขยังไม่ดีพอ หลังจากนั้นจึงได้พัฒนาขนต่อโดยคงขนาดตัวไว้ จนเป็นที่รู้จักกว้างขวางในค.ศ. 1907 ก็ได้มีการส่งออกสายพันธุ์ไปยังสหรัฐอเมริกา จากข้อมูลของสัตวแพทย์ แสดงให้เห็นว่าอายุของโอลด์อิงลิชชีปด็อก จะอยุ่ที่ประมาน 6.9 ปี แต่ในบางประเทศก็สามารถบันทึกได้ถึง 11.19 ปี ในอเมริกามีองกรที่ทำหน้าที่รักษามาตรฐานสายพันธุ์ชื่อ The Old English Sheepdog Club of America sponsors มีการสนันสนุนการขยายพันธุ์และส่งเสริมการซื้อขายสุนัขพันธุ์นี้อีกด้วย โรคประจำของสายพันธุ์นี้ที่สำคัณสุดคือ มะเร็ง และโรคอื่นๆได้แก่ ไทรอยด์ โรคผิวหนังอักเสบ โรคพยาธิในตับ HD, PRA โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง รวมถึงโรคทั่วใบของสุนัขขนหนา เมื่อซื้อขายลูกสุนัขก็ควรตรวจสอบโรคที่มีมาแต่กำเนิดให้ละเอียด ส่วนสำหรับสุนัขชรา ขนยาวที่ปรกตาก็เป็นอันตรายจ่อการมองเห็นของสุนัขเช่นกัน ต้องหมั่นรักษาความสะอาดของขนสุนัขเพื่อหลีกเลี่ยงโรคผิวหนัง และหมั่นทำความสะอาดบริเวณตาอยู่เสมอ หมวดหมู่:พันธุ์สุนัข.

ใหม่!!: เดวอนและโอลด์อิงลิชชีปด็อก · ดูเพิ่มเติม »

โจชัว เรย์โนลส์

ซอร์โจชัว เรย์โนลส์ (ภาษาอังกฤษ: Joshua Reynolds, RA FRS FRSA) (16 กรกฎาคม ค.ศ. 1723 - 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1792) เป็นจิตรกรชาวอังกฤษของสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเขียนสีน้ำมัน และภาพเหมือน โจชัว เรย์โนลส์เกิดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1723 ที่เมืองพลิมตันในเดวอนในอังกฤษ และเสียชีวิตเมื่อราววันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1792 ที่เมืองลอนดอนในอังกฤษ เรย์โนลด์เป็นผู้สนับสนุนการเขียนที่เรียกว่า “Grand Style” ที่เป็นการเขียนที่สร้างภาพอุดมคติจากสิ่งที่ไม่ถูกต้องสมบูรณ์แบบ เรย์โนลด์เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งและเป็นผู้อำนวยการของราชสถาบันศิลปะ เรย์โนลด์ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นเซอร์จากพระเจ้าจอร์จที่ 3.

ใหม่!!: เดวอนและโจชัว เรย์โนลส์ · ดูเพิ่มเติม »

โจเอล เรดแมน

อล เพตตีเฟอร์ (Joel Pettyfer) เกิด 21 กุมภาพัน..

ใหม่!!: เดวอนและโจเอล เรดแมน · ดูเพิ่มเติม »

ไอแซก ซิงเกอร์

ียนไอแซก เมอร์ริต ซิงเกอร์ โดยเอดเวิร์ด แฮริสัน เมย์ ไอแซก เมอร์ริต ซิงเกอร์ (Isaac Merritt Singer - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2354 - 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2418) นักประดิษฐ์ นักแสดงและผู้ประกอบการชาวอเมริกัน ผู้ทำการออกแบบปรับปรุงส่วนสำคัญของจักรเย็บผ้าและเป็นผู้ก่อตั้งบริษัทซิงเกอร์จักรเย็บผ้.

ใหม่!!: เดวอนและไอแซก ซิงเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองซ่อนบาป

250px เมืองซ่อนบาป (Broadchurch) เป็นภาพยนตร์ชุดสืบเนื่องแนวชีวิตและสืบสวนซึ่งออกอากาศครั้งแรกทางเครือข่ายไอทีวีในสหราชอาณาจักร ได้รับการสร้างและเขียนบทโดยคริส ชิบนัลล์ และผลิตโดยคิวดอสฟิล์มแอนด์เทลิวิชัน, ไชน์อเมริกา และอิแมจินารีเฟรนส์ ภาพยนตร์ชุดที่ 1 (ซึ่งออกอากาศเมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2556) มีเนื้อเรื่องเน้นไปที่การเสียชีวิตของเด็กชายวัย 11 ปีคนหนึ่ง และผลกระทบจากความโศกเศร้า ความระแวงสงสัยต่อกัน และความสนใจของสื่อมวลชน ภาพยนตร์ชุดที่ 2 เริ่มถ่ายทำในปลายเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: เดวอนและเมืองซ่อนบาป · ดูเพิ่มเติม »

เรือนส้ม

รือนส้ม (Orangery) คือสิ่งก่อสร้างที่มักจะพบภายในบริเวณเนื้อที่ของคฤหาสน์หรือวังใหญ่โตของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึง 19 ที่เป็นการเสริมสร้างให้สิ่งก่อสร้างทั้งหมดมีลักษณะเป็นแบบคลาสสิก เรือนส้มมีลักษณะคล้ายกับเรือนกระจก หรือ เรือนคอนเซอเวอทรี (Conservatory) ชื่อของสิ่งก่อสร้างสะท้อนถึงที่มาที่เดิมเป็นสิ่งก่อสร้างใช้เป็นเรือนสำหรับปลูกพืชตระกูลส้ม ที่มักจะปลูกในกระถางที่จะเลื่อนเข้ามาเก็บไว้ในเรือนในช่วงฤดูหนาวเพื่อให้รอดจากความหนาวเย็นและการแข็งตัวจากภาวะอากาศภายนอก และก็มิได้หวังที่จะได้ดอกหรือผล เรือนส้มเป็นเรือนที่ช่วยยืดการมีพรรณไม้นอกฤดูของเวลาที่ปกติแล้วภายนอกจะมีก็แต่ต้นไม้ที่ปราศจากใบ เพราะไม้ภายในเรือนจะได้รับการปกป้องจากภาวะอากาศและยังคงมีความอบอุ่นที่ได้รับจากกำแพงที่ทำด้วยอิฐที่อมความร้อน ร้อยปีหลังจากที่มีการปลูกต้นส้ม และ มะนาว ก็เริ่มมีการปลูกพันธุ์ไม้ชนิดอื่นที่ไม่สามารถทนอากาศในฤดูหนาวภายนอกได้ที่รวมทั้งไม้พุ่ม และ ไม้ต่างแดน (Exotic plants) กันในเรือนส้ม ที่มีการใช้เตาทำความร้อนเพื่อสร้างความอบอุ่นภายในเรือนระหว่างฤดูหนาวที่มีอากาศเยือกเย็นทางตอนเหนือของยุโรป เรือนส้มเริ่มขึ้นในสมัยการสร้างสวนเรอเนสซองซ์ในอิตาลี เมื่อเทคนิคการทำกระจกมีความก้าวหน้าขึ้นจนสามารถที่จะสร้างกระจกที่มีขนาดใหญ่และใสขึ้นกว่าเดิมได้ ทางตอนเหนือของยุโรปเนเธอร์แลนด์เป็นผู้นำในการวิวัฒนาการการสร้างกระจกขนาดใหญ่สำหรับสร้างหน้าต่าง/ผนังเรือนส้ม ภาพพิมพ์เรือนส้มในคู่มือของดัตช์แสดงภาพเรือนส้มที่มีหลังคาทึบทั้งแบบคานและโค้ง และจะมีเตาสำหรับทำความร้อน แทนที่จะเป็นการก่อกองไฟ ไม่นานนักเรือนส้มก็กลายเป็นสัญลักษณ์แสดงฐานะในบรรดาผู้มีฐานะมั่งคั่ง ส่วนหลังคากระจกของเรือนส้มที่ช่วยเพิ่มแสงแดดที่ส่องเข้ามาในอาคารเป็นวิวัฒนาการที่เกิดขึ้นเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เรือนส้มที่คฤหาสน์เดอแรมพาร์คในกลอสเตอร์เชอร์ที่เดิมสร้างราวปี..

ใหม่!!: เดวอนและเรือนส้ม · ดูเพิ่มเติม »

เอ็กซิเตอร์

อ็กซิเตอร์ (Exeter) เป็นนครและเมืองเอกของมณฑลเดวอนทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษ จากการสำรวจในปี..

ใหม่!!: เดวอนและเอ็กซิเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็กเบิร์ต กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์

อ็กเบิร์ต (ค.ศ.802-839) กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์และเป็นกษัตริย์แซ็กซันพระองค์แรกที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นกษัตริย์ของอังกฤษทั้งหมด พระองค์เป็นโอรสของขุนนางชาวเคนต์แต่อ้างว่าสืบเชื้อสายมาจากเซอร์ดิค (ครองราชย์ปีค.ศ.519-34) ผู้ก่อตั้งตระกูลเวสเซ็กซ์ อาณาจักรของชาวแซ็กซันตะวันตกทางตอนใต้ของอังกฤษ ช่วงปลายศตวรรษที่ 8 เมื่อพระเจ้าออฟฟ่าแห่งเมอร์เซีย (ครองราชย์ปีค.ศ.757-796) ปกครองอังกฤษส่วนใหญ่ เอ็กเบิร์ตถูกขับไล่ออกนอกประเทศไปอยู่ที่ราชสำนักของชาร์เลอมาญ เอ็กเบิร์ตกอบกู้อาณาจักรกลับคืนมาได้ในปี..802 พระองค์พิชิตอาณาจักรเพื่อนบ้าน เคนต์, คอร์นวอลล์ และเมอร์เซีย และในปี..830 พระองค์ยังเป็นที่ยอมรับในฐานะกษัตริย์ของอีสต์แองเกลีย, ซัสเซ็กซ์, เซอร์รีย์ และนอร์ธัมเบรีย และได้รับการถวายตำแหน่งเป็นเบร็ตวัลด้า (ภาษาแองโกลแซ็กซัน แปลว่าผู้ปกครองของชาวบริเตน) ในช่วงหลายปีต่อมาเอ็กเบิร์ตเป็นผู้นำในการเดินทางไปต่อต้านพวกเวลส์และพวกไวกิ้ง ปีก่อนที่พระองค์จะสวรรคต ทรงปราบกองกำลังร่วมระหว่างพวกเดนท์กับพวกคอร์นวอลล์ที่ฮิงสตันดาวน์ในคอร์นวอลล์ พระองค์ได้รับการสืบสันตติวงศ์โดยเอเธลวูล์ฟ พระราชบิดาของอัลเฟร.

ใหม่!!: เดวอนและเอ็กเบิร์ต กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดเวิร์ด วูด เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์

อ็ดเวิร์ด เฟรเดริก ลินเลย์ วูด เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์ (Edward Frederick Lindley Wood, 1st Earl of Halifax) เป็นหนึ่งในนักการเมืองอาวุโสที่สุดในพรรคอนุรักษนิยมของสหราชอาณาจักรในทศวรรษที่ 1930 เขาได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีหลายกระทรวง และยังได้เป็นอุปราชแห่งอินเดียระหว่าง..

ใหม่!!: เดวอนและเอ็ดเวิร์ด วูด เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลที่ไม่ใช่มหานคร

มณฑลนอกเมโทรโพลิตันของอังกฤษ หรือ มณฑลไชร์ (Non-metropolitan county หรือ Shire county) เป็นหนึ่งในระดับการปกครองมณฑลของอังกฤษที่ไม่ใช่อังกฤษมณฑลเมโทรโพลิตัน มณฑลเหล่านี้มักจะมีประชากรราว 300,000 ถึง 1.4 ล้านคน บางครั้ง “มณฑลนอกเมโทรโพลิตัน” ก็เรียกว่า “มณฑลไชร์” (Shire county) แต่เป็นการเรียกกันอย่างไม่เป็นทางการ มณฑลนอกเมโทรโพลิตันที่เป็นมณฑลเดิมในประวัติศาสตร์มักจะมีสร้อยต่อท้ายด้วย “-เชอร์” (shire) เช่นวิลท์เชอร์ หรือแลงคาสเชอร์ และบางมณฑลก็เคยมีสร้อยแต่มาหายไปภายหลังเช่นเดวอน อันที่จริงแล้ว “มณฑลไชร์” หรือ “ไชร์เคานตี้” เป็นประพจน์ซ้ำความ (Tautology) ซึ่งหมายความว่าทั้งสองคำมีความหมายเดียวกันแต่มักจะใช้ด้วยกัน: คำว่า “เคานตี้” (มณฑล) มาจากภาษาฝรั่งเศสและ “ไชร์” มาจากภาษาภาษาอังกฤษเก่า ทั้งสองคำหมายถึงเขตการปกครองระดับหนึ่ง.

ใหม่!!: เดวอนและเทศมณฑลที่ไม่ใช่มหานคร · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลที่เป็นมหานครและไม่ใช่มหานครของอังกฤษ

มณฑลเมโทรโพลิตันและมณฑลนอกเมโทรโพลิตันของอังกฤษ เป็นระดับการปกครองหนึ่งของสี่ระดับของระดับการปกครองของอังกฤษที่ใช้สำหรับรัฐบาลระดับท้องถิ่นนอกนครลอนดอนและปริมณฑล ตามความหมายเดิมมณฑลเมโทรโพลิตันและมณฑลนอกเมโทรโพลิตันแต่ละมณฑลประกอบด้วยกลุ่มอำเภอ (District), เมืองมณฑล และเป็นมณฑลผู้แทนพระองค์ (Ceremonial counties of England) แต่ต่อมาคำจำกัดความนี้ก็เปลี่ยนไปโดยกฎหมายระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1980 ถึงคริสต์ทศวรรษ 1990 ที่อนุญาตให้รวมมณฑลที่ไม่มีเทศบาลมณฑลและ “รัฐบาลท้องถิ่นระดับเดียว” ของตำบลเดียว มณฑลผู้แทนพระองค์ในปัจจุบันได้รับความหมายใหม่โดยพระราชบัญญัติมณฑลผู้แทนพระองค์ ค.ศ. 1997 (Lieutenancies Act 1997) ที่จำลองมาจากมณฑลเมโทรโพลิตันและมณฑลนอกเมโทรโพลิตัน และคาดกันว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองระดับท้องถิ่นอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: เดวอนและเทศมณฑลที่เป็นมหานครและไม่ใช่มหานครของอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลในประวัติศาสตร์อังกฤษ

มณฑลการปกครองของอังกฤษและเวลส์ในประวัติศาสตร์, แผนที่จากปี ค.ศ. 1824 มณฑลการปกครองของอังกฤษในประวัติศาสตร์ เป็นเขตการปกครองโบราณของอังกฤษ ที่ก่อตั้งโดยการบริหารของชนนอร์มันและในกรณีส่วนใหญ่จำลองมาจากเขตการปกครองราชอาณาจักรและไชร์ของแองโกล-แซ็กซอนก่อนหน้านั้น เขตการปกครองเหล่านั้มีประโยชน์ในการใช้สอยหลายอย่างมาเป็นเวลาหลายร้อยปีBryne, T., Local Government in Britain, (1994) และยังใช้เป็นพื้นฐานในการพิจารณาการจัดเขตการปกครองของรัฐบาลส่วนท้องถิ่นในสมัยปัจจุบันHer Majesty's Stationery Office, Aspects of Britain: Local Government, (1996)Hampton, W., Local Government and Urban Politics, (1991) มณฑลเหล่านี้บางครั้งก็รู้จักกันว่า “มณฑลโบราณ” (ancient counties).

ใหม่!!: เดวอนและเทศมณฑลในประวัติศาสตร์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เซาท์เวสต์อิงแลนด์

ตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ: South West England) เป็นหนึ่งในเก้าของภาคการปกครองของอังกฤษและโดยเนื้อที่แล้วเป็นบริเวณที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาเก้าบริเวณที่มีบริเวณตั้งแต่กลอสเตอร์เชอร์และวิลท์เชอร์ไปจนถึงคอร์นวอลล์และไอล์สออฟซิลลิย์ ภาคตะวันตกเฉียงใต้ครอบคลุมบริเวณที่เรียกว่าเวสต์คันทรี (West Country) และเวสเซ็กซ์ ภาคตะวันตกเฉียงใต้มีเนื้อที่ 23,829 ตารางกิโลเมตร โดยมีประชากรทั้งหมดประมาณ 4,928,458 คนและมีความหนาแน่นของประชากรเป็นจำนวน 207 ต่อหนึ่งตารางกิโลเมตร บริเวณนี้มีชื่อเสียงในการผลิตเนยแข็งชนิดที่เรียกกันว่าเช็ดดาร์ (Cheddar cheese) ที่เริ่มทำกันที่หมู่บ้านเช็ดดาร์, เดวอนมีชื่อเสียงในเรื่อง “Cream tea” ซึ่งเป็นการดื่มชานมกับการกิน “สโคน” (คล้ายมัฟฟินแต่ไม่หวาน) กับครีมข้น (clotted cream) และแยมผลไม้ และในเรื่องไซเดอร์ (Cider) ซึ่งเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ทำจากหมักน้ำแอ็ปเปิล (ต่างจากไซเดอร์บางชนิดในสหรัฐอเมริกาที่ไม่มีแอลกอฮอล์) นอกจากนั้นก็ยังเป็นที่ตั้งของโครงการหมู่อาคารสำหรับพฤกษชาติอีเด็น, อาร์ดแมนแอนิเมชันส (Aardman Animations), งานเทศกาลกลาสตันบรี, และงานแสดงบอลลูนนานาชาติประจำปีที่บริสตอล และสถานที่ท่องเที่ยวและชายหาดในคอร์วอลล์ อุทยานแห่งชาติสองแห่งและมรดกโลกสี่แห่งก็ตั้งอยู่ในภาคนี้.

ใหม่!!: เดวอนและเซาท์เวสต์อิงแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์เจมส์พาร์ก (เอ็กซิเตอร์)

ซนต์เจมส์พาร์ก (St James' Park - The Park, SJP) เป็นสนามฟุตบอลในเมืองเอ็กซิเตอร์ ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอังกฤษ และเป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลเอ็กซิเตอร์ซิตี มีสแตนด์ทั้งส่วนที่เป็นที่นั่ง และบริเวณสำหรับยืน โดยมีความจุทั้งหมดรวม 8,541 ที.

ใหม่!!: เดวอนและเซนต์เจมส์พาร์ก (เอ็กซิเตอร์) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Devonมณฑลเดวอน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »