โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)

ดัชนี เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)

นายพันตำรวจเอก เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่) (200px) (พ.ศ. 2403-พ.ศ. 2473) เจ้านายฝ่ายเหนือ ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจมณฑลพายัพ สืบสายโลหิตจากพระยาธรรมลังกา ผู้จับดาบตะลุยทั่วสิบทิศ เพื่อความสงบสุขของมหาชนชาวนครเชียงใหม่ เป็นเจ้านายมือปราบนาม เจ้าไชยสงคราม ซึ่งโจรผู้ร้ายสยองเพียงได้ยินชื่อ.

13 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2447พระยาธรรมลังกายิ่งลักษณ์ ชินวัตรธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ทักษิณ ชินวัตรประเทศไทยใน พ.ศ. 2447เลิศ ชินวัตรเจ้าราชวงศ์ (เลาแก้ว ณ เชียงใหม่)เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่เจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่เจ้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่เครื่องราชบรรณาการ

พ.ศ. 2447

ทธศักราช 2447 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1904 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)และพ.ศ. 2447 · ดูเพิ่มเติม »

พระยาธรรมลังกา

ระยาธรรมลังกา หรือพระญาธัมมลังกา (120px) (พ.ศ. 2289- พ.ศ. 2365) หรือ พระยาเชียงใหม่ช้างเผือก เป็นพระยาเชียงใหม่องค์ที่ 2 ในราชวงศ์ทิพย์จักร และเป็นราชบุตรในเจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว โดยพระองค์ได้ร่วมกับพระเชษฐา และพระอนุชาในการต่อสู้อริราชศัตรูจนได้รับสมัญญานามว่า "เจ้าเจ็ดตน".

ใหม่!!: เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)และพระยาธรรมลังกา · ดูเพิ่มเติม »

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)และยิ่งลักษณ์ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่

วัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ (120px) หรือ เจ้าหนุ่ย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 5 สมัย อดีตรองหัวหน้าพรรคความหวังใหม่ และอดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ธวัชวงศ์ สืบทอดเชื้อสายราชตระกูล ณ เชียงใหม่ (เจ้าเจ็ดตน) สายของพระเจ้าช้างเผือกธรรมลังกา ซึ่งเป็นสายเดียวกันกับนางยินดี ชินวัตร มารดาของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)และธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

ใหม่!!: เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)และทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2447

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2447 ในประเทศไท.

ใหม่!!: เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)และประเทศไทยใน พ.ศ. 2447 · ดูเพิ่มเติม »

เลิศ ชินวัตร

ลิศ ชินวัตร (พ.ศ. 2462-23 ตุลาคม พ.ศ. 2540) อดีตนักการเมืองชาวเชียงใหม่ เป็นบิดาของ นายทักษิณ ชินวัตร และนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 23 และนายกรัฐมนตรีคนที่ 28.

ใหม่!!: เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)และเลิศ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าราชวงศ์ (เลาแก้ว ณ เชียงใหม่)

้าราชวงศ์ (น้อยลาวแก้ว ณ เชียงใหม่) เจ้าราชวงศ์ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นราชบุตรองค์เดียวของเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร.

ใหม่!!: เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)และเจ้าราชวงศ์ (เลาแก้ว ณ เชียงใหม่) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์

มหาอำมาตย์โท นายพันเอก เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2402 - 5 มกราคม พ.ศ. 2453) เป็นเจ้านครเชียงใหม่ องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร หรือ ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน.

ใหม่!!: เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)และเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่

้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ (พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2534) เป็นราชโอรสองค์สุดท้ายในพลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 (องค์สุดท้าย) กับหม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ ชายารองในเจ้าแก้วนวรัฐ สมรสกับเจ้าสุคันธา ณ เชียงตุง ราชธิดาในเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง เจ้าฟ้าหลวงนครเชียงตุง องค์ที่ 40 กับเจ้าบัวทิพย์หลวง มเหสีพระองค์หนึ่ง การสมรสระหว่างเจ้าอินทนนท์ กับเจ้าสุคันธา นับเป็นการสานสัมพันธ์อันดีระหว่างนครเชียงตุง กับนครเชียงใหม่อย่างดียิ่ง.

ใหม่!!: เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)และเจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่

้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่ (170px) (4 มกราคม พ.ศ. 2456 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2547) เกิดในสายตระกูลเจ้าเจ็ดตน ซึ่งมีพระยาสุลวฦาชัยสงคราม หรือเจ้าหนานทิพย์ช้าง ผู้เป็นบรรพบุรุษของเจ้าชาย 7 องค์ ที่เป็นต้นสกุลสำคัญฝ่ายเหนือ อันได้แก่ ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง สิโรรส ธนันชยานนท์ และลังกาพินธุ์ โดยท่านอยู่ในสายตรงของเจ้านครเชียงใหม่ องค์ที่ 2 คือ พระเจ้าช้างเผือกธรรมลังก.

ใหม่!!: เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)และเจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่

้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 2 สมัย เป็นบุตรของเจ้าไชยสงครามสมพมิตร ณ เชียงใหม่ และเป็นราชปทินัดดาในพระเจ้าช้างเผือกธรรมลังกา เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 2 สายตระกูลเจ้าเจ็ดตน (ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์) เจ้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่ เป็นเจ้านายฝ่ายเหนือที่ได้เข้าร่วมฟ้อนนำในกระบวนเครื่องพระขวัญของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ในพิธีถวายพระขวัญเมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมราษฎรในจังหวัดทางภาคเหนือ วันที่ 5 มีนาคม..

ใหม่!!: เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)และเจ้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชบรรณาการ

รื่องราชบรรณาการ หรือ เครื่องปัณณาการ หมายถึงสิ่งของที่ผู้มีสภาพด้อยกว่านำไปฝากผู้อื่น เพื่อความรู้สึกที่ดีต่อกัน ในความหมายทางประวัติศาสตร์ของไทย หมายถึง สิ่งที่พระมหากษัตริย์หรือผู้ปกครองหรือเจ้าประเทศราช จัดส่งไปถวายแด่พระมหากษัตริย์อีกเมืองหนึ่งเพื่อแสดงไมตรีต่อกัน เช่น สมเด็จพระนารายณ์มหาราช จัดให้เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) เป็นราชทูตเชิญเครื่องราชบรรณาการไปเจริญทางพระราชไมตรีกับพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เป็นต้น อีกนัยหนึ่งเครื่องราชบรรณาการ คือ สัญลักษณ์แสดงความสวามิภักดิ์ของผู้เป็นข้าขอบเขตขัณฑสีมาต่อกษัตริย์แห่งแผ่นดินแม่ ในพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4 แสดงให้เห็นว่าเมืองประเทศราช จะต้องส่งเครื่องราชบรรณาการเพื่อแสดงความสวามิภักดิ์ต่อเมืองใหญ่ทุกๆ 3 ปี นอกจากต้นไม้เงินต้นไม้ทอง ก็ไม่พบบันทึกอื่นใดกล่าวถึงเครื่องราชบรรณาการ จนถึง..

ใหม่!!: เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)และเครื่องราชบรรณาการ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พันตำรวจเอก เจ้าไชยสงคราม สมพมิตร ณ เชียงใหม่พันตำรวจเอก เจ้าไชยสงคราม สมพะมิตร ณ เชียงใหม่, เจ้าไชยสงครามนครเชียงใหม่เจ้าไชยสงคราม สมพมิตร ณ เชียงใหม่เจ้าไชยสงคราม น้อยสมพมิตร ณ เชียงใหม่เจ้าไชยสงครามสมพมิตร ณ เชียงใหม่

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »