โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)

ดัชนี เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)

ลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม พิชเยนทรโยธิน) เกิดเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2411 ที่บ้านถนนพระสุเมรุ บางลำพูบน ในกำแพงพระนคร เป็นบุตรนายเสงี่ยม อินทรโยธิน มีตำแหน่งเป็นมหาดเล็กวิเศษอยู่เวรศักดิ์ และคุณหญิงชม้าย อินทรโยธิน มีพี่น้องรวมท่านด้วยทั้งสิ้น 8 คน เป็นหญิงคนโต นอกนั้นเป็นชายทั้งหมด โดยท่านเป็นคนที่ 3 ได้รับการศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนหลวงในพระบรมมหาราชวัง ในสำนักพระยาอนุกูล (ชม) และได้เข้าศึกษาวิชาทหารในสำนักพระยาวิเศษสัจธาดา ได้ศึกษาวิชาภาษาอังกฤษในสำนักครูลำดัส ได้ถวายตัวเป็นทหารรักษาพระองค์ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ในปี พ.ศ. 2427 ได้บวชเป็นสามเณรอยู่วัดรังสีในสำนักท่านอาจารย์สี เมื่อสึกจากสามเณรแล้วได้ไปศึกษาวิชาภาษาอังกฤษในสำนักหมอแมกฟาร์แลนด์เป็นเวลา 3 ปี แล้วสมัครเข้าเป็นนักเรียนนายร้อยทหารบก วังสราญรมย์เมื่อเรียนจบหลักสูตรแล้วก็เข้ารับราชการในกรมทหารราบที่ 4 เมื่อปี 2433 ได้ย้ายเข้าประจำกองโรงเรียนนายร้อยทหารบก ได้ไปในกองข้าหลวงใหญ่เพื่อปราบโจรผู้ร้ายหัวเมืองฝ่ายตะวันออก เมื่อครั้งที่ พลเอกเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี ผู้บัญชาการทหารบก ได้รับโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เป็นข้าหลวงใหญ่ในการปราบปรามโจรผู้ร้ายนั้น จากนั้นก็ได้เลื่อนยศเป็นว่าที่ร้อยโทปลัดกองโรงเรียนนายร้อยทหารบก ในปี พ.ศ. 2435 ได้ย้ายไปรับราชการประจำกองร้อยที่ 1 ในกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากนั้นก็ได้เลื่อนยศเป็นว่าที่ร้อยเอกเป็นผู้บังคับกองร้อยที่ 4 กองพันที่ 1 ในกรมทหารราบที่ 3 ของพระยาอนุชิตชาญไชย ไปราชการทัพมณฑลอีสานที่เมืองอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2437 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็นร้อยเอกในกรมทหารบก มีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงสรสิทธยานุภาพ เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณทิศฯ ทิวงคต ก็ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ออกไปรับราชการเป็นองครักษ์ประจำองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งทรงศึกษาอยู่ในประเทศอังกฤษ พร้อมกับ พลตรีพระยาเสมอใจราช ข้าหลวงผู้เชิญเครื่องราชอิสริยยศไปทูลเกล้าฯ ที่กรุงลอนดอน ในการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ของสมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ ระหว่างที่รับราชการประจำพระองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ประทับอยู่ที่ประเทศอังกฤษ ก็ได้ตามเสด็จพระราชดำเนินไปทุกหนทุกแห่ง และได้ศึกษาวิชาทหารบางวิชาโดยเสด็จ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมารด้วย ในปี พ.ศ. 2443 ได้ตามเสด็จฯ สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ไปในงานพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 1 แห่งอิตาลี ในเดือน กันยายน 2444 ได้ตามเสด็จฯ ไปในงานพระบรมศพสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร ในเดือนพฤษภาคม 2445 ได้ตามเสด็จฯ ไปในงานบรมราชาภิเษก พระเจ้าอัลฟังโซแห่งสเปน ในเดือน มิถุนายน 2445 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น.ต. และได้ตามเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไปประเทศนอร์เวย์ และประเทศเดนมาร์ก เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงสำเร็จการศึกษาแล้ว ได้เสด็จประพาสไปเยี่ยมเยียนพระราชสำนักและเมืองต่างๆ ในยุโรป อเมริกา และญี่ปุ่น ก็ได้ตามเสด็จฯ ไปด้วย ได้เสด็จฯ นิวัตกลับกรุงเทพฯ ทางอเมริกาถึงกรุงเทพฯ เมื่อปลายเดือน ก..

18 ความสัมพันธ์: บ้านมะลิวัลย์พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภาการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481รายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไทยรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)ทำเนียบรัฐบาลไทยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 7คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 8คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9ประเทศไทยใน พ.ศ. 2485ปรีดี พนมยงค์เรือหลวงมัจฉาณุเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)

บ้านมะลิวัลย์

้านมะลิวัลย์ วังมะลิวัลย์ หรือ บ้านมะลิวัลย์ ตั้งอยู่เลขที่ 39 ถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเป็นที่ทำการของสำนักงานองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations - FAO).

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และบ้านมะลิวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา (ประสูติ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 - สิ้นพระชนม์ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสพระองค์แรกในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ที่ประสูติแต่พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ ทรงดำรงตำแหน่งประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไทย

และนี่คือรายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไท.

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และรายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว.

รื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (The Ratana Varabhorn order of Merit) เรียกอย่างย่อว่า ตรารัตนาวราภรณ์ และมีอักษรย่อว่า ร.ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2454 เพื่อเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับเชิดชูเกียรติคุณแก่ข้าราชการผู้ที่ตั้งใจรับราชการสนองพระเดชพระคุณด้วยความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์สุจริตตลอดมา โดยเมื่อแรกสถาปนานั้นจะพระราชทานสำหรับฝ่ายหน้าเท่านั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2465 พระองค์จึงสถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรย์รัตนวราภรณ์สำหรับพระราชทานฝ่ายในด้วยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๒๘, ตอน ๐ก, ๒๐ สิงหาคม..

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร.

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ (ฝ่ายหน้า) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ มีอักษรย่อว่า น.ร. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีความเป็นมาสืบแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้ มีเฉพาะชั้นสายสะพายชั้นเดียว ทั้งนี้ ผู้รับพระราชทานต้องเป็นพุทธมามกะเท่านั้น และจะประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ในงานมงคล หรืองานที่มีหมายกำหนดการระบุไว้เท่านั้น เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 3 รองจากเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์และเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ และเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่สามัญชนจะได้รับพระราชทาน โดยมีรายพระนามและรายนาม เช่น.

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนสาตดสอ ตรีไท.

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และรายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นผู้บริหารราชการแผ่นดินในพระปรมาภิไธยหรือพระนามาภิไธยพระมหากษัตริย์ เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะก็ดี ทรงพระประชวรก็ดี ทรงไม่อาจบริหารพระราชกิจได้ก็ดี หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศก็ดี ในสมัยราชวงศ์จักรีเริ่มมีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากพระองค์ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อพระองค์ยังทรงพระเยาว.

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบรัฐบาลไทย

ทำเนียบรัฐบาล เป็นสถานที่ราชการสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานที่ทำงานของรัฐบาลไทย นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ตลอดจนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี, สถานที่ประชุมคณะรัฐมนตรี, สถานที่ต้อนรับบุคคลสำคัญระดับผู้นำต่างประเทศ ซึ่งมาเยือนประเทศไทย และยังใช้เป็นสถานที่จัดรัฐพิธี เช่น งานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ เป็นต้น ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 2 ไร่ 3 งาน 44 ตารางว.

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และทำเนียบรัฐบาลไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 7

ระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 7 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 7 ของไทย (9 สิงหาคม พ.ศ. 2480 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480 คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ประกอบด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) และนายพลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่น อินทรโยธิน) เป็นผู้ลงนามในประกาศ พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 8

ระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 8 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร, (ซ้ายสุด) จิตร ณ สงขลา, (แถวบนซ้ายสุด) หลวงชำนาญยุทธศิลป์, (ที่ 3 จากซ้าย) ควง อภัยวงศ์ คณะรัฐมนตรี คณะที่ 8 ของไทย (21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการลงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ประกอบด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) และ นายพลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่น อินทรโยธิน) ลงนามในประกาศ พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9

นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 9 หลวงพรหมโยธี คณะรัฐมนตรี คณะที่ 9 ของไทย (16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2485) นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ประกอบด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) และนายพลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่น อินทรโยธิน) ลงนามในประกาศ พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา) ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2485

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2485 ในประเทศไท.

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และประเทศไทยใน พ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงมัจฉาณุ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และเรือหลวงมัจฉาณุ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)

มหาอำมาตย์นายก มหาเสวกเอก นายพลเสือป่า นายพันเอก นายนาวาอากาศเอก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2405 - 30 ธันวาคม พ.ศ. 2481) อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล อภิรัฐมนตรี เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ เสนาบดีกระทรวงนครบาล ทั้งยังเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง การประปานครหลวง การไฟฟ้ามหานคร ถนนและสะพานในกรุงเทพมหานครอีกด้ว.

ใหม่!!: เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)และเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »