โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต

ดัชนี เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต

มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต (120px) (6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2400 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2465) เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 13 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร (ครองราชย์ พ.ศ. 2440 - พ.ศ. 2465) ตลอดรัชสมัย เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตดำรงความมั่นคงสุจริตและความจงรักภักดีต่อพระบรมราชวงศ์จักรี พระองค์ได้ทรงพัฒนานครลำปางและเมืองบริวารในด้านต่าง ๆ ให้ทันกับการพัฒนาในส่วนกลาง ได้ทรงประทานที่ดินและทุนทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อจัดสร้างถาวรวัตถุในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา และการก่อสร้างสถานศึกษา ตลอดจนสถานที่ราชการต่างๆ เพื่อความผาสุกแก่ประชาชนลำปางอย่างแท้จริง.

47 ความสัมพันธ์: บ่อเหล็กลองพ.ศ. 2400พ.ศ. 2465พญาขัณฑสีมาโลหะกิจมณฑลพายัพมณฑลมหาราษฎร์ราชวงศ์ทิพย์จักรรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปเอเชียและโอเชียเนียรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลารายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำปางวัดบุญวาทย์วิหารวัดพระธาตุลำปางหลวงส. ธรรมยศหม่อมน้อยหลวงพ่อเกษม เขมโกอนุสาวรีย์เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตจังหวัดลำปางประเทศไทยใน พ.ศ. 2454ประเทศไทยใน พ.ศ. 2455ประเทศไทยใน พ.ศ. 2456ประเทศไทยใน พ.ศ. 2457ประเทศไทยใน พ.ศ. 2458ประเทศไทยใน พ.ศ. 2459ประเทศไทยใน พ.ศ. 2460ประเทศไทยใน พ.ศ. 2461ประเทศไทยใน พ.ศ. 2462ประเทศไทยใน พ.ศ. 2463ประเทศไทยใน พ.ศ. 2464ประเทศไทยใน พ.ศ. 2465นามสกุลพระราชทานโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัยเจ้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปางเจ้าบุญส่ง ณ ลำปางเจ้าบุษบง ณ ลำปางเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลงเจ้าฟ้าสิริสุวรรณราชยสสรพรหมลือเจ้าราชบุตร (แก้วเมืองพวน ณ ลำปาง)เจ้าราชวงศ์ (แก้วปราบเมรุ ณ ลำปาง)เจ้าวรจักร ณ เชียงตุงเจ้าศรีรัตน์ ณ ลำปางเจ้าศรีนวล ณ ลำปางเจ้าจักรคำขจรศักดิ์เจ้าทิพวรรณ ณ เชียงตุงเจ้านรนันทไชยชวลิตเจ้านายฝ่ายเหนือ5 ตุลาคม6 พฤศจิกายน

บ่อเหล็กลอง

อเหล็กลอง หรือ บ่อเหล็กเมืองลอง เป็นแหล่งสินแร่เหล็กตามธรรมชาติ ตั้งอยู่ระหว่างบ้านนาตุ้ม หมู่ที่ 2 และบ้านแม่ลอง หมู่ที่ 4 ตำบลบ่อเหล็กลอง อำเภอลอง จังหวัดแพร่ โดยแร่เหล็กเมืองลองยุคจารีตถือว่าเป็นเหล็กที่มีคุณภาพดี และสันนิษฐานว่านำไปใช้อย่างกว้างขวางในล้านนา กล่าวกันว่าบ่อเหล็กเมืองลองเป็นบ่อเหล็กที่ใช้ทำศาสตราวุธหรือที่เรียกว่า ดาบสรีกัญไชย ของกษัตริย์ล้านนา และมีความเชื่อมาแต่โบราณว่าเหล็กจากแหล่งแร่เหล็กเมืองลองมีความแข็งแกร่ง ความศักดิ์สิทธิ์และอาถรรพ์ในตัว โดยจัดให้เหล็กเมืองลองอยู่ในโลหะธาตุตระกูลเดียวกับเหล็กไหล คือเป็นโคตรเหล็กไหล หรือเหล็กไหลงอก คือเหล็กที่แข็งตัวไปตามธรรมชาติแล้ว แต่สามารถงอกออกมาได้.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและบ่อเหล็กลอง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2400

ทธศักราช 2400 ตรงกั.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและพ.ศ. 2400 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2465

ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและพ.ศ. 2465 · ดูเพิ่มเติม »

พญาขัณฑสีมาโลหะกิจ

ญาขัณฑสีมาโลหะกิจ เป็นเจ้าเมืองลองคนที่ 18 ในสกุลวงศ์ เจ้าช้างปาน ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และรัชสมัยเจ้านรนันทไชยชวลิต แห่งนครลำปาง และเป็นต้นสกุล โลห.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและพญาขัณฑสีมาโลหะกิจ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลพายัพ

มณฑลพายัพ เป็นมณฑลหนึ่งในการปกครองส่วนภูมิภาคระบบมณฑลเทศาภิบาลของราชอาณาจักรสยาม ครอบคลุมพื้นที่ภาคเหนือตอนบน.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและมณฑลพายัพ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลมหาราษฎร์

มณฑลมหาราษฎร์ เป็นมณฑลหนึ่งในการปกครองส่วนภูมิภาคระบบมณฑลเทศาภิบาลของราชอาณาจักรสยามที่แบ่งออกจากมณฑลพายัพในปี พ.ศ. 2458 ครอบคลุมพื้นที่ทางด้านตะวันออกของมณฑลพายัพเดิม.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและมณฑลมหาราษฎร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ทิพย์จักร

ราชวงศ์ทิพย์จักร หรือ ทิพจักราธิวงศ์ หรือ ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน เป็นราชวงศ์ที่ปกครองนครลำปาง นครเชียงใหม่ และนครลำพูน.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและราชวงศ์ทิพย์จักร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปเอเชียและโอเชียเนีย

นี่คือ รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปเอเชียและโอเชียเนี.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปเอเชียและโอเชียเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา

นื้อหาในหน้านี้เป็นบัญชีรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาประเภทต่างๆ ตามที่ปรากฎหลักฐานในราชกิจจานุเบกษา ตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมาจนถึงแต่รัชกาลปัจจุบัน โดยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือระยะที่พระราชทานตามพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสสริยาภรณ์สำหรับความดีความชอบเหรียญดุษฎีมาลา ปีมะเมีย จัตวาศก ศักราช 1244 และระยะที่พระราชทานตามพระราชบัญญัติเหรียญดุษฎีมาลา พุทธศักราช 2484; หมายเหต.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำปาง

้าผู้ครองนครลำปาง เป็นตำแหน่งที่เริ่มมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรหริภุญชัย โดยกษัตริย์พระองค์แรกของนครลำปางคือพระเจ้าอนันตยศ พระราชโอรสของพระนางจามเทวี พระเจ้าอนันตยศทรงสร้างนครลำปางและขึ้นครองเมืองเมื่อ..

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและรายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

วัดบุญวาทย์วิหาร

วัดบุญวาทย์วิหาร (110px) เป็นวัดที่มีประวัติความเป็นมาเก่าแก่ และเป็นวัดหลวงวัดแรกของจังหวัดลำปาง เดิมชื่อวัดกลางเมือง เป็นวัดที่ใช้ประกอบพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยาของเจ้านายมาแต่โบราณ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2347 สมัยพระเจ้าคำโสมเจ้าผู้ครองนครลำปางได้รื้อวิหารหลังเก่าแล้วสร้างใหม่ และเปลี่ยนชื่อเป็นวัดหลวงไชยสัณฐาน ต่อมาเจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิต เจ้าผู้ครองนครลำปาง เห็นความทรุดโทรมลงมากจึงรื้อแล้วสร้างใหม่ และให้หล่อพระประธานองค์ใหม่คือ พระพุทธรุปพระเจ้าตนหลวง แล้วเปลี่ยนชื่อวัดใหม่ว่า วัดบุญวาทย์บำรุง ในปี พ.ศ. 2458 วัดบุญวาทย์ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวงสามัญชั้นตรี และได้รับพระราชทานนามใหม่ว่าวัดบุญวาทย์วิหาร วิหารหลวง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2455 มีลักษณะเป็นอาคารทึบ หลังคาจั่วฐานสูงกว่าวิหารล้านนา ซึ่งได้รับแบบจากวิหารในกรุงเทพ ฯ ตกแต่งภายในด้วยลายไทยภาคกลาง เหลือร่องรอยศิลปะล้านนาอยู่เพียงบางส่วน เช่น ตุงกระด้าง และค้ำยัน.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและวัดบุญวาทย์วิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุลำปางหลวง

วัดพระธาตุลำปางหลวง (100px) ตั้งอยู่ในเขตตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง อยู่ห่างจากตัวเมืองลำปางไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร วัดตั้งอยู่บนเนินสูง มีการจัดวางผังและส่วนประกอบของวัดสมบูรณ์แบบที่สุด มีสิ่งก่อสร้าง และสถาปัตยกรรมต่าง ๆ บริเวณพุทธาวาสประกอบด้วย องค์พระธาตุลำปางหลวง เป็นประธาน มีบันไดนาคนำขึ้นไปสู่ซุ้มประตูโขง ถัดซุ้มประตูโขงขึ้นไปเป็น วิหารหลวง บริเวณทิศเหนือขององค์พระธาตุมีวิหารบริวารตั้งอยู่คือ วิหารน้ำแต้ม และ วิหารต้นแก้ว ด้านตะวันตกขององค์พระธาตุประกอบด้วย วิหารละโว้ และ หอพระพุทธบาท ด้านใต้มี วิหารพระพุทธ และอุโบสถ ทั้งหมดนี้จะแวดล้อมด้วยแนวกำแพงแก้วทั้งสี่ด้าน นอกกำแพงแก้วด้านใต้มีประตูที่จะนำไปสู่เขตสังฆาวาส ซึ่งประกอบด้วยอาคาร หอพระไตรปิฎก กุฏิประดิษฐาน พระแก้วดอนเต้า อาคารพิพิธภัณฑ์และกุฏิสง.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและวัดพระธาตุลำปางหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ส. ธรรมยศ

. ธรรมยศ (11 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2495) ครู นักเขียน นักปรัชญาและนักเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ นามจริง แสน ธรรมยศ เกิดที่ตำบลปงพระเนตช้าง ลำปาง ในตระกูล ณ ลำปาง มีพี่สาวชื่อจันทร์สม เริ่มต้นการศึกษาที่โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย เมืองลำปาง ต่อมาย้ายมาอยู่ที่เทพศิรินทร์ และสอบชิงทุนไปเรียนปรัชญาที่ประเทศเวียดนาม แต่ถูกปฏิเสธเพราะมีการกำหนดตัวผู้สอบได้แล้ว พระสารสานส์พลขันธ์ และอาจารย์ฝรั่งคนหนึ่งสละเงินส่วนตัวส่งไปเรียนหนึ่งปี จากนั้นต้องใช้เงินส่วนตัวและญาติ ๆ ช่วยอุดหนุนกันไป เนื่องจากเป็นคนเก่งภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส จึงเป็นล่ามตั้งแต่อายุ 14 ปี ไปเมืองญวนก็ไปสอนภาษาอังกฤษให้นักเรียนที่นั่นด้วย เมื่อเรียนจบทำงานเป็นบรรณาธิการผู้ช่วยหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศส La Lute (การต่อสู้) นอกจากนั้นยังเป็นผู้แทนหนังสือพิมพ์ ประชาธิปไตย จากประเทศไทย กลับมาเมืองไทยเมื่อปี พ.ศ. 2478 เคยบวชพระแต่ไม่ได้แต่งงาน หลังกลับมาอยู่เมืองไทย เริ่มต้นอาชีพครูที่โรงเรียนสตรีจุลนาคของเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี.ธรรมยศ เริ่มต่อสู้เพื่อให้เปิดการสอนวิชาปรัชญาขึ้นในประเทศไทยด้วยถือว่าเป็นมารดาของวิชาทั้งปวง จนเกิดเป็นข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์ เขาได้เขียนบทความและหนังสือวิชาปรัชญามากมายตลอดจนปาฐกถาในสาขาวิชานี้ เคยเป็นบรรณาธิการนิตยสารโยนก ของสมาคมชาวเหนือ เขียนเรื่องสั้นไว้ประมาณ 40 เล่ม สารคดี และวิชาปรัชญาอีกหลายเล่ม เขียน บทนำแห่งปรัชญาศาสตร์ หนา 289 หน้า เมื่ออายุได้ 26 ปี เขียน พระเจ้ากรุงสยาม หนาร่วม 800 หน้า ขณะที่ป่วย นอนอยู่ในโรงพยาบาล.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและส. ธรรมยศ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมน้อย

หม่อมน้อย อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและหม่อมน้อย · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพ่อเกษม เขมโก

หลวงพ่อเกษม เขมโก หรือ ครูบาเจ้าเกษม เขมโก (นามเดิม เจ้าเกษม ณ ลำปาง) เป็นพระเถระและเกจิอาจารย์ ผู้เคร่งครัดในธุดงควัตร ปลีกวิเวก พุทธศาสนิกชนในจังหวัดลำปางและชาวไทยเคารพนับถือว่าท่านเป็นพระเถราจารย์ปูชนียบุคคลรูปหนึ่งของประเทศไทย และมีผู้มีความเคารพศรัทธาเป็นจำนวนมากในปัจจุบัน อีกทั้งท่านยังเป็นเจ้านายในราชวงศ์ทิพย์จักร ที่ออกผนวชอีกด้ว.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและหลวงพ่อเกษม เขมโก · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต

thumb อนุสาวรีย์เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต เป็นอนุสรณ์สถานที่สร้างในปี..

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและอนุสาวรีย์เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำปาง

ังหวัดลำปาง (40px) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบน ตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบล้อมรอบด้วยภูเขา มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเรียกอย่างหลากหลายตั้งแต่ เขลางค์นคร, เวียงละกอน, นครลำปาง ฯลฯ ในภายหลังเป็นที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เมืองรถม้า ที่สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของลำปาง.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและจังหวัดลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2454

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2454 ในประเทศไท.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและประเทศไทยใน พ.ศ. 2454 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2455

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2455 ในประเทศไท.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและประเทศไทยใน พ.ศ. 2455 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2456

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2456 ในประเทศไท.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและประเทศไทยใน พ.ศ. 2456 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2457

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2457 ในประเทศไท.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและประเทศไทยใน พ.ศ. 2457 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2458

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2458 ในประเทศไท.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและประเทศไทยใน พ.ศ. 2458 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2459

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2459 ในประเทศไท.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและประเทศไทยใน พ.ศ. 2459 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2460

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2460 ในประเทศไท.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและประเทศไทยใน พ.ศ. 2460 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2461

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2461 ในประเทศไท.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและประเทศไทยใน พ.ศ. 2461 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2462

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2462 ในประเทศไท.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและประเทศไทยใน พ.ศ. 2462 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2463

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2463 ในประเทศไท.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและประเทศไทยใน พ.ศ. 2463 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2464

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2464 ในประเทศไท.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและประเทศไทยใน พ.ศ. 2464 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2465

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2465 ในประเทศไท.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและประเทศไทยใน พ.ศ. 2465 · ดูเพิ่มเติม »

นามสกุลพระราชทาน

ป็นนามสกุลที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขนานนามสกุลขึ้นเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2455 โดยให้มีผลใช้บังคับในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2456 อย่างไรก็ตาม ได้มีการเลื่อนเวลาการบังคับใช้กฎหมาย 2 ครั้ง เพื่ออำนวยความการสะดวกแก่เจ้าพนักงานซึ่งจะทำทะเบียนและสะดวกแก่ผู้ที่จะเลือกตั้งนามสกุล โดยพระราชบัญญัติได้บังคับใช้เป็นกฎหมายโดยสมบูรณ์เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสกุลครั้งแรกเป็นจำนวน 102 นามสกุล เช่น นามสกุล "สุขุม" พระราชทานแก่ เจ้าพระยายมราช (ปั้น), นามสกุล "มาลากุล" พระราชทานแก่ พระยาวิสุทธสุริยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เปีย) และ พระยาอนุรักษ์ราชมณเฑียร (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม) และนามสกุล "พึ่งบุญ" พระราชทานแก่ พระยาประสิทธิ์ศุภการ (หม่อมหลวงเฟื้อ) นามสกุลที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานไว้มีทั้งสิ้น 6464 นามสกุล แยกเป็น.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและนามสกุลพระราชทาน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย

รงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย (ภาษาอังกฤษ: Bunyawat Witthayalai School) เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งแรกของจังหวัดลำปาง ตั้งขึ้นเมื่อประมาณ..

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปาง

้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปาง เป็นราชบุตรองค์โต ในเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 13 องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ทิพย์จักราธิวง.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและเจ้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าบุญส่ง ณ ลำปาง

้าบุญส่ง ณ ลำปาง ราชบุตรในเจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิต เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์สุดท้าย กับหม่อมเจียกน้อย ณ ลำปาง เป็นราชบุตรที่ได้รับสืบทอดเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและเจ้าบุญส่ง ณ ลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าบุษบง ณ ลำปาง

้าบุษบง ณ ลำปาง (พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2546) ราชธิดาองค์สุดท้ายในเจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิต เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 13 กับหม่อมเล็ก เป็นเจ้านายชั้นราชธิดาในเจ้าผู้ครองนครผู้มีอายุยืนนานที่สุด และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ รับพระศพไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ พร้อมพระราชทานหีบทองราชนิกูลลายก้านแย่ง ชั้น "หม่อมเจ้า".

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและเจ้าบุษบง ณ ลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง

้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง หรือที่ชาวเชียงตุงนิยมเรียกว่า เจ้าฟ้าเฒ่า เป็นโอรสองค์ที่ 5 ของเจ้าฟ้าโชติก๋องไต ซึ่งขึ้นเป็นเจ้าฟ้าหลวงเชียงตุงสืบแทนเจ้าพี่คือเจ้าฟ้าโชติคำฟู ที่สิ้นพระชนม์ใน ปี พ.ศ. 2441 ตลอดเวลาที่เจ้าฟ้าก้อนแก้วอินแถลงครองนครเชียงตุง พระองค์ได้สร้างความเจริญแก่นครเชียงตุงเป็นอย่างมาก เช่น การสร้างถนนหนทาง ทำนุบำรุงพระศาสนา เช่น สร้างวัดหลายแห่ง และมีการบูรณะปฏิสังขรณ์ เช่นวัดหัวข่วงที่ถูกไฟไหม้ก็สร้างใหม่แล้วยกเป็นวัดหลวง มีการสร้างวัดพระเจ้าหลวงประดิษฐานพระพุทธมหามัยมุนีจำลองมาจากเมืองมัณฑะเลย์ สร้างหอหลวงขึ้นใหม่เป็นตึกแบบอินเดีย บรรดาหอต่างๆที่พำนักของเจ้าแม่เฒ่า (ราชมารดา) เจ้าแม่นางเมือง (พระมเหสี) และบรรดานางฟ้า(พระสนม) โปรดให้เปลี่ยนเป็นตึกแบบใหม่ทั้งหมด รวมความว่าสิ่งใดที่จะนำความเจริญมาสู่บ้านเมือง ท่านผู้นี้ก็ได้พยายามจัดขึ้นทำขึ้น การติดต่อกับเพื่อนบ้านก็ให้ตัดถนนเป็นทางรถยนต์ติดต่อกับจังหวัดเชียงรายซึ่งเป็นจังหวัดชายแดนติดต่อกับเชียงตุง ทางตะวันตกก็มีทางรถยนต์ติดต่อกับตองยี กับได้ทำความสัมพันธ์กับเจ้านายพื้นเมืองทางเชียงใหม่และลำปางโดยทางแต่งงานของราชบุตรเป็นต้น โดยได้ปฏิบัติงานเป็นที่เรียบร้อยและเป็นที่พอใจแก่อังกฤษซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคม จนรัฐบาลอังกฤษได้ยกให้เป็น C.I.E. (Companion of the Indian Empire) เจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง มีพระมเหสี 1 พระองค์ และมีพระสนม 5 คน มีราชโอรส-ธิดารวม 19 พระองค์ ได้แก.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าสิริสุวรรณราชยสสรพรหมลือ

้าฟ้าสิริสุวรรณราช ยสสรพรหมลือ (พรหมลือ ณ เชียงตุง) ราชบุตรในเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง เจ้าฟ้าเชียงตุงองค์ที่ 8 ประสูติแต่ "เจ้าแม่เมือง" (อัครมเหสี) แม่เจ้าปทุมมหาเทวี (ธิดาเจ้าเมืองสิง) ต่อมาพระองค์ได้เป็นเจ้าฟ้าเชียงตุงองค์ที่ 10 ต่อจากเจ้าพี่ ภายหลังเจ้าฟ้าพรหมลือได้อพยพเข้ามาอยู่ในไทยตราบจนพิราลั.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและเจ้าฟ้าสิริสุวรรณราชยสสรพรหมลือ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าราชบุตร (แก้วเมืองพวน ณ ลำปาง)

รองหัวหมื่น เจ้าราชบุตร (แก้วเมืองพวน ณ ลำปาง) (300px) เป็นผู้รั้งตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครลำปาง ต่อมาถึงแก่พิราลัยใน..

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและเจ้าราชบุตร (แก้วเมืองพวน ณ ลำปาง) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าราชวงศ์ (แก้วปราบเมรุ ณ ลำปาง)

ลตำรวจตรี เจ้าราชวงศ์ (แก้วปราบเมรุ ณ ลำปาง) เป็นอดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธร (ภาคเหนือ) คนแรกของกองบังคับการตำรวจภูธรภาคเหนือ และเป็นโอรสในเจ้าบุรีรัตน์ (บุญเลิศ ณ ลำปาง).

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและเจ้าราชวงศ์ (แก้วปราบเมรุ ณ ลำปาง) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวรจักร ณ เชียงตุง

้าวรจักร ณ เชียงตุง อดีตอาจารย์คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และผู้ริเริ่มก่อตั้งคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และเป็นนายกสมาคมนักเรียนเก่าอังกฤษแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและเจ้าวรจักร ณ เชียงตุง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าศรีรัตน์ ณ ลำปาง

้าศรีรัตน์ ณ ลำปาง เป็นเจ้านายฝ่ายเหนือ สายสกุล ณ ลำปาง เป็นเจ้านายฝ่ายเหนือที่มีบทบาทในสังคม เป็นผู้นำของกลุ่มเจ้านายสายสกุล ณ ลำปาง และเป็นประธานกรรมการมูลนิธิเจ้าพระญาสุลวะลือไชยสงคราม (พ่อเจ้าทิพย์ช้าง).

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและเจ้าศรีรัตน์ ณ ลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าศรีนวล ณ ลำปาง

้าศรีนวล ณ ลำปาง (ชื่อเดิม เจ้าสะเปาคำ หรือ เจ้าสำเภาคำ) เป็นราชธิดาในเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 13 องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ กับแม่เจ้าเมืองชื่น และเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการขึ้นรั้งตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครลำปาง ของเจ้าราชบุตร (แก้วเมืองพรวน ณ ลำปาง) ผู้เป็นสวามี ในปี..

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและเจ้าศรีนวล ณ ลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจักรคำขจรศักดิ์

ลตรี มหาอำมาตย์โท เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (120px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าทิพวรรณ ณ เชียงตุง

ณหญิง เจ้าทิพวรรณ ณ เชียงตุง (150px) (สกุลเดิม ณ ลำปาง, ประสูติ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2446 — พิราลัย 26 มีนาคม พ.ศ. 2532) พระธิดาในเจ้าไชยสงคราม (น้อยเบี้ย ณ ลำปาง) กับเจ้าฝนห่าแก้ว ณ ลำปาง และเป็นราชนัดดาในมหาอำมาตย์โท พลตรีเจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิต กับแม่เจ้าเมืองชื่น ณ ลำปาง และเจ้าทิพวรรณได้เสกสมรสกับเจ้าฟ้าสิริสุวรรณราช ยสสรพรหมลือ (พรหมลือ ณ เชียงตุง).

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและเจ้าทิพวรรณ ณ เชียงตุง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้านรนันทไชยชวลิต

้านรนันทไชยชวลิต (120px) เป็นเจ้านครลำปางองค์ที่ 12มงคล ถูกนึก.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและเจ้านรนันทไชยชวลิต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้านายฝ่ายเหนือ

้านายฝ่ายเหนือ หมายถึง เจ้านายผู้สืบเชื้อสายในราชวงศ์ที่เคยปกครองอาณาจักรหัวเมืองเหนือ ซึ่งเข้ามาเป็นประเทศราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช อันได้แก่ เจ้าในราชวงศ์ทิพย์จักรที่ปกครองนครเชียงใหม่ นครลำปาง และนครลำพูน ราชวงศ์น่านที่ปกครองนครน่าน และราชวงศ์เทพวงศ์ที่ปกครองนครแพร่ ในอดีตเจ้าผู้ครองนครต่าง ๆ มีอำนาจสิทธิ์ขาดปกครองดินแดนของตน แต่มีหน้าที่ต้องส่งเครื่องบรรณาการถวายราชสำนักสยามเพื่อแสดงความจงรักภักดีเท่านั้น อย่างไรก็ตามราชสำนักสยามได้เริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในราชสำนักประเทศราชหลายครั้ง จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงยกเลิกการปกครองแบบประเทศราชเพื่อรวมศูนย์อำนาจการปกครองไว้ที่กรุงเทพฯ โดยเฉพาะ ตำแหน่งเจ้าประเทศราชก็ให้สิ้นสุดเมื่อเจ้านครนั้นถึงแก่พิราลัย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือในราชวงศ์ทิพย์จักรยังคงมีการสืบทอดกันจากรุ่นสู่รุ่น และยังมีการรวมกลุ่มดำเนินกิจกรรมต่างๆ ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเมื่อปี..

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและเจ้านายฝ่ายเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

5 ตุลาคม

วันที่ 5 ตุลาคม เป็นวันที่ 278 ของปี (วันที่ 279 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 87 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและ5 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 พฤศจิกายน

วันที่ 6 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 310 ของปี (วันที่ 311 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 55 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตและ6 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

มหาอำมาตย์โท พลตรีเจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิตณ ลำปางเจ้าบุญวาทย์ วงษ์มานิตเจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิตเจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิต, เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ ๑๐

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »