เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เจ้าชายพระราชสวามี

ดัชนี เจ้าชายพระราชสวามี

้าชายพระราชสวามี (prince consort) หมายถึงพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถ แต่ไม่ได้เป็นพระมหากษัตริย์ตามสิทธิ์ของพระองค์เอง เจ้าชายพระราชสวามีที่ยังดำรงพระชนม์อยู่ในปัจจุบัน คือ เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี ใน สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก โดยทั่วไปผู้ที่เป็นพระราชสวามีอาจได้รับพระยศเป็นเจ้าชาย เจ้าชายพระราชสวามี หรือพระมหากษัตริย์พระราชสวามี ตามแต่สมเด็จพระราชินีนาถจะทรงแต่งตั้ง กรณีที่ "เจ้าชายพระราชสวามี" เป็นอิสริยยศ พบว่าใช้กับเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร ที่พระราชทานให้พระราชสวามีในปี..

สารบัญ

  1. 13 ความสัมพันธ์: พระมหากษัตริย์พระราชสวามีราชวงศ์สหราชอาณาจักรรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เดนมาร์กลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักรวิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮีสมเด็จพระราชินีนาถจอห์น โอเวน โดมินิสคามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอลโอกุสต์ เดอ โบอาร์แนเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์เจ้าชายเคลาส์แห่งเนเธอร์แลนด์เจ้าหญิงพระชายา

พระมหากษัตริย์พระราชสวามี

ระมหากษัตริย์พระราชสวามี หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิพระราชสวามี คือตำแหน่งของพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถ หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีนาถ มีพระอิสริยยศสูงกว่าเจ้าชายพระราชสวามี บางครั้งก็ถึอว่าเป็นชื่อเรียกอีกอย่างของสมเด็จพระราชาธิบดี เป็นอิศริยยศที่ไม่ค่อยปรากฏ เพราะส่วนใหญ่พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถจะทรงพระอิสริยศเป็นเจ้าชายพระราชสวามี อย่างไรก็ตามการสถาปนาพระมหากษัตริย์พระราชสวามีนั้นจะต้องมีความเห็นชอบจากรัฐสภาเสียก่อน เนื่องจากมีพระเกียรติยศสูงเสมอสมเด็จพระราชินีน.

ดู เจ้าชายพระราชสวามีและพระมหากษัตริย์พระราชสวามี

ราชวงศ์สหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถพร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จออกสีหบัญชร ณ พระราชวังบักกิงแฮม เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ.

ดู เจ้าชายพระราชสวามีและราชวงศ์สหราชอาณาจักร

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร

้าชายอัลเบิร์ตทรงเป็นคู่อภิเษกสมรสที่เป็นบุรุษพระองค์เดียวที่เคยได้รับพระอิสริยยศ ''เจ้าชายพระราชสวามี'' แทนที่ธรรมเนียมการเลื่อนลำดับพระอิสริยยศขึ้นในชั้น ''เพียเรจ'' ตามปกติ เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ คือคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์บริเตนองค์ปัจจุบัน คู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร ไม่ใช่พระสถานะหรือพระอำนาจตามรัฐธรรมนูญ แต่หลายพระองค์ทรงมีอิทธิพลอย่างมากต่อพระมหากษัตริย์บางพระองค์ เช่น พระองค์ปัจจุบัน เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ ที่ทรงช่วยเสริมสร้างพระบารมีขององค์พระประมุขด้วย ตั้งแต่การสถาปนาราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ มีคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรแล้วทั้งสิ้น 9 พระองค์ สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักรในช่วงปี..

ดู เจ้าชายพระราชสวามีและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก

ู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก จะดำรงพระอิศริยยศเป็น "สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก" ถ้าพระประมุขเป็นสตรี คู่อภิเษกสมรสจะได้รับพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายพระราชสวามี ในระหว่างที่ยังเป็นสหภาพคาลมาร์ตั้งแต่ปี..

ดู เจ้าชายพระราชสวามีและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก

ลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร

ลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร คือ ลำดับความสูงต่ำแห่งฐานันดรของสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ ไม่ว่าพระราชาหรือพระราชินีจะอยู่ในลำดับที่ 1 แห่งโปเจียมเสมอ ถ้าสมเด็จพระราชาธิบดีเป็นพระเจ้าแผ่นดิน พระมเหสีของพระองค์ (คือสมเด็จพระราชินีในรัชกาล) จะเป็นลำดับที่ 1 แห่งฝ่ายใน ในทางตรงกันข้ามไม่มีหลักเกณฑ์ใดๆ สำหรับเจ้าชายพระราชสวามี ดังนั้นพระองค์จะทรงพระดำเนินในลำดับที่เท่าใดนั้น ขึ้นอยู่กับพระบรมราชโองการ.

ดู เจ้าชายพระราชสวามีและลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร

วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี

วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี หรือเจ้าชายวิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี เจ้าชายพระราชสวามีแห่งตองกา (Viliami Tupoulahi Tungī Mailefihi) (พระราชสมภพ 1 พฤศจิกายน 1887) เป็นนายกรัฐมนตรีตองกาและพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถสโลเต ตูปูที่ 3 แห่งตองกา พระองค์เป็นสมาชิกราชวงศ์ตูปูผ่านทางการอภิเษกสมรส วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮีและสมเด็จพระราชินีนาถสโลเต ตูปูที่ 3 วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี เป็นบุตรของซิอาโอซิ ตูกูอาโฮ นายกรัฐมนตรีของตองกาตั้งแต่ 1890 ถึง 1893 พระองค์ได้รับเลือกจากพระเจ้าจอร์จ ตูปูที่ 2 แห่งตองกา ให้อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงสโลเต ตูปูเจ้าหญิงและรัชทายาทแห่งตองกา (ต่อมาคือ "สมเด็จพระราชินีนาถสโลเต ตูปูที่ 3 แห่งตองกา") เมื่อเจ้าหญิงสโลเต ตูปูครองราชย์ พระองค์จึงดำรงพระราชอิสริยยศเป็น "เจ้าชายพระราชสวามีแห่งตองกา" นอกจากนี้พระองค์ยังได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตองกาตั้งแต่ 1923 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี 1941.

ดู เจ้าชายพระราชสวามีและวิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี

สมเด็จพระราชินีนาถ

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ.

ดู เจ้าชายพระราชสวามีและสมเด็จพระราชินีนาถ

จอห์น โอเวน โดมินิส

้าชายจอห์น โอเวนแห่งฮาวาย พระราชสวามี หรือพระนามเดิม จอห์น โอเวน โดมินิส (John Owen Dominis) ทรงเป็นเจ้าชายพระราชสวามีแห่งราชอาณาจักรฮาวาย พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระราชินีนาถลีลีโอกาลานีแห่งฮาวาย พระองค์ทรงพ้นจากตำแหน่งเมื่อสมเด็จพระราชินีนาถลีลีโอกาลานีถูกโค่นล้มราชบัลลังก์โดยคณะกรรมาธิการรักษาความปลอดภัย ซึ่งเป็นกลุ่มที่จัดขึ้นโดยนักธุรกิจชาวอเมริกันและชาวยุโรปที่พยายามจะแสวงหาผลกำไรจากราชอาณาจักรฮาว.

ดู เจ้าชายพระราชสวามีและจอห์น โอเวน โดมินิส

คามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล

มิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล หรือพระนามเดิม คามิลลา โรสแมรี หรือที่รู้จักกันในพระนาม คามิลลา พาร์กเกอร์ โบลส์ (Camilla, Duchess of Cornwall; ประสูติเมื่อ 17 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู เจ้าชายพระราชสวามีและคามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล

โอกุสต์ เดอ โบอาร์แน

อกุสต์ เดอ โบอาร์แน (Auguste de Beauharnais; 9 ธันวาคม 1810 - 28 มีนาคม 1835) เป็นเจ้าชายพระราชสวามีพระองค์แรกในสมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 2 แห่งโปรตุเกส นอกจากนี้พระองค์ยังเป็นดยุกแห่งเลาช์เทนเบิร์ก เจ้าชายแห่งไอ-ชเต็ท และดยุกแห่งซานตาครูซในสิทธิของพระองค์เอง โอกุสต์ เดอ โบอาร์แน ประสูติเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..

ดู เจ้าชายพระราชสวามีและโอกุสต์ เดอ โบอาร์แน

เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์

้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ (HRH the Prince Charles, The Prince of Wales) พระนามเต็ม ชาลส์ ฟิลิป อาร์เธอร์ จอร์จ; พระราชสมภพ 14 พฤศจิกายน..

ดู เจ้าชายพระราชสวามีและเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์

เจ้าชายเคลาส์แห่งเนเธอร์แลนด์

้าชายเคลาส์แห่งเนเธอร์แลนด์ (His Royal Highness Prince Claus of the Netherlands) ทรงเป็นเจ้าชายพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ ตั้งแต่ปี..

ดู เจ้าชายพระราชสวามีและเจ้าชายเคลาส์แห่งเนเธอร์แลนด์

เจ้าหญิงพระชายา

้าหญิงพระชายา คือตำแหน่งของพระชายาในเจ้าชายผู้เป็นประมุขราชรัฐ กรณีที่เป็นคู่สมรสของพระมหากษัตริย์ อาจเรียกว่า "เจ้าหญิงพระราชชายา" ถ้าพระภรรยาเจ้าพระองค์นั้นไม่ได้รับพระอิสริยยศเป็น "สมเด็จพระราชินี" นอกจากนี้ สตรีใด ๆ ที่ได้เสกสมรสกับพระราชวงศ์ ก็เรียกว่า "เจ้าหญิงพระชายา" เช่นกัน ปัจจุบันมีผู้ดำรงพระอิสริยศเจ้าหญิงพระชายา 3 พระองค์คือ เจ้าหญิงมารีแห่งลิกเตนสไตน์ เจ้าหญิงชาร์ลีนแห่งโมนาโก และ เจ้าหญิงลัลลา ซัลมา แห่งโมร็อกโก.

ดู เจ้าชายพระราชสวามีและเจ้าหญิงพระชายา