โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)

ดัชนี เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)

มหาเสวกเอก เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา; 31 มีนาคม พ.ศ. 2405 - 26 มกราคม พ.ศ. 2484) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัง.

12 ความสัมพันธ์: บ้านพระอาทิตย์พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยารายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้าสำนักพระราชวังทางรถไฟสายบางบัวทองทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6เพลงชาติไทย

บ้านพระอาทิตย์

ป้ายวังเจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ หรือ บ้านพระอาทิตย์ บ้านพระอาทิตย์ บ้านพระอาทิตย์ หรือ วังพระอาทิตย์ เป็นวังเก่าในสมัยรัชกาลที่ 1 และเป็นอาคารอนุรักษ์ ปัจจุบันเป็นสำนักงานหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ บ้านพระอาทิตย์ตั้งอยู่เลขที่ 102/1 ถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)และบ้านพระอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดช

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดช ทรงเป็นต้นราชสกุลอิศรเสนา ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันจันทร์ แรม 2 ค่ำ เดือน 12 ปีวอก ตรงกับวันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)และพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดช · ดูเพิ่มเติม »

พารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา

รณ อิศรเสนา ณ อยุธยา กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ อดีตวุฒิสมาชิกและสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตประธานกรรมการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต.

ใหม่!!: เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)และพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว.

รื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (The Ratana Varabhorn order of Merit) เรียกอย่างย่อว่า ตรารัตนาวราภรณ์ และมีอักษรย่อว่า ร.ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2454 เพื่อเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับเชิดชูเกียรติคุณแก่ข้าราชการผู้ที่ตั้งใจรับราชการสนองพระเดชพระคุณด้วยความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์สุจริตตลอดมา โดยเมื่อแรกสถาปนานั้นจะพระราชทานสำหรับฝ่ายหน้าเท่านั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2465 พระองค์จึงสถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรย์รัตนวราภรณ์สำหรับพระราชทานฝ่ายในด้วยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๒๘, ตอน ๐ก, ๒๐ สิงหาคม..

ใหม่!!: เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) และฝ่ายใน (สตรี) โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำหรับฝ่ายใน ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษมีจำนวน 100 สำรับ สตรีที่ได้รับพระราชานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นนี้ สามารถใช้คำนำหน้านามว่า "ท่านผู้หญิง" สำหรับผู้ที่สมรสแล้ว หรือ "คุณ" สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้สมรส สำหรับสตรีในราชสกุล ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปให้ใช้คำนำพระนามตามเดิม.

ใหม่!!: เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน) · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ใหม่!!: เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

สำนักพระราชวัง

ำนักพระราชวัง (Bureau of the Royal Household; BRH) เป็นหน่วยงานของทางราชการมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลและรับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชวัง ตลอดจนดูแลรักษาทรัพย์สินและผลประโยชน์ในองค์ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้บังคับบัญชาสำนักพระราชวัง และเลขาธิการพระราชวังเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชกิจราชการ.

ใหม่!!: เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)และสำนักพระราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายบางบัวทอง

ทางรถไฟสายบางบัวทอง หรือ ทางรถไฟสายพระยาวรพงษ์ เป็นทางรถไฟราษฎร์ที่เดินรถระหว่างอำเภอบางพลัด จังหวัดธนบุรี กับอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ตั้งแต..

ใหม่!!: เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)และทางรถไฟสายบางบัวทอง · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญ

| ทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญ หรือ รถไฟรางเล็กสายเพชรบุรี-บางทะลุ เป็นทางรถไฟที่สร้างขึ้นในการเดินทางของเจ้านายและขนส่งเสบียงในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวยามเสด็จแปรพระราชฐานประทับ ณ พระตำหนักหาดเจ้าสำราญในจังหวัดเพชรบุรี มีระยะทางราว 15 กิโลเมตร ถือเป็นหนึ่งในเส้นทางคมนาคมหลักของข้าราชบริพารที่ตามเสด็จมาหาดเจ้าสำราญในขณะนั้น เดินรถครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 เมษายน..

ใหม่!!: เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)และทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 5 (16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 22 กันยายน พ.ศ. 2477) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย และเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน) ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6

ระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 (22 กันยายน พ.ศ. 2477 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477 กรมพระนริศรานุวัตติวงศ์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เป็นผู้ลงนาม และนายพลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติไทย

ลงชาติไทย เป็นชื่อเพลงชาติของสยามและประเทศไทย ประพันธ์ทำนองโดย พระเจนดุริยางค์ ในช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อปี พ.ศ. 2475 คำร้องฉบับแรกสุดโดยขุนวิจิตรมาตรา ซึ่งแต่งขึ้นภายหลังในปีเดียวกัน ต่อมาได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อร้องอีกหลายครั้งและได้เปลี่ยนมาใช้เนื้อร้องฉบับปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2482.

ใหม่!!: เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)และเพลงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »