เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)

ดัชนี เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)

้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ มีนามเดิมว่า เทศ เกิดเมื่อ..

สารบัญ

  1. 22 ความสัมพันธ์: พระยาวันพฤกษ์พิจารณ์ (ทองคำ เศวตศิลา)พระปรางค์วัดมหาธาตุพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภารายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้าสกุลบุนนาคสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)สิทธิ เศวตศิลาสถานีเอื้อน อนามัยหม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนหลวงวิจารณ์ภัณฑกิจ (แจ๋ว บุนนาค)จังหวัดเพชรบุรีคณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่าประเทศไทยใน พ.ศ. 2384ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรีเจ้าพระยาวงศาสุรศักดิ์ (แสง วงศาโรจน์)เจ้าจอมก๊กออเจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมอาบ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมเอิบ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมเอื้อน ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมเอี่ยม ในรัชกาลที่ 5

พระยาวันพฤกษ์พิจารณ์ (ทองคำ เศวตศิลา)

ระยาวันพฤกษ์พิจารณ์ (ทองคำ เศวตศิลา) 22 มิถุนายน พ.ศ. 2422 – 4 เมษายน พ.ศ. 2510 นักพฤกษศาสตร์ นักวิชาการป่าไม้ ผู้ริเริ่มปลูกสวนป่าไม้สักของประเทศไทย ผู้จัดตั้งกองป่าไม้ภาคใต้.

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และพระยาวันพฤกษ์พิจารณ์ (ทองคำ เศวตศิลา)

พระปรางค์วัดมหาธาตุ

ระปรางค์วัดมหาธาตุ ตั้งอยู่ที่ตำบลคลองกระแซง อำเภอเมืองเพชรบุรี (อำเภอคลองกระแชง) สร้างมามากกว่า 1,900 ปี มีพระปรางค์ห้ายอด ล้อมรอบด้วยพระระเบียงคด ที่หน้าบันพระวิหารหลวงประดับลวดลายปูนปั้นศิลปะสมัยอยุธยา ใบเสมาคู่สมัยอยุธยาตอนปลาย ทำด้วยหินทรายแดง จำหลักลวดลายทั้งใบ ความสูงถึงยอดนภศูลประมาณ 55 เมตร รอบฐานยาว 120 เมตร.

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และพระปรางค์วัดมหาธาตุ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา (ซ้าย) ทรงฉายพร้อมด้วยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ (ขวา) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา (14 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5

นี่คือรายพระนามและรายนาม พระมเหสี เจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

สกุลบุนนาค

ราชินิกุลบุนนาค นับว่าเป็นสกุลที่เก่าแก่ บรรพชนของสกุลบุนนาคสืบเชื้อสายมาจากพ่อค้าชาวเปอร์เซีย (อิหร่าน) มีนามว่า เฉกอะหฺมัด ที่เข้ามารับราชการในกรุงพระนครศรีอ.

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และสกุลบุนนาค

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)

มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) หรือ สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นบิดาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) เจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค) เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค) และเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค).

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)

สิทธิ เศวตศิลา

ลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา (7 มกราคม พ.ศ. 2462 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558) อดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ อดีตเลขาธิการสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาต.

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และสิทธิ เศวตศิลา

สถานีเอื้อน อนามัย

นีเอื้อนอนามัย สถานี "เอื้อน อนามัย" จังหวัดเพชรบุรี เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของจังหวัดเพชรบุรี สังกัดสภากาชาดไทย ตั้งอยู่ที่ถนนอนามัย-มาตยาวงษ์ ตำบลท่าราบ อำเภอเมืองเพชรบุรี.

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และสถานีเอื้อน อนามัย

หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุน

หม่อมเจ้าหญิงทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์ หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ และธิดา คือ หม่อมราชวงศ์กทลีและหม่อมราชวงศ์สดศรีสุริยา หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุน (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์สดศรีสุริยา จักรพันธุ์; เกิด: 21 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และหม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุน

หลวงวิจารณ์ภัณฑกิจ (แจ๋ว บุนนาค)

หลวงวิจารณ์ภัณฑกิจ (แจ๋ว บุนนาค) หลวงวิจารณ์ภัณฑกิจ นามเดิม แจ๋ว เกิดในราชินิกุลบุนนาค เป็นบุตรเจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค) มารดาชื่อ มอญ นับเป็นราชินิกุลบุนนาค ชั้นที่ ๔ และวงศ์เฉกอะหมัด ชั้นที่ ๙ (สืบเชื้อสายจากเจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)) เกิดเมื่อปี ๒๔๓๒ ถึงแก่กรรมเมื่อปี ๒๔๙.

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และหลวงวิจารณ์ภัณฑกิจ (แจ๋ว บุนนาค)

จังหวัดเพชรบุรี

ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และจังหวัดเพชรบุรี

คณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า

ณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า ในช่วงปี..

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และคณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2384

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2384 ในประเทศไท.

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และประเทศไทยใน พ.ศ. 2384

ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี

แผนที่การเสียดินแดนของไทย (หมายเลขที่ 2) ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี หรือที่ทางราชการเรียกว่า ผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าเชื้อสายไทย เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไทยสยาม ที่ถูกกวาดต้อนและอพยพมาอยู่ตั้งแต่หลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 (พ.ศ.

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี

เจ้าพระยาวงศาสุรศักดิ์ (แสง วงศาโรจน์)

้าพระยาวงศาสุรศักดิ์ (แสง วงศาโรจน์) ที่สมุหพระกลาโหม ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ต้นสกุล วงศาโรจน.

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และเจ้าพระยาวงศาสุรศักดิ์ (แสง วงศาโรจน์)

เจ้าจอมก๊กออ

'''แถวบน''': เจ้าจอมแก้ว เจ้าจอมเอื้อน เจ้าจอมเอี่ยม '''แถวล่าง''': เจ้าจอมแส พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ เจ้าจอมเอิบ เจ้าจอมมารดาอ่อน พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา เจ้าจอมก๊กออ หรือ เจ้าจอมพงศ์ออ เป็นชื่อที่ใช้เรียกพระสนมเอกทั้งห้าในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่มีนามขึ้นต้นด้วยอักษร อ.

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และเจ้าจอมก๊กออ

เจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาอ่อน บุนนาค ป..(19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2410 - 29 มกราคม พ.ศ. 2512) เป็นเจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ประสูติพระราชธิดา 2 พระองค์คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิสัยสุริยาภา และยังมีพระเจ้าลูกเธอที่ตกพระโลหิต ยังไม่เป็นพระองค์ อีก 2 พระองค์ เจ้าจอมมารดาอ่อน เกิดในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อวันพุธ แรม 11 ค่ำ เดือนยี่ ปีเถาะ ตรงกับวันที่ 19 กุมภาพัน..

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และเจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมอาบ ในรัชกาลที่ 5

ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉายกับ เจ้าจอมอาบ (ซ้าย) และเจ้าจอมเอี่ยม เจ้าจอมเอื้อน เจ้าจอมอาบ (ซ้าย) และเจ้าจอมเอื้อน (ขวา) เจ้าจอมอาบ บุนนาค ท..

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และเจ้าจอมอาบ ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมเอิบ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมเอิบ ในรัชกาลที่ 5 (สกุลเดิม บุนนาค) (22 เมษายน พ.ศ. 2422 - 11 สิงหาคม พ.ศ. 2487) เป็นเจ้าจอมพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นหนึ่งในเจ้าจอมก๊กออที่ทรงโปรดปรานเป็นพิเศษ เจ้าจอมเอิบ เกิดในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อที่ 22 เมษายน..

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และเจ้าจอมเอิบ ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมเอื้อน ในรัชกาลที่ 5

้าจอมเอื้อน (ขวา) และเจ้าจอมอาบ (ซ้าย) เจ้าจอมเอื้อน (พ.ศ. 2430 - พ.ศ. 2470) เจ้าจอมพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นเจ้าจอมคนสุดท้องในเจ้าจอมก๊กออจากสกุลบุนน.

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และเจ้าจอมเอื้อน ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมเอี่ยม ในรัชกาลที่ 5

ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉายกับ เจ้าจอมเอี่ยม (กลางภาพ) เจ้าจอมอาบ (ซ้าย) และเจ้าจอมเอื้อน (ซ้าย) เจ้าจอมเอี่ยม บุนนาค (12 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)และเจ้าจอมเอี่ยม ในรัชกาลที่ 5

หรือที่รู้จักกันในชื่อ เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ)