สารบัญ
29 ความสัมพันธ์: พระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกสยุทธการที่วอเตอร์ลูราชวงศ์โบนาปาร์ตรายชื่อธงในสหราชอาณาจักรรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)รายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักรรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดลัทธิอาณานิคมวันชาติสมัยร้อยวันสงครามอังกฤษ–แซนซิบาร์หมู่เกาะฟอล์กแลนด์อัสเซนชันจักรพรรดินโปเลียนที่ 1ธงตริสตันดากูนยาทวีปแอฟริกาดินแดนโพ้นทะเลของบริเตนคราวน์โคโลนีตราแผ่นดินของเซนต์เฮเลนาประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสปีแยร์ โอเฌอโรนโปเลียนที่ 2เอดินเบิร์กออฟเดอะเซเวนซีส์เจมส์ทาวน์ (เซนต์เฮเลนา)เขตเวลาเซนต์เฮเลนา อัสเซนชัน และตริสตันดากูนยา.sh1 E3
พระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส
ระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส (Dom João VI de Portugal, ออกเสียง) มีพระนามเต็มว่า ฌูเอา มารีอา ฌูเซ ฟรังซิชกู ชาวีเอร์ ดึ เปาลา ลูอิช อังตอนีอู ดูมิงกุช ราฟาเอล ดึ บรากังซา (João Maria José Francisco Xavier de Paula Luís António Domingos Rafael de Bragança; 13 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู เซนต์เฮเลนาและพระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส
ยุทธการที่วอเตอร์ลู
ทธการที่วอเตอร์ลู เกิดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 18 มิถุนายน 1815 ที่ เมืองวอเตอร์ลู ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศเบลเยี่ยม, ในขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของ สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลน.
ดู เซนต์เฮเลนาและยุทธการที่วอเตอร์ลู
ราชวงศ์โบนาปาร์ต
ราชวงศ์โบนาปาร์ต (Maison de Bonaparte, House of Bonaparte) เป็นราชวงศ์สุดท้าย ที่ปกครองฝรั่งเศส สถาปนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1804 โดย จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 และราชวงศ์นี้ในรัชสมัยจักรพรรดินโปเลียนได้ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวาง แต่หลังจากที่พ่ายแพ้ในยุทธการที่วอเตอร์ลูในปี ค.ศ.
ดู เซนต์เฮเลนาและราชวงศ์โบนาปาร์ต
รายชื่อธงในสหราชอาณาจักร
ทความหน้านี้คือรายการเกี่ยวกับธงต่าง ๆ ที่เคยใช้และยังใช้อยู่ในสหราชอาณาจักร และในดินแดนภายใต้อาณัติ สำหรับการใช้ศักราชในบทความนี้ใช้ปีคริสต์ศักราช เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์สากลเป็นหลัก.
ดู เซนต์เฮเลนาและรายชื่อธงในสหราชอาณาจักร
รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด
นี่คือ รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งรวมถึงรัฐอธิปไตยและเขตการปกครอง เรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด โดยยึดตามมาตรฐานสากล ISO 3166-1 เพื่อจุดประสงค์ทางสถิติ เขตการปกครองจะถูกบรรจุในรายชื่อรวมกับรัฐอธิปไตยด้วย ตัวเลขที่ปรากฏจะแสดงขนาดพื้นที่ทั้งหมด รวมทั้งพื้นดินและพื้นที่น้ำภายในดินแดนนั้นด้วย (เช่น ทะเลสาบ เขื่อน และแม่น้ำ) ซึ่งบางส่วนอาจนับรวมไปถึงพื้นที่ของน้ำภาคพื้นสมุทร (น่านน้ำชายฝั่ง) แต่ไม่นับรวมน่านน้ำอาณาเขตและเขตเศรษฐกิจจำเพาะ สถิติดังกล่าวไม่นับรวมเขตการปกครองซึ่งไม่มีพลเมืองอาศัยอยู่ – รวมทั้งการอ้างสิทธิ์ของหลายประเทศเหนือพื้นที่ของทวีปแอนตาร์กติกา (14,400,000 กม.²) – และการรวมกลุ่มประเทศ เช่น สหภาพยุโรป (4,324,782 กม.²) ซึ่งมีอำนาจอธิปไตย แต่ไม่สามารถพิจารณาว่าเป็นรัฐอธิปไตยหรือเขตการปกครองได้ พื้นที่ทั้งหมดของโลกคิดเป็น 148,940,000 กม.² (คิดเป็น 29.1% ของพื้นผิวโลกทั้งหมด).
ดู เซนต์เฮเลนาและรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด
รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)
รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไตย บทความอื่นๆในหมวดหมู่นี้.
ดู เซนต์เฮเลนาและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)
รายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักร
สโตนเฮนจ์เป็นส่วนหนึ่งของแหล่งมรดกโลกสโตนเฮนจ์ เอฟเบอรี และสถานที่ใกล้เคียง ในสหราชอาณาจักรและอาณานิคมโพ้นทะเลมีแหล่งมรดกโลกที่ขึ้นทะเบียนโดยยูเนสโกทั้งหมด 31 แห่ง โดยอยู่ในอังกฤษ 17 แห่ง, สกอตแลนด์ 5 แห่ง, อังกฤษและสกอตแลนด์ 1 แห่ง, เวลส์ 3 แห่ง, ไอร์แลนด์เหนือ 1 แห่ง และในดินแดนโพ้นทะเลเบอร์มิวดา หมู่เกาะพิตแคร์น เซนต์เฮเลนา และยิบรอลตาร์ที่ละ 1 แห่ง แหล่งมรดกโลกของสหราชอาณาจักรที่ได้ขึ้นทะเบียนในครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.
ดู เซนต์เฮเลนาและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักร
รายชื่อเกาะเรียงตามขนาด
หน้านี้คือรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดทั่วโลก.
ดู เซนต์เฮเลนาและรายชื่อเกาะเรียงตามขนาด
ลัทธิอาณานิคม
ลัทธิอาณานิคม (colonialism) เป็นการสถาปนา แสวงหาประโยชน์จากพื้นที่อื่น ธำรงรักษา ได้มาซึ่งและขยายอาณานิคมในดินแดนหนึ่งจากประชากรอีกดินแดนหนึ่ง ลัทธิอาณานิคมเป็นชุดความสัมพันธ์ไม่เท่ากันระหว่างเจ้าอาณานิคมและอาณานิคม และมักระหว่างผู้อยู่ในนิคมและประชากรพื้นเมือง สมัยอาณานิคมยุโรปอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อชาติยุโรปหลายชาติสถาปนาอาณานิคมในทวีปเอเชีย แอฟริกาและอเมริกา ทีแรก ประเทศต่าง ๆ ดำเนินนโยบายลัทธิพาณิชยนิยมซึ่งออกแบบมาเพื่อเสริมเศรษฐกิจของประเทศแม่โดยแลกกับเศรษฐกิจของคู่แข่ง ฉะนั้น ปกติอาณานิคมจึงได้รับอนุญาตให้ค้าขายเฉพาะกับประเทศแม่เท่านั้น ทว่า เมื่อถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิอังกฤษยกเลิกลัทธิพาณิชยนิยมและการจำกัดการค้า และเริ่มใช้หลักการค้าเสรี โดยมีการจำกัดหรือภาษีศุลกากรน้อ.
ดู เซนต์เฮเลนาและลัทธิอาณานิคม
วันชาติ
วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.
สมัยร้อยวัน
มัยร้อยวัน (les Cent-Jours, Hundred Days) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ สงครามประสานมิตรครั้งที่เจ็ด (War of the Seventh Coalition) เป็นช่วงเวลาที่เริ่มตั้งแต่เมื่อจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 หนีจากเกาะเอลบาขึ้นสู่แผ่นดินยุโรป เมื่อวันที่ 20 มีนาคม..
สงครามอังกฤษ–แซนซิบาร์
งครามอังกฤษ-แซนซิบาร์ (Anglo-Zanzibar War) เป็นการสู้รบระหว่างสหราชอาณาจักรและรัฐสุลต่านแซนซิบาร์ในวันที่ 27 สิงหาคม..
ดู เซนต์เฮเลนาและสงครามอังกฤษ–แซนซิบาร์
หมู่เกาะฟอล์กแลนด์
หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ (Falkland Islands) หรือ หมู่เกาะมัลบีนัส (Islas Malvinas) เป็นกลุ่มเกาะตั้งอยู่ในหมู่เกาะแอตแลนติกใต้บนไหล่ทวีปปาตาโกเนีย หมู่เกาะหลักอยู่ห่างจากชายฝั่งปาตาโกเนียที่ละติจูดราว 52° ใต้ ไปทางตะวันออกราว 500 กิโลเมตร กลุ่มเกาะมีพื้นที่ 12,173 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยเกาะฟอล์กแลนด์ตะวันออก ฟอล์กแลนด์ตะวันตก และเกาะที่เล็กกว่าอื่นอีก 776 เกาะ หมู่เกาะดังกล่าวเป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร มีระดับการปกครองตนเองภายในสูง โดยมีสหราชอาณาจักรรับประกันรัฐบาลที่ดีและรับผิดชอบด้านการป้องกันภัยและการต่างประเทศ เมืองหลวง คือ สแตนลีย์บนเกาะฟอล์กแลนด์ตะวันออก มีการถกเถียงว่าด้วยการค้นพบหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ครั้งแรกและการล่าอาณานิคมโดยชาวยุโรปในกาลต่อมา หลายช่วง หมู่เกาะมีนิคมฝรั่งเศส อังกฤษ สเปนและอาร์เจนตินา อังกฤษสถาปนาการปกครองอีกครั้งใน..
ดู เซนต์เฮเลนาและหมู่เกาะฟอล์กแลนด์
อัสเซนชัน
อัสเซนชัน (Ascension) เป็นเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติก และเป็นดินแดนของสหราชอาณาจักร อัสเซนชันเป็นส่วนหนึ่งของเซนต์เฮเลนา อัสเซนชัน และตริสตันดากูนยา มีพื้นที่ 88 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 880 คน.
จักรพรรดินโปเลียนที่ 1
นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..
ดู เซนต์เฮเลนาและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1
ธงตริสตันดากูนยา
งชาติตริสตันดากูนยา เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีน้ำเงิน กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมบนด้านคันธงมีภาพธงชาติสหราชอาณาจักร ที่ตอนปลายธงมีตราราชการของตริสตันดากูนยา เริ่มใช้เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ.
ดู เซนต์เฮเลนาและธงตริสตันดากูนยา
ทวีปแอฟริกา
แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.
ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน
ที่ตั้งของดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร (British Overseas Territories) คือดินแดน 14 ดินแดนที่อยู่ภายใต้อธิปไตยของสหราชอาณาจักร แต่ไม่ได้นับเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร.
ดู เซนต์เฮเลนาและดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน
คราวน์โคโลนี
ราวน์โคโลนี (Crown colony) หรือ อาณานิคมในพระองค์ เป็นประเภทหนึ่งของการบริการอาณานิคมของจักรวรรดิอังกฤษ คราวน์โคโลนีถูกปกครองโดยข้าหลวงซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์อังกฤษ (และ ในภายหลัง รัฐมนตรีว่าการอาณานิคม) ถึงแม้ว่าคำดังกล่าวจะไม่ถูกใช้ตั้งแต่แรกก็ตาม อาณานิคมแห่งแรกซึ่งเป็นที่รู้จักกันว่าคราวน์โคโลนี คือ อาณานิคมเวอร์จิเนีย ในสหรัฐอเมริกาปัจจุบัน ในภายหลังจึงได้ถูกควบคุมโดยบริษัทเวอร์จิเนีย ในปี..
ตราแผ่นดินของเซนต์เฮเลนา
ตราแผ่นดินของเซนต์เฮเลนนา ตราแผ่นดินของเซนต์เฮเลนา แบบปัจจุบัน ประกาศใช้เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2527 ลักษณะเป็นตราโล่อาร์ม แบ่งภายในโล่ออกเป็น 2 ส่วน ส่วนหัวโล่นั้น เป็นรูปนกกางเขนยืนผินหน้าไปทางซ้ายบนพื้นสีเหลือง เบื้องล่างอันเป็นส่วนท้องโล่ เป็นภาพเรือรบสามเสา ซึ่งชักธงกางเขนแห่งเซนต์จอร์จไว้ที่ท้ายเรือ ลอยลำอยู่ในท้องทะเล เบื้องหน้าของเรือลำนั้น มีรูปภูเขาโผล่พ้นน้ำอยู่ 2 ลูก คือ เกาะเซนต์เฮเลนา เดิมเซนต์เฮเลนา ใช้ตราแผ่นดินแบบเก่าเมื่อ พ.ศ.
ดู เซนต์เฮเลนาและตราแผ่นดินของเซนต์เฮเลนา
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส
ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..
ดู เซนต์เฮเลนาและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส
ปีแยร์ โอเฌอโร
ร์ล ปีแยร์ ฟร็องซัว โอเฌอโร (Charles Pierre François Augereau) เป็นจอมพลแห่งจักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง เขาเป็นหนึ่งในผู้บัญชาการในสงครามปฏิวัติฝรั่งเศส หลังเขานำกองทัพต่อต้านสเปนและเข้าเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาของนายพลนโปเลียน โบนาปาร์ตในอิตาลี หน้าที่การงานของเขาก็เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เขาเข้าร่วมการต่อสู้ในทุกยุทธการของสงครามนโปเลียนในปี 1796 โดยทำผลงานอย่างยอดเยี่ยม หลังนโปเลียนขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งฝรั่งเศส นโปเลียนก็ยังคงไว้วางใจมอบหมายให้โอเฌอโรคุมกำลังสำคัญ แต่หลังนโปเลียนสิ้นอำนาจและถูกส่งตัวไปยังเกาะเอลบาแล้ว โอเฌอโรก็เข้าร่วมการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง แม้เขาจะย้ายข้างมาอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับนโปเลียน แต่เมื่อเขาได้ยินข่าวว่านโปเลียนสามารถหนีออกมาจากเกาะเอลบาได้และกำลังรวบรวมกองทัพใหม่ เขาได้เดินทางไปไปเข้าร่วมกับนโปเลียนแต่ถูกนโปเลียนจับกุมข้อหาทรยศแยะกักขังเขาไว้ ภายหลังจากที่นโปเลียนพ่ายแพ้และถูกส่งตัวไปยังเกาะเซนต์เฮเลนา พระเจ้าหลุยส์ที่ 18ได้ขึ้นครองบัลลังก์ฝรั่งเศสโดยสมบูรณ์ ก็ทรงปลดโอเฌอโรออกจากทุกตำแหน่งในกองทัพและริบฐานันดรและเบี้ยหวัด โอเฌอโรเสียชีวิตที่บ้านของเขาในลาอูแซย์เมื่อมีอายุได้ 53 ปี.
ดู เซนต์เฮเลนาและปีแยร์ โอเฌอโร
นโปเลียนที่ 2
นโปเลียน ฟร็องซัว ชาร์ล โฌแซ็ฟ โบนาปาร์ต (Napoléon François Charles Joseph Bonaparte; 20 มีนาคม พ.ศ. 235422 กรกฎาคม พ.ศ. 2365) ดำรงพระอิสริยยศเป็นพระราชกุมาร (Prince Imperial) กษัตริย์แห่งโรม และเจ้าชายแห่งปาร์มา ปลาเซนตีอา และกัสตัลลา นอกจากนี้ยังทรงเป็นที่รู้จักในราชสำนักออสเตรียตั้งแต่ปี..
ดู เซนต์เฮเลนาและนโปเลียนที่ 2
เอดินเบิร์กออฟเดอะเซเวนซีส์
อดินเบิร์กออฟเดอะเซเวนซีส์ (Edinburgh of the Seven Seas) เป็นศูนย์กลางการบริหารของเกาะตริสตันดากูนยา ซึ่งเป็นเกาะหนึ่งในดินแดนเซนต์เฮเลนา อัสเซนชัน และตริสตันดากูนยา ดินแดนของสหราชอาณาจักร มีประชากร 264 คน เอดินเบิร์กออฟเดอะเซเวนซีส์ ถือได้ว่าเป็นนิคมถาวรที่ห่างไกลที่สุดในโลก โดยห่างออกไปถึง 1,350 ไมล์ (2,173 กิโลเมตร) จากการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ที่ใกล้ที่สุดที่ เซนต์เฮเลน.
ดู เซนต์เฮเลนาและเอดินเบิร์กออฟเดอะเซเวนซีส์
เจมส์ทาวน์ (เซนต์เฮเลนา)
มส์ทาวน์ เจมส์ทาวน์ (Jamestown) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเซนต์เฮเลนา ซึ่งเป็นดินแดนของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเกาะ มีพื้นที่อยู่ติดกับทะเล มีพื้นที่ 3.6 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 714 คน หมวดหมู่:เซนต์เฮเลนา หมวดหมู่:เมืองหลวง.
ดู เซนต์เฮเลนาและเจมส์ทาวน์ (เซนต์เฮเลนา)
เขตเวลา
ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.
เซนต์เฮเลนา อัสเซนชัน และตริสตันดากูนยา
ซนต์เฮเลนา อัสเซนชัน และตริสตันดากูนยา (Saint Helena, Ascension and Tristan da Cunha) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ ประกอบด้วยเกาะเซนต์เฮเลนา, เกาะอัสเซนชัน และกลุ่มเกาะที่เรียกว่าตริสตันดากูนยา The Constitution (in the Schedule to the Order).
ดู เซนต์เฮเลนาและเซนต์เฮเลนา อัสเซนชัน และตริสตันดากูนยา
.sh
.sh เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับเซนต์เฮเลนา เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2540.
1 E3
ำหรับการเปรียบเทียบอันดับของขนาด (อังกฤษ: orders of magnitude) หน้านี้เป็นเป็นรายชื่อค่าตั้งแต่ 1,000 ถึง 10,000 (103 และ 104) ---- ค่าที่น้อยกว่า 1000 ----.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ แซงต์-เตแลนเกาะเซนต์เฮเลนา