สารบัญ
42 ความสัมพันธ์: บัตเตอร์สกอตช์พ.ศ. 2493พระราชพิธีพัชราภิเษกพิธีปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012พิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2008มหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอนมหาวิทยาลัยเอดินบะระมหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์มาร์ก ฟิลลิปส์ราชกุมารีราชวงศ์สหราชอาณาจักรรายชื่อธงในสหราชอาณาจักรรายชื่อธงในประเทศสกอตแลนด์รายพระนามรัชทายาทสหราชอาณาจักรลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักรลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรออทัมน์ ฟิลลิปส์อิสลาห์ ฟิลลิปส์ทิโมที ลอเรนซ์ข้าวหลามตัด (มุทราศาสตร์)คิงส์คอลเลจ ลอนดอนซารา ฟิลลิปส์ซาวันนาห์ ฟิลลิปส์ปีเตอร์ ฟิลลิปส์นีโคลัส เมดฟอร์ธ-มิลส์แอนดรูว์ ฮอยแคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์โซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซกซ์ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์เบ็ตตินา ฮอยเลดีลูอีส วินด์เซอร์เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเคาน์เตสแห่งแฮร์วูดเจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์กเนลสัน แมนเดลา15 พฤศจิกายน15 พฤษภาคม15 สิงหาคม
บัตเตอร์สกอตช์
ัตเตอร์สกอตช์ (butterscotch) เป็นขนมหวานที่มีส่วนผสมหลักคือน้ำตาลแดงและเนย บางครั้งอาจผสมน้ำเชื่อมข้าวโพด, ครีม, วานิลลาและเกลือ สูตรแรก ๆ ที่พบในช่วงกลางศตวรรษที่ 19 ใช้กากน้ำตาลแทนน้ำตาล บัตเตอร์สกอตช์คล้ายกับทอฟฟี แต่ต่างกันที่ระดับความเดือดของน้ำตาล โดยบัตเตอร์สกอตช์จะเป็นระดับ soft crack ส่วนทอฟฟีจะเป็นระดับ hard crack บัตเตอร์สกอตช์ใช้เป็นส่วนผสมในลูกกวาดและพุดดิง ใส่ในคุกกี้แบบเดียวกับช็อกโกแลตชิป หรือแต่งรสชาติของเหล้าหวาน ซอสบัตเตอร์สกอตช์ใช้เป็นซอสของหวาน โดยเตรียมได้จากการเคี่ยวน้ำตาลแดงที่อุณหภูมิ 116 °C กับเนยและครีม.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและบัตเตอร์สกอตช์
พ.ศ. 2493
ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและพ.ศ. 2493
พระราชพิธีพัชราภิเษก
ระราชพิธีพัชราภิเษก หรือ พัชราภิเษกสมโภช (Diamond Jubilee) เป็นการเฉลิมฉลองเพื่อแสดงการครบรอบ 60 ปี ซึ่งเกี่ยวกับบุคคล (เช่น การครอบรอบแต่งงาน ระยะเวลาการครองราชสมบัติของพระมหากษัตริย์) หรือครบรอบ 75 ปี ซึ่งเกี่ยวกับเหตุการณ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและพระราชพิธีพัชราภิเษก
พิธีปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012
"เพลงซิมโฟนีของชาวบริติช" (A Symphony of British Music) คือแนวคิดหลักของพิธีปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 พิธีปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ของกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน หรือทราบกันดีในชื่อ "เพลงซิมโฟนีของชาวบริติช" (A Symphony of British Music) ถูกจัดขึ้นในวันที่ 12 สิงหาคม..
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและพิธีปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012
พิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2008
ีเปิดการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 2008 ณ สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง (สนามกีฬารังนก) กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน โดยเริ่มเมื่อเวลา 20.00 น.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2008
มหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน
University College London (UCL) เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยของรัฐ ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัย UCL ยังเป็นสถาบันหนึ่งในสังกัดมหาวิทยาลัยกรุงลอนดอน UCL ถือได้ว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ได้ถูกจัดอันดับอยู่ในระดับสูง และมีจำนวนนักเรียนในระดับบัณฑิตศึกษาที่ลงทะเบียนปัจจุบันมากที่สุดในสหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัย UCL ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1826 ในฐานะมหาวิทยาลัยลอนดอน และ UCL ได้ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในกรุงลอนดอน และมหาวิทยาลัยแห่งแรกในประเทศอังกฤษที่รับนักศึกษาเข้าเรียนโดยไม่คำนึงถึงศาสนา และเพศของผู้เข้าเรียน โดยให้สิทธิสตรีเทียบเท่ากับบุรุษ ในปี 1836 UCL ได้เปลี่ยนฐานะเป็นวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยลอนดอนซึ่งเกิดจากการรวมตัวของวิทยาลัยอื่นๆในกรุงลอนดอนเพื่อเป็นมหาวิทยาลัยเดียวกัน วิทยาเขตหลักของ UCL ตั้งอยู่ที่ Bloomsbury ในพื้นที่ลอนดอนส่วนกลาง Central London นอกจากนี้ยังมีสถาบันต่างๆ และโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ในที่ต่างๆ ทั่วกรุงลอนดอนที่เป็นของ UCL รวมไปถึงการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในวิทยาเขตใน Adelaide, ออสเตรเลีย และ Doha, กาต้าร์ UCL เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการแข่งขันสูงในการสมัครเข้าศึกษา และได้ถูกจัดอันดับอยู่ในระดับสูง ทั้งในระดับประเทศ และในระดับนานาชาติ ศิษย์เก่าของ UCL ที่เป็นบุคคลสำคัญ เช่น ผู้ประดิษฐ์โทรศัพท์ และผู้ร่วมค้นพบโครงสร้างของ DNA รวมไปถึงผู้ก่อตั้งกาน่า, ญี่ปุ่นสมัยใหม่ และไนจีเรีย ผู้ค้นพบแก๊สมีตระกูล ถึงปัจจุบัน UCL มีอาจารย์ ศาสตราจารย์ และนักวิจัย ผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบล รวมทั้งสิ้น 29 ท่าน.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและมหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน
มหาวิทยาลัยเอดินบะระ
ตึกโอลด์คอลเลจ ที่ตั้งของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอดินบะระ (The University of Edinburgh; Universitas Academica Edinburgensis) ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1583 เป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่อันดับ 4 ของสกอตแลนด์ ถัดจาก มหาวิทยาลัยเซนต์แอนดรูวส์ (ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและมหาวิทยาลัยเอดินบะระ
มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์
มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ (University of Exeter) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร ปัจจุบันมีพื้นที่ทำการเรียนการสอน และทำการวิจัยรวมทั้งสิ้น 3 วิทยาเขต ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองเอ็กซิเตอร์ มณฑลเดวอน จำนวน 2 วิทยาเขต และในมณฑลคอร์นวอลล์ 1 วิทยาเขต มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ ได้รับตำแหน่ง มหาวิทยาลัยแห่งปี จากไทมส์ไฮเออร์เอ็ดดูเคชัน ในปีค.ศ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและมหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์
มาร์ก ฟิลลิปส์
มาร์ก ฟิลลิปส์ คู่สมรสในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี เกิดเมื่อวันที่ 22 กันยายน..
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและมาร์ก ฟิลลิปส์
ราชกุมารี
ราชกุมารี (The Princess Royal) เป็นพระอิสริยยศตามราชประเพณี (แต่ไม่เป็นแบบอัตโนมัติ) ซึ่งพระมหากษัตริย์พระราชทานแก่พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ที่สุด พระอิสริยยศนี้ดำรงอยู่ตลอดพระชนม์ชีพของเจ้าหญิงพระองค์นั้น ดังนั้นจึงไม่สามารถที่จะสถาปนาเจ้าหญิงพระองค์อื่นให้เป็นราชกุมารีอีกพระองค์ได้ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ไม่เคยทรงดำรงตำแหน่งราชกุมารีเลย) จวบจนถึงปัจจุบันนี้ได้มีราชกุมารีมาแล้วทั้งสิ้น 7 พระองค์ โดยพระองค์ล่าสุดคือ เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี พระอิสริยยศนี้เกิดขึ้นเมื่อสมเด็จพระราชินีเฮนเรียตตา มาเรีย (พ.ศ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและราชกุมารี
ราชวงศ์สหราชอาณาจักร
มเด็จพระราชินีนาถพร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จออกสีหบัญชร ณ พระราชวังบักกิงแฮม เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและราชวงศ์สหราชอาณาจักร
รายชื่อธงในสหราชอาณาจักร
ทความหน้านี้คือรายการเกี่ยวกับธงต่าง ๆ ที่เคยใช้และยังใช้อยู่ในสหราชอาณาจักร และในดินแดนภายใต้อาณัติ สำหรับการใช้ศักราชในบทความนี้ใช้ปีคริสต์ศักราช เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์สากลเป็นหลัก.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและรายชื่อธงในสหราชอาณาจักร
รายชื่อธงในประเทศสกอตแลนด์
ทความหน้านี้คือรายการเกี่ยวกับธงต่างๆ ที่เคยใช้และยังใช้อยู่ในสกอตแลน.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและรายชื่อธงในประเทศสกอตแลนด์
รายพระนามรัชทายาทสหราชอาณาจักร
นี่คือรายนามบุคคลในเวลาต่างๆ ที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (ค.ศ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและรายพระนามรัชทายาทสหราชอาณาจักร
ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร
มเด็จพระราชินีนาถแอนน์ แต่ด้วยพระนางโซฟีสิ้นพระชนม์ไปซะก่อน ราชบัลลังก์จึงต้องถูกสืบโดยทายาทของพระนางโซฟี ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์อังกฤษ เป็นการจัดเรียงรายพระนามและนามของบุคคลในสายลำดับการสืบราชสมบัติแห่งสหราชอาณาจักร การสืบราชสมบัติบัญญัติโดย พระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ ค.ศ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร
ลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร
ลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร คือ ลำดับความสูงต่ำแห่งฐานันดรของสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ ไม่ว่าพระราชาหรือพระราชินีจะอยู่ในลำดับที่ 1 แห่งโปเจียมเสมอ ถ้าสมเด็จพระราชาธิบดีเป็นพระเจ้าแผ่นดิน พระมเหสีของพระองค์ (คือสมเด็จพระราชินีในรัชกาล) จะเป็นลำดับที่ 1 แห่งฝ่ายใน ในทางตรงกันข้ามไม่มีหลักเกณฑ์ใดๆ สำหรับเจ้าชายพระราชสวามี ดังนั้นพระองค์จะทรงพระดำเนินในลำดับที่เท่าใดนั้น ขึ้นอยู่กับพระบรมราชโองการ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
ออทัมน์ ฟิลลิปส์
ออทัมน์ แพทริเซีย ฟิลลิปส์ (Autumn Patricia Phillips) (สกุลเดิม เคลลี, 3 พฤษภาคม 1978) เป็นชายาในปีเตอร์ ฟิลลิปส์ โอรสในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีกับมาร์ก ฟิลลิปส์ พระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรกับเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ หลังจากจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยแม็คกิล ในปี 2002 ออทัมน์ได้พบกับปีเตอร์ ฟิลลิปส์ที่บ้านของเธอที่มอนทรีออล ควิเบก พิธีหมั้นของพวกเขาถูกประกาศในเดือนกรกฎาคม 2007 และพวกเขาก็สมรสกันในโบสถ์เซนต์จอร์จที่พระราชวังวินด์เซอร์ ในวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและออทัมน์ ฟิลลิปส์
อิสลาห์ ฟิลลิปส์
อิสลาห์ เอลิซาเบธ ฟิลลิปส์ (Isla Elizabeth Phillips) เป็นพระนัดดาในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี และเป็นพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 อิสลาห์เป็นธิดาของปีเตอร์ ฟิลลิปส์กับออทูมน์ ฟิลลิปส์ บิดาของอิสลาห์เป็นโอรสในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีกับมาร์ก ฟิลลิปส์ อิสลาห์เป็นพระราชปนัดดาคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 อิสลาห์มีพี่สาวอีกคนหนึ่งชื่อว่า ซาวันนาห์ ฟิลลิปส์ หมวดหมู่:ราชวงศ์วินด์เซอร์ หมวดหมู่:สมาชิกของราชวงศ์ที่ยังทรงพระเยาว์.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและอิสลาห์ ฟิลลิปส์
ทิโมที ลอเรนซ์
ทิโมที ลอเรนซ์ พลเรือโททิโมที ลอเรนซ์ (Timothy Laurence) คู่สมรสคนที่สองในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี และอดีตนายทหารเรือเกษีณอายุราชการในกองทัพเรือสหราชอาณาจักร เขาเกิดเมื่อวันที่1 มีนาคม พ.ศ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและทิโมที ลอเรนซ์
ข้าวหลามตัด (มุทราศาสตร์)
ตราทรงข้าวหลามตัดของซาราห์ดัชเชสแห่งยอร์ค ข้าวหลามตัด (Lozenge (heraldry)) ในมุทราศาสตร์ “ข้าวหลามตัด” เป็นองค์ประกอบหนึ่งในกลุ่มเครื่องหมายที่ปรากฏบนโล่ในตราอาร์ม ที่มีทรงสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนที่คล้ายกับรูปข้าวหลามตัดที่พบบนไพ่ “ข้าวหลามตัด” ที่จะแคบกว่าด้านตั้ง แต่แตกต่างจากข้าวหลามตัดแคบ (Fusil) ที่เป็นทรงเดียวกันแต่แคบกว่าอย่างน้อยก็ในทางทฤษฎี แต่ในทางปฏิบัติก็มักจะละเลยกัน “ข้าวหลามตัด” อาจจะแบ่งออกไปเป็น “ข้าวหลามตัดกลวง” (Mascle) ที่เป็นทรงข้าวหลามตัดและกลวงออกเป็นทรงข้าวหลามตัดเช่นกัน และอีกทรงหนึ่งที่หาดูได้ยากกว่าก็คือทรง “ข้าวหลามตัดรู” (Rustre) ซึ่งมีรูกลมอยู่ตรงกลาง ถ้าโล่ทั้งโล่เป็นลายข้าวหลามตัดก็จะได้รับการนิยามว่าเป็น “lozengy” (“ลายข้าวหลามตัด”) ถ้าเป็นข้าวหลามตัดกลวงทั้งโล่ก็จะเป็น “masculy” (“ลายข้าวหลามตัดกลวง”) หรือ ถ้าเป็นข้าวหลามตัดแคบทั้งโล่ก็จะเป็น “fusily” (“ลายข้าวหลามตัดแคบ”) ทรงข้าวหลามตัดมักจะเป็นที่สตรีใช้เป็นทรงตราอาร์มที่ใช้กันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี แทนที่จะใช้ทรงโล่อย่างเช่นตราอาร์มของบุรุษ ในอังกฤษและสกอตแลนด์ แต่ไม่ใช่ในแคนาดา ตราอาร์มของสตรีโสดและของแม่หม้ายจะเป็นทรงข้าวหลามตัดแทนที่จะเป็นโล่โดยไม่มีเครื่องยอดหรือหมวกเกราะ หรือบางครั้งก็จะใช้ทรงรูปไข่แทนที่ (Cartouche) แต่สตรีที่แต่งงานแล้วจะใช้ตราอาร์มที่เป็นโล่ นอกจากจะเป็นสตรีที่มีบรรดาศักดิ์ของตนเองผู้ใช้ตราอาร์มทรงข้าวหลามตัดแม้ว่าจะในระหว่างที่มีคู่สมรส โล่ของสตรีผู้มีสามี (และตราข้าวหลามตัดของแม่หม้าย) อาจจะรวมตราอาร์มเดิมของตนเองกับตราของสามีอาจจะโดยการ “รวมตรา” (Impalement) คือวางตราสองตราเคียงข้างกัน หรือเช่นที่ทำกันในอังกฤษโดยการ “escutcheon of pretence” คือ แสดงตราของสตรีเป็น “โล่ใน” (หรือทรงข้าวหลามตัดในสำหรับแม่หม้าย) เหนือโล่ที่ใหญ่กว่าของสามี ตามกฎที่อนุมัติโดยเจ้าหน้าที่สูงสุดทางมุทราศาสตร์ของอังกฤษเมื่อวันที่ 7 เมษายน..
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและข้าวหลามตัด (มุทราศาสตร์)
คิงส์คอลเลจ ลอนดอน
งส์คอลเลจ ลอนดอน (King's College London; King's; KCL) หรือในชื่อย่อว่า KCL เป็นวิทยาลัยแห่งหนึ่งในมหาวิทยาลัยลอนดอน King's จัดเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยของรัฐ ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร ปัจจุบัน อธิการบดีของราชวิทยาลัยลอนดอน คือ เจ้าฟ้าหญิงแอนน์ พระวรราชกุมารี (The Princess Royal) พระราชธิดาในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 กล่าวคือ พระองค์ทรงมีฐานะเป็นอธิการบดีของมหาวิทยาลัยลอนดอน (Chancellor of the University of London) โดยมีศาสตราจารย์ เอ็ดเวิร์ด เบิร์น (Edward Byrne) ดำรงตำแหน่งเป็นอธิการบดีและอาจารย์ใหญ่ (President and Principal) ตั้งแต่เดือนกันยายน..2014 เป็นต้นมา คิงส์คอลเลจ ลอนดอน ก่อตั้งอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม..1829 โดยสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 4 (King George IV) และดยุคแห่งเวลลิงตัน (the Duke of Wellington) กล่าวได้ว่า คิงส์คอลเลจ ลอนดอนเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความเก่าแก่มากที่สุดเป็นลำดับที่ 4 ของประเทศอังกฤษ King's ถือเป็นหนึ่งในสองวิทยาลัย - อีกหนึ่งคือ มหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน (UCL) ที่ร่วมกันก่อตั้งและสถาปนามหาวิทยาลัยลอนดอนในวันที่ 28 พฤศจิกายน..1836 King's ได้ดำเนินการรวมวิทยาลัยทางด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์หลายแห่งในกรุงลอนดอนเข้าด้วยกัน ได้แก่ Queen Elizabeth College (ค.ศ.1985) Chelsea College of Science and Technology (ค.ศ.1985) the Institute of Psychiatry (ค.ศ.1997) และ the United Medical and Dental Schools of Guy's (ค.ศ.1998) and St Thomas' Hospitals (ค.ศ.1998) และ Florence Nightingale School of Nursing and Midwifery (ค.ศ.1998) กล่าวได้ว่า คิงส์คอลเลจ ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการเรียนการสอนและการวิจัยด้านการแพทย์ที่ใหญ่ที่สุดในทวีปยุโรป นอกเหนือจากความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์แล้ว King's ยังได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของโลกที่มีผลงานการค้นคว้าและการวิจัยที่ได้รับการยอมรับมาอย่างต่อเนื่องในอีกหลายสาขาวิชา เช่น มนุษยศาสตร์ กฎหมาย การระหว่างประเทศ และสังคมศาสตร์ ปัจจุบัน (ค.ศ.2017) การการเรียนการสอนและการวิจัยของมหาวิทยาลัยได้ดำเนินการและแบ่งการจัดการออกเป็นจำนวน 9 คณะ (academic faculties) ได้แก.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและคิงส์คอลเลจ ลอนดอน
ซารา ฟิลลิปส์
ซารา ฟิลลิปส์ (สกุลเดิม: Phillips; เกิด 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2524) พระธิดาในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี กับกัปตันมาร์ก ฟิลิปส์ รัชทายาทลำดับที่ 11 ของอังกฤษ ราชวงศ์วินด์เซอร์ สหราชอาณาจักร และเครือจักรภพ มีพี่ชายคือ ปีเตอร์ ฟิลลิปส์ ซารา ฟิลลิปส์สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ และได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับ 3 ของบรรดาราชนิกุลรุ่นเยาว์ที่เซ็กซี่มากสุดในโลก ของเว็บไซต์ฟอร์บส์ดอตคอม ต่อจากเจ้าชายวิลเลียม เจ้าชายแห่งเวลส์ และเจ้าชายเฮนรีแห่งเวลส์ ซึ่งเป็นพระประยูรญาติร่วมราชวง.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและซารา ฟิลลิปส์
ซาวันนาห์ ฟิลลิปส์
ซาวันนาห์ แอนน์ แคทลีน ฟิลลิปส์ (Savannah Anne Kathleen Phillips) เป็นพระนัดดาในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี และเป็นพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 ซาวันนาห์เป็นธิดาของปีเตอร์ ฟิลลิปส์กับออทูมน์ ฟิลลิปส์ บิดาของซาวันนาห์เป็นโอรสในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีกับมาร์ก ฟิลลิปส์ ซาวันนาห์เป็นพระราชปนัดดาคนแรกของสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 ซาวันนาห์มีน้องสาวอีกคนหนึ่งชื่อว่า อิสลาห์ ฟิลลิปส์ หมวดหมู่:ราชวงศ์วินด์เซอร์ หมวดหมู่:สมาชิกของราชวงศ์ที่ยังทรงพระเยาว์.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและซาวันนาห์ ฟิลลิปส์
ปีเตอร์ ฟิลลิปส์
ปีเตอร์ ฟิลลิปส์ เป็นโอรสคนโตในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี กับนายมาร์ก ฟิลลิปส์ เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน..
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและปีเตอร์ ฟิลลิปส์
นีโคลัส เมดฟอร์ธ-มิลส์
นีโคลัส ไมเคิล เดอ โรมาเนีย เมดฟอร์ธ-มิลส์ (Nicholas Michael de Roumanie Medforth-Mills) ทรงเป็นพระโอรสคนแรกใน เจ้าหญิงเอเลนาแห่งโรมาเนีย กับ โรบิน เมดฟอร์ธ-มิลส์ อดีตพระสวามี เป็นพระราชนัดดาคนที่ 2 ใน สมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย กับ สมเด็จพระราชินีอานาแห่งโรมาเนีย เขาได้เข้าพิธีศีลล้างบาป โดยมีพระบิดามารดาอุปถัมภ์ คือ สมเด็จพระราชินีอานาแห่งโรมาเนีย พระราชอัยยิกา (ยาย) และ เจ้าหญิงมาร์กาเรตาแห่งโรมาเนีย พระราชมาตุจฉา (ป้าฝั่งมารดา) ในวัยเด็กเขาอาศัยอยู่กับพระมารดา ต่อมาได้ประทับย้ายไปที่อังกฤษ เมื่อปี ค.ศ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและนีโคลัส เมดฟอร์ธ-มิลส์
แอนดรูว์ ฮอย
แอนดรูว์ เจมส์ ฮอย, โอเอเอ็ม (Andrew James Hoy) เกิดวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1959 ที่คัลแกน รัฐนิวเซาท์เวลส์ เป็นนักกีฬาขี่ม้าระดับโอลิมปิก ผู้ซึ่งเข้าแข่งขันให้แก่ทีมชาติออสเตรเลีย โดยเขาเข้าแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนเป็นครั้งที่เจ็ดในลอนดอนเกมส์ 2012 และเป็นนักขี่ม้าที่มีอายุมากที่สุดของรายการ เขาได้รับเหรียญรางวัลโอลิมปิกสี่เหรียญ โดยแบ่งออกเป็นสามเหรียญทองกับอีกหนึ่งเหรียญเงิน นอกจากนี้ เขายังเป็นผู้ฝึกสอนกีฬาขี่ม้าให้แก่นักกีฬาทีมชาติไทย ทั้ง พรหมธร กิ่งวรรณ,..อ.สุภาพ ขาวงาม และธนภรณ์ ชวตานนท.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและแอนดรูว์ ฮอย
แคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์
แคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์ (Catherine, Duchess of Cambridge) หรือพระนามเมื่อเกิดว่า แคเธอริน อิลิซะเบธ "เคต" มิดเดิลตัน (Catherine Elizabeth Middleton) เป็นพระชายาในเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ ประสูติเมื่อวันที่ 9 มกราคม..
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและแคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์
โซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซกซ์
ซฟี เคานท์เตสแห่งเวสเซ็กส์ หรือพระนามเต็ม โซฟี เฮเลน สกุลเดิม ไรส์-โจนส์ (The Countess of Wessex; ประสูติ 20 มกราคม พ.ศ. 2508) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระชายาในเจ้าฟ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ พระราชโอรสองค์เล็กในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และ เจ้าฟ้าชายฟิลิป ดยุคแห่งเอดินเบอระ พระองค์ทรงปฏิบัติงานเป็นประชาสัมพันธ์จนกระทั่งปี พ.ศ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและโซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซกซ์
ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์
อานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ มีพระนามเต็มว่า ไดอานา ฟรานเซส (อังกฤษ: Diana Frances) สกุลเดิม สเปนเซอร์ (อังกฤษ: Spencer) ประสูติ 1 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์
เบ็ตตินา ฮอย
็ตตินา ฮอย (Bettina Hoy; ชื่อเดิม: เบ็ตตินา โอเฟอร์เรช; 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1962 —) เป็นนักกีฬาขี่ม้าระดับโอลิมปิก ผู้เข้าแข่งขันให้แก่เยอรมนีในประเภทอีเวนติง เบ็ตตินาเข้าแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1984 และโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 นอกจากนี้ เธอยังเคยมอบม้าระดับสี่ดาวของเธอที่มีชื่อว่า "ริงวูด คอกคาทู" ให้แก่พรหมธร กิ่งวรรณ ซึ่งเป็นนักขี่ม้าชาวไทยได้ใช้เข้าแข่งขันในหลายรายการ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและเบ็ตตินา ฮอย
เลดีลูอีส วินด์เซอร์
ลดีลูอิส วินด์เซอร์ (Lady Louise Windsor พระนามเต็ม หลุยส์ อลิซ เอลิซาเบธ แมรี เกิดเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) เป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์วินด์เซอร์ โดยเป็นธิดาในเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ และโซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซ็กส์ และอยู่ในอันดับที่สิบสองของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ ภายหลังจากการประสูติของเจมส์ วินด์เซอร์ ไวเคาน์เซเวิร์น พระอนุชาเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม..
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและเลดีลูอีส วินด์เซอร์
เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์
้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ (HRH the Prince Charles, The Prince of Wales) พระนามเต็ม ชาลส์ ฟิลิป อาร์เธอร์ จอร์จ; พระราชสมภพ 14 พฤศจิกายน..
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์
เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ
้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ (พระนามเดิม เจ้าชายฟิลิปปอสแห่งกรีซและเดนมาร์ก; พระราชสมภพ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2464) เป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เป็นชาวกรีก โดยกำเนิด มีตำแหน่งเจ้าชายแห่งกรีซและแห่งเดนมาร์ก ปัจจุบันมียศเป็นดยุกแห่งเอดินบะระ มีพระนามเดิมว่า เรือเอก ฟิลิป เมาท์แบตเตน เข้าพระราชพิธีอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงเอลิซาเบธ เมื่อปี พ.ศ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ
เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์
้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ (พระนามเต็ม โฮกุน มักนุส, ประสูติ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1973 ณ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์) พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ กับสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ พระองค์มีพระเชษฐภคินีคือ เจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์
เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์
้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ หรือพระนามเต็ม เอ็ดเวิร์ด แอนโทนี ริชาร์ด หลุยส์ (HRH Prince Edward, Earl of Wessex; ประสูติ 10 มีนาคม พ.ศ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์
เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเคาน์เตสแห่งแฮร์วูด
้าหญิงแมรี พระราชกุมารี (Princess Mary, Princess Royal; วิกตอเรีย อเล็กซานดรา อลิซ แมรี; 25 เมษายน พ.ศ. 2440 - 28 มีนาคม พ.ศ. 2508) หลังจากอภิเษกสมรสคือ เจ้าหญิงแมรี เคาน์เตสแห่งแฮร์วูด (Princess Mary, Countess of Harewood) ทรงเป็นสมาชิกองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ และพระวรราชกุมารีพระองค์ที่หกตั้งแต่เริ่มใช้พระอิสริยยศนี้ พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าหญิงในชั้นพระองค์เจ้าตั้งแต่แรกประสูติในฐานะพระราชปนัดดาในพระประมุขแห่งอังกฤษ และต่อมาในชั้นเจ้าฟ้าในฐานะพระราชนัดดาและพระราชธิดาในพระประมุขแห่งอังกฤษ และหลังจากการอภิเษกสมรสพระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น เคาน์เตสแห่งแฮร์วู.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและเจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเคาน์เตสแห่งแฮร์วูด
เจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก
้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก (Princess Beatrice of York หรือ เบียทริซ เอลิซาเบท แมรี (Beatrice Elizabeth Mary (ประสูติ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2531) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ เป็นพระธิดาพระองค์แรกใน เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์กกับ ซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก อดีตพระชายาเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และ เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ เจ้าหญิงทรงอยู่ในอันดับที่แปดของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ และทรงเป็นเจ้าหญิงพระองค์แรกที่ประสูติในพระราชวงศ์นับตั้งแต่การประสูติของเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี ในปี พ.ศ.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและเจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก
เนลสัน แมนเดลา
นลสัน โรลีลาลา แมนเดลา (คอซา: Nelson Rolihlahla Mandela) เกิดวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 ที่ดินแดนปกครองตนเองทรานสไก ประเทศแอฟริกาใต้ ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในช่วงปี..
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและเนลสัน แมนเดลา
15 พฤศจิกายน
วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและ15 พฤศจิกายน
15 พฤษภาคม
วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและ15 พฤษภาคม
15 สิงหาคม
วันที่ 15 สิงหาคม เป็นวันที่ 227 ของปี (วันที่ 228 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 138 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีและ15 สิงหาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Anne, Princess Royalเจ้าหญิงแอนน์ พระวรราชกุมารีเจ้าฟ้าหญิงแอนน์เจ้าฟ้าหญิงแอนน์ พระวรกุมารีเจ้าฟ้าหญิงแอนน์ พระวรราชกุมารีเจ้าฟ้าหญิงแอนน์ พระบรมราชกุมารี