สารบัญ
160 ความสัมพันธ์: บริตป็อปบอร์นทูดาย (อัลบั้ม)บับเบิลกัมป็อปบันทึกการแสดงสดที่แมนฮัตตันคลับบายเดอะเกรซออฟกอด (เพลง)ชิบุยะเคชิลล์เอาต์ชิคาโกเฮาส์บิ๊กบีตชูเกซซิงช็อง ยง-ฮวาพอล ฮาร์ตนอลล์พอล โอกเคนโฟลด์พังก์ร็อกพาวเวอร์ป็อปกอทิกร็อกการาจเฮาส์กีตาร์เบสมารายห์ แครีมาร์ชแมลโลมิวส์ (วงดนตรี)มิดิยูโรบีตยูโรแดนซ์ยูเคการาจรักก้ารายชื่อสมาชิกของแบล็ค ซับบาธริงโงะ ชีนะร็อกลอสท์โพรเฟ็ทส์ลิฟวิงทิงส์ลิล จอนลิงคินพาร์กลิ่มนิ้วลูกทุ่งดิสโก้ชุดที่ 1ลูกทุ่งดิสโก้ชุดที่ 2วีโซลด์เอาเออร์โซลฟอร์ร็อกเอ็นโรลล์วณิพก (อัลบั้ม)วงดนตรีสมูธแจ๊สสลิปน็อตสุรสีห์ อิทธิกุลสุขาอยู่หนใดสตีวี วันเดอร์ออลอะเบาต์แดตเบสออลเทอร์นาทิฟฮิปฮอปออลเทอร์นาทิฟแดนซ์อะวีชีอะไลต์แดตเนเวอร์คัมส์อันทิลอิตส์กอน (เพลงลิงคินพาร์ก)... ขยายดัชนี (110 มากกว่า) »
บริตป็อป
ริตป็อป (Britpop) เป็นแนวเพลงย่อยของป็อปร็อกและออลเทอร์นาทิฟร็อกที่เกิดขึ้นในสหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมครั้งใหญ่ครั้งหนึ่งของอังกฤษช่วงกลางยุค 1990 ในเพลงจะเน้นความเป็นอังกฤษ ท่าทางและสว่างไสวแบบเพลงป็อป ที่ต้องการแสดงปฏิกิริยาต่อเพลงแนวกรันจ์จากอเมริกาและชูเกซซิงจากอังกฤษ วงบริตป็อปที่ประสบความสำเร็จและรู้จักกันมากที่สุดคือ โอเอซิส, เบลอ, พัลป์, และ สเวด ถึงแม้ว่าบริตป็อปจะถูกมองว่าเป็นเครื่องมือสื่อสารการตลาดมากกว่าทางวัฒนธรรมในการอ้างถึงแนวดนตรี แต่มีวงบริตป็อปได้อิทธิพลจากดนตรีอื่นเช่นองค์ประกอบจากเพลงป็อปอังกฤษในยุค 1960 แกลมร็อกและพังก์ร็อกในยุค 1970 และอินดี้ป็อปในยุค 1980 แม้กระทั่งทัศนคติและเครื่องแต่งกายที่ได้อิทธิพลจากมอร์ริสซีย์นักร้องนำวงเดอะสมิธส์ที่ได้ทำให้นึกถึงบริเตน บริตป็อปมุ่งเน้นวงดนตรีจากพวกเพลงใต้ดินในช่วงต้นยุค 1990 ที่เกี่ยวข้องกับคูลบริทานเนียซึ่งต่อจากแฟชันแบบสวิงกิงซิกซ์ตีส์และความเสื่อมคลายของดนตรีแบบกีตาร์ป็อปของอังกฤษHarris, pg.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและบริตป็อป
บอร์นทูดาย (อัลบั้ม)
อร์นทูดาย (Born to Die) คือสตูดิโออัลบั้มลำดับที่สองของลานา เดล เรย์ นักร้อง นักแต่งเพลงหญิงชาวอเมริกัน ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและบอร์นทูดาย (อัลบั้ม)
บับเบิลกัมป็อป
ับเบิลกัมป็อป (Bubblegum pop หรือรู้จักในชื่อ ดนตรีบับเบิลกัม หรือสั้น ๆ ว่า บับเบิลกัม) เป็นแนวเพลงป็อปที่มีจังหวะเร็ว โดยมุ่งตลาดที่ผู้ฟังช่วงก่อนวัยรุ่นและวัยรุ่น ซึ่งอาจผลิตขึ้นโดยกลุ่มโปรดิวเซอร์ที่อยู่ในสายการผลิตนี้และมักใช้นักร้องที่ไม่เป็นที่รู้จัก เพลงบับเบิลกัมยุคคลาสสิก อยู่ในระหว่างปี..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและบับเบิลกัมป็อป
บันทึกการแสดงสดที่แมนฮัตตันคลับ
ันทึกการแสดงสดที่แมนฮัตตันคลับ เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 2 ของวง แกรนด์เอ็กซ์ จัดจำหน่ายครั้งแรกเมื่อเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและบันทึกการแสดงสดที่แมนฮัตตันคลับ
บายเดอะเกรซออฟกอด (เพลง)
"บายเดอะเกรซออฟกอด" (By the Grace of God) เป็นเพลงของนักร้องชาวอเมริกัน เคที เพร์รี จากสตูดิอัลบั้มที่สี่ ปริซึม (2013) เป็นเพลงสุดท้ายของอัลบั้ม เพลงเขียนและผลิตโดยเพร์รี และโปรดิวเซอร์เพลงชาวแคนาดา เกร็ก เวลส์ เพลงเกิดขึ้นจากการหย่าร้างระหว่างเพร์รีกับนักแสดงและนักตลกชาวอังกฤษ รัสเซลล์ แบรนด์ เดิมเพร์รีตั้งใจจะทำให้เป็นอัลบั้มที่ "มืดลง" แต่ได้ลดระดับเหลือแค่เป็นเพลงที่ "มืดลง" แทน ในเนื้อเพลงเป็นการบอกเล่าอัตชีวประวัติเล่าถึงความเข้มแข็งและการยืนหยัดด้วยตนเอง เพลงถูกเปิดเผยครี่งแรกในงานไอทูนส์เฟสติวัล 2013 หลังจากออกอัลบั้มปริซึม "บายเดอะเกรซออฟกอด" ได้รับคำวิจารณ์โดยทั่วไปเป็นที่ชื่นชอบ นักวิจารณ์ยกย่องความทนทานของเพลงและเลือกให้เป็นเพลงโดดเด่นจากอัลบั้ม แต่ตำหนิเรื่องลำดับในเพลง หลังจากอัลบั้มออกจำหน่าย เพลงเข้าชาร์ตเพลงหลายชาร์ต เนื่องจากยอดดาวน์โหลดสูง.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและบายเดอะเกรซออฟกอด (เพลง)
ชิบุยะเค
ชิบุยะเค เป็นแนวเพลงย่อยของเจป็อปเกิดขึ้นที่ย่านชิบุยะในเมืองโตเกียว เป็นแนวที่รวมดนตรี อีเลกโทรป็อป แจ๊ส ป็อป เข้าด้วยกัน โดยมีศิลปินชิบุยะเคอิยุคแรกอย่าง Flipper's Guitar และ Pizzicato Five หมวดหมู่:แนวดนตรี.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและชิบุยะเค
ชิลล์เอาต์
ชิลล์เอาต์ (Chillout music) เป็นแนวดนตรีดนตรีอิเล็กทรอนิกส์เกิดขึ้นในยุโรปและสหราชอาณาจักรช่วงต้นถึงกลางคริสต์ทศวรรษ 1990 เพลงจะถูกแต่งขึ้นจาก ซอฟต์แวร์ และ เครื่องสังเคราะห์เสียง เป็นหลัก เป็นแนวเพลงที่มีจังหวะ ช้าๆ ฟังสบาย ผ่อนคลาย คลายเครียด คลายอารมณ์ ในบางครั้งก็สำหรับเป็นพื้นหลังประกอบกิจกรรม ชิลล์เอาต์ ยังเป็นแนวเพลงที่เชื่อมโยงกับดนตรีแอมเบียนต์ ทริป-ฮอป นูแจ๊ซ แอมเบียนต์เฮาส์ แอมเบียนแทรนซ์ นิวเอจและแนวเพลงย่อยอื่นของ ดาวน์เท็มโป และในบางครั้งแนวเพลงอีซีลิสเทนนิง อย่างดนตรีเลาจ์ ก็ถือเป็นแนวเพลงชิลล์เอาท์ด้วยเช่นกัน หมวดหมู่:แนวดนตรี.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและชิลล์เอาต์
ชิคาโกเฮาส์
กเฮาส์ (Chicago house) เป็นแนวดนตรีเฮาส์ในลักษณะคลับ/แดนซ์ กำเกิดขึ้นที่ ไนท์คลับ ที่มีชื่อ Warehouse ในเมืองชิคาโกในช่วงทศวรรษ 1980 แฟรงกี นักเคิลส์ เป็นโปรดิวเซอร์เพลง และ มือรีมิกซ์ ได้พัฒนาดนตรีเฮาส์ตลอดทศวรรษ 1980 เบสซินธิไซเซอร์ The Roland TB-303.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและชิคาโกเฮาส์
บิ๊กบีต
กบีต (Big beat) (หรือ เคมิคอลเบรก) เป็นคำที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ทศวรรษ 1990 โดยสื่อมวลชนอังกฤษที่อธิบายถึงแนวดนตรีของศิลปินอย่าง เดอะเคมิคอลบราเทอร์ส แฟตบอยสลิม เดอะคริสตอลเมธอด โพรเพลเลอร์เฮดส์ และเดอะโพรดิจี ที่เป็นแบบฉบับในการผลักดัน โดยใช้จังหวะเบรกบีตหนัก ๆ เข้ากับการวนไปมาจากเครื่องสังเคราห์และรูปแบบทั่วไปของรูปแบบดนตรีแนวอีเลกโทรนิกอย่างเช่น เทคโนและแอซ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและบิ๊กบีต
ชูเกซซิง
ูเกซซิง (shoegazing) หรือ ชูเกซ (shoegaze) เป็นแนวดนตรีของออลเทอร์นาทิฟร็อกที่เกิดขึ้นในสหราชอาณาจักรช่วงปลายคริสต์ทศวรรษที่ 1980 โดยมีศิลปินบุกเบิกอย่างวง มายบลัดดีวาเลนไทน์, ลัช, สโลว์ไดฟ์, แชปเตอร์เฮาส์, และ ไรด์ จนถึงกลางคริสต์ทศวรรษ 1990 มีจุดสูงสุดในช่วงปี..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและชูเกซซิง
ช็อง ยง-ฮวา
็อง ยง-ฮวา (Jung Yong-hwa;; 22 มิถุนายน 1989 เป็นนักดนตรี นักร้อง นักแต่งเพลงและนักแสดงชาวเกาหลี ช็อง ยง-ฮวา เริ่มต้นการแสดงครั้งแรกในบทบาท คัง ชินวู ในซีรีส์เรื่อง You're Beautiful เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2009 และ เล่นเป็นตัวนำชายในบทบาทของ ลี ชิน ในซีรีส์เรื่อง Heartstrings และ ช็อง ยง-ฮวา ยังเป็นนักร้องนำและมือกีตาร์ของวง ซีเอ็นบลู.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและช็อง ยง-ฮวา
พอล ฮาร์ตนอลล์
อล ฮาร์ตนอลล์ (Paul Hartnoll) เกิดเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1968 ในดาร์ทฟอร์ด เคนต์ เป็นสมาชิกวงออร์บิทัล.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและพอล ฮาร์ตนอลล์
พอล โอกเคนโฟลด์
อล มาร์ก โอกเคนโฟลด์ (Paul Mark Oakenfold) เกิดวันที่ 30 สิงหาคม..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและพอล โอกเคนโฟลด์
พังก์ร็อก
ังก์ร็อก เป็นดนตรีร็อกประเภทหนึ่ง (โดยมากมักเรียกสั้นๆว่า พังก์) มีการเคลื่อนไหวและเป็นที่รู้จักในช่วงกลางทศวรรษที่ 1970 พังก์ร็อกได้พัฒนาระหว่างปี 1974 และ 1977 ในสหรัฐอเมริกา,สหราชอาณาจักร และ ออสเตรเลีย โดยมีวงอย่าง เดอะราโมนส์, เซ็กซ์พิสทอลส์ และ เดอะแคลช ที่เป็นที่รู้จักในฐานะแนวหน้าของดนตรีประเภทนี้ ลักษณะดนตรีแบบ พังก์ร็อกมีลักษณะท่วงทำนองที่รุนแรง หยาบกระด้าง ด้วยความขาดทักษะของการเล่นดนตรี ส่วนการร้องก็จะเป็น "ตะโกน"หรือ "บ่น" และแฝงนัยยะของ "การต่อต้าน " และการยกย่อง "ความเป็นเลิศ" เครื่องดนตรีจะประกอบด้วย กีตาร์ไฟฟ้า 1 หรือ 2 ตัว,เบสไฟฟ้าและชุดกลอง มักมีการเล่นแบบ 2 คอร์ด เพลงพังก์มักมีความยาวระหว่าง 2 ถึง 2 นาทีครึ่ง มีบางเพลงมีความยาวน้อยกว่า 1 นาทีก็มี เพลงพังก์ในช่วงแรกรับอิทธิพลจากร็อกแอนด์โรลคือมีท่อนประสานเสียง พังก์ร็อกกลายเป็นกระแสนิยมหลักในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปลายทศวรรษที่ 1970 แต่ความโด่งดังในที่อื่นมีในจำกัด จนกระทั่งทศวรรษที่ 80 พังก์ร็อกได้เป็นที่รู้จักในกลุ่มเล็กๆ ทั่วทุกมุมโลก ส่วนมากจะถูกปฏิเสธจากดนตรีกระแสหลัก ในช่วงปลายยุคทศวรรษที่ 1970 ดนตรีพังก์ร็อกได้แตกแยกแขนง ไปหลากหลายทิศทาง เช่นเพลงแนว นิวเวฟ, โพสต์พังก์ โดยหลายวงได้ทำการทดลองแนวดนตรีไปในทิศทางอื่น เช่นแนวฮาร์ดคอร์พังก์ และ ออย! และ อะนาร์โค-พังก์ เป็นต้น และพังก์ร็อกยุคใหม่ได้พัฒนาไปอีกขึ้น โดยเพลงแนวออลเทอร์นาทิฟร็อกได้รับความนิยมเหมือนตอนที่ได้พังก์ร็อกรับความนิยมในช่วงแรก.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและพังก์ร็อก
พาวเวอร์ป็อป
วเวอร์ป็อป (Power pop หรือ powerpop) เป็นแนวเพลงป็อปที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากเพลงป็อปและร็อกในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 1960 โดยทั่วไปแล้วเป็นการรวมด้านดนตรีอย่างเช่น ใช้เมโลดี้ที่แข็งแกร่ง เสียงร้องที่ดูสะอาดกลมกลืน การเรียบเรียงอย่างง่าย ๆ และท่อนริฟฟ์กีตาร์ที่เด่นชัด เครื่องดนตรีเดี่ยว ๆ มักเก็บไว้น้อยที่สุดและมีการใช้องค์ประกอบของเพลงบลูส์ที่ใช้ไม่มาก การบันทึกเสียงมีแนวโน้มว่าจะใช้การผลิตที่ใช้เสียงจังหวะกลองอัด เครื่องดนตรีมักจะประกอบด้วย กีตาร์ไฟฟ้า กีตาร์เบสไฟฟ้า กลองชุด และบางครั้งใช้คีย์บอร์ดไฟฟ้าหรือเครื่องสังเคราะห์เสียง ขณะที่เพลงแนวนี้มีอิทธิพลมาหลายทศวรรษ และยังคงเป็นแนวย่อยของร็อกที่คงทนจนมาถึงปัจจุบัน.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและพาวเวอร์ป็อป
กอทิกร็อก
กอทิกร็อก (Gothic rock) หรือบางครั้งเรียก กอทร็อก (goth rock) หรือ กอท (goth) เป็นแนวเพลงย่อยของดนตรีออลเทอร์นาทิฟ เริ่มมีมาตั้งแต่ช่วงปลายยุคทศวรรษ 1970 วงประเภทกอทิกร็อกเติบโตขึ้นจากการพัฒนาของดนตรีพังก์ร็อกอังกฤษ และการเกิดขึ้นของโพสต์-พังก์ และด้วยแนวเพลงแล้วได้แยกออกมาจากกระแสของพังก์ร็อกมาตั้งแต่ทศวรรษ 1980 อันเนื่องมาจากความแตกต่างอย่างชัดเจนของรูปแบบ กอทิกร็อกยังต่อต้านพังก์ มีความมืดหม่น มักใช้คีย์บอร์ดอย่างหนักด้วยเนื้อเพลงที่ใคร่ครวญ หดหู่ วงกอทิกร็อกที่เป็นที่รู้จักเช่นวง Bauhaus, The Cure, Siouxsie & the Banshees, และ The Sisters of Mercy ดนตรีกอทิกร็อกยังทำให้เกิดวัฒนธรรมย่อยต่าง ๆ เช่น แฟชั่น และสิ่งพิมพ์หลายสื่อเติบโตและได้รับความนิยมในยุคทศวรรษ 1980 จากนั้นความนิยมในดนตรีกรันจ์ในสหรัฐอเมริกามีมากจนทำให้กระแสของกอทิกร็อกค่อย ๆ จางหายไปจากดนตรีกระแสหลัก แต่ก็ยังคงอยู่ในเพลงใต้ดินอย่างกว้างขวาง.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและกอทิกร็อก
การาจเฮาส์
การาจเฮาส์ (garage house) หรือ ดนตรีการาจ (garage music) เป็นแนวดนตรีแดนซ์ที่ได้รับการพัฒนาคู่กับดนตรีเฮาส์ ซึ่งเพื่มดนตรีอาร์แอนด์บีเข้ามาที่ถูกพัฒนาขึ้นในพาราไดซ์การาจ (Paradise Garage) ไนต์คลับในนิวยอร์กซิตีและคลับแซนซิบาร์ในนิวเจอร์ซีย์ ในช่วงต้นถึงกลางยุค 1980 โดยมักจะเกี่ยวข้องกับดนตรีเฮาส์ยุคแรก ถึงแม้ว่าสองแนวดนตรีจะแตกต่างกันอย่างมาก แต่ชิคาโกเฮาส์ได้ถูกการพัฒนาหน้านี้และตามที่ AllMusic ได้อธิบายว่า ค่อนข้างทีความใกล้ชิดกับดิสโก้มากกว่าแนวเพลงแดนช์อื่นๆ ในขณะที่ชิคาโกเฮาส์ได้รับความนิยมทั่วโลก ดนตรีการาจดิสโก้ได้ถูกจำแนกกับดนตรี.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและการาจเฮาส์
กีตาร์เบส
ป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย ในทางสากลสามารถเรียกได้ทั้ง electric bass (เบสไฟฟ้า), electric bass guitar (กีตาร์เบสไฟฟ้า) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า bass (เบส) ลักษณะของเบสมีขนาดใหญ่กว่ากีตาร์ มีโครงสร้างของคอที่ใหญ่และยาวกว่า มีย่านความถี่เสียงต่ำ มีหน้าที่โดยหลัก ๆ ในการให้จังหวะ คือคุมจังหวะตาม rhythm, line, pattern และ groove ของดนตรี ในขณะเดียวกันก็สามารถขยายระดับความสามารถการเล่นให้สูงขึ้นตามแนวเพลงและการประยุกต์ใช้ต่าง ๆ เช่น เทคนิคการ Slap หรือการตบเบส (รวมไปถึงเทคนิคอื่นที่ใช้ร่วมกันกับการ Slap) ในดนตรี Funk, Jazz และอีกหลายแนว การ Tapping การเดิน Improvising การเล่น Harmonics การเล่น Picking เป็นต้น เบสไฟฟ้าจัดว่าเป็นเครื่องดนตรีที่ถือกำเนิดหลังเครื่องดนตรีอื่น ๆ ในประเภทวงสตริงคือสร้างขึ้นหลัง กีตาร์ กลอง คีย์บอร์ดหรือซินธิไซเซอร์ (รายละเอียดจะมีในหัวข้อประวัติ) เครื่องดนตรีประเภทเบสที่ใช้กันในวงดนตรีและแนวต่าง ๆ ก็จะมี เบสไฟฟ้า เบสโปร่งไฟฟ้า fretless bass (เบสไม่มีเฟรต) และ double bass, upright bass บ้างทีก็เรียกกันว่า acoustic bass แต่ก็มีภาษาพูดเรียกกันติดปากสำหรับนักดนตรีบางคนว่า เบสใหญ่ เบสไฟฟ้าที่ใช้โดยทั่วไปจะมี 4 สาย 5 สาย และ 6 สาย ส่วนสายที่มากไปกว่านี้ก็มีเนื่องจากนักดนตรีบางคนอาจจะออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้ทางการเล่นเฉพาะตัว เบส 4 สายการตั้งสายตามมาตรฐานคือ E-A-D-G (เรียงจากต่ำ-สูง) เบส 5 สายคือ B-E-A-D-G ส่วน 6 สายคือ B-E-A-D-G-C แต่อย่างไรก็ตามเบสก็ได้ถูกขยายขอบเขตออกไปตามแนวคิดและการประยุกต์ใช้ของมือเบสต่าง ๆ จำนวนสายก็อาจจะมีอื่น ๆ อีก เช่น 3 สาย, 7 สาย, 8 สาย, 9 สาย เป็นต้น.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและกีตาร์เบส
มารายห์ แครี
ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ มารายห์ แครี (อัลบั้ม) มารายห์ แครี (เกิด 27 มีนาคม ค.ศ. 1970) เป็นนักร้องชาวอเมริกา นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์เพลง และนักแสดง เธอมีผลงานเปิดตัวครั้งแรกในปี..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและมารายห์ แครี
มาร์ชแมลโล
ริสโตเฟอร์ คอมสต็อก (Christopher Comstock) (เกิดวันที่ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1992) รู้จักกันดีในชื่อ มาร์ชแมลโล เป็นโปรดิวเซอร์เพลง แนวอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ชาวอเมริกัน และ ดีเจ เขาเป็นที่ได้รับการยอมรับครั้งแรกจากนานาชาติโดยการเรียบเรียงเพลงด้วยกับ Jack Ü และเซดด์ และหลังจากร่วมงานกับศิลปินรวมถึง Omar LinX, Ookay, Jauz และ Slushii ในเดือนมกราคม 2017 เพลงของเขา "Alone" ได้ปรากฏอยู่ในชาร์ตของ Billboard Hot 100 ในสหรั.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและมาร์ชแมลโล
มิวส์ (วงดนตรี)
มิวส์ (Muse) เป็นกลุ่มศิลปินแนวโปรเกรสซีฟร็อกมาจาก Teignmouth ในประเทศอังกฤษ ที่ก่อตั้งวงในปี 1994 เจ้าของรางวัลในสาขา สุดยอดการแสดงสดที่ดีที่สุด, สุดยอดวงร็อก/อินดี้แห่งปี, สุดยอดโชว์แห่งปี จากหลากสถาบันตั้งแต่ปี 2000 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันกับรางวัลที่ได้รับในปีนี้ อาทิ สุดยอดการแสดงสด BEST LIVE ACT OF 2007 จากงาน Q Magazine Awards, สุดยอดวงร็อก / อินดี้ BEST ROCK / INDIE BAND OF 2007 จากงาน The Digital Music Awards, รางวัลทัวร์คอนเสิร์ตแห่งปี TOUR OF THE YEAR AWARD 2007 จากงาน Vodafone Live Music Awards, "The Greatest Show on Earth" จากนิตยสาร NME ฉบับ 25 พฤศจิกายน 2006 เป็นต้น มิวส์ประกอบด้วยสมาชิก 3 คน Matthew Bellamy, Chris Wolstenholme และ Dominic Howard ทั้งสามคนเป็นเพื่อนกันตั้งแต่เริ่มตั้งวงในต้นปี..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและมิวส์ (วงดนตรี)
มิดิ
ื่อโน้ตและหมายเลขโน้ตมิดิ มิดิ หรือ มาตรฐานการประสานเครื่องดนตรีแบบดิจิทัล (Music Instrument Digital Interface: MIDI) เป็นโพรโทคอลมาตรฐานที่คิดค้นขึ้นเมื่อปี พ.ศ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและมิดิ
ยูโรบีต
ูโรบีต (Eurobeat) เป็นแนวเพลงเต้นที่เล่นด้วยเครื่องดนตรีไฟฟ้าแนวหนึ่ง.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและยูโรบีต
ยูโรแดนซ์
ูโรแดนซ์ (Eurodance) เป็นแนวเพลงในลักษณะคลับ/แดนซ์ ของชาวยุโรปในช่วงทศวรรษ 1980 และ 1990 ยูโรแดนซ์ได้รับอิทธิพลจากเพลงแนวดิสโก้ ไฮ-เอ็นอาร์จี ดนตรีเฮาส์ และ ฮิบฮอบ อีกทั้งยังประกอบการบันทึกเสียงด้วยเครื่องสังเคราะห์เสียงและดรัมแมชชีน ในส่วนภาคการผลิตโปรดิวเซอร์จะรับผิดชอบด้านการผลิตมากกว่าตัวนักร้อง และเช่นเดียวกับแนวเพลงใกล้เคียงอย่างยูโรป็อป คือมักมีความเรียบง่าย เบาบางและติดหู กับเนื้อเพลงที่เบา ๆ ร้องซ้ำ ๆ ที่ผู้ฟังไม่จำเป็นต้องมาตีความมากนักสำหรับผู้พูดภาษาอื่น ยูโรแดนซ์กลายเป็นกระแสนิยมหลักในสหราชอาณาจักรและยุโรปตั้งแต่ปลายทศวรรษที่ 90 แต่ความโด่งดังในที่อื่นมีในจำกัด จนกระทั่งทศวรรษที่ 90 ยูโรแดนซ์ได้เป็นที่รู้จักในกลุ่มเล็กๆ ทั่วทุกมุมโลก ส่วนมากจะถูกปฏิเสธจากดนตรีกระแสหลัก ในช่วงปลายยุคทศวรรษที่ 90 ดนตรียูโรแดนซ์ได้แตกแยกแขนง ไปหลากหลายทิศทาง เช่นเพลงแนว บับเบิลกัมแดนซ์, ยุโรแทรนซ์ และ อิตาโอแดนซ์ เป็นต้น และยูโรแดนซ์ยุคใหม่ได้พัฒนาไปอีกขึ้น โดยเพลงแนว แทรนซ์และยูโรแทรนซ์ได้รับความนิยมเหมือนตอนที่ได้ยูโรแดนซ์รับความนิยมในช่วงแรก.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและยูโรแดนซ์
ยูเคการาจ
ูเคการาจ หรือเรียกว่า UKG หรือบางครั้งเรียกว่า การาจ เฉยๆ คือ แนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ทันสมัย ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาดนตรีเฮาส์ในสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษ 1990 คำว่าการาจนี้ ในสหรัฐอเมริกาจะมีความหมายไม่เหมือนในสหราชอาณาจักร การพัฒนาของดนตรีเฮาส์ในสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษ 1990 เริ่มจากคลับที่ชื่อ Paradise Garage ที่พัฒนาแนวเพลงใหม่ที่เรียกว่า สปีดการาจ ในช่วงปลายทศวรรษ 1990 คำว่า ยูเคการาจ ก็มีความหมายถึงในซีนนี้ แนวเพลงของการาจมักจะรวมเพลงอย่าง ฮิปฮอป แร็ป และอาร์แอนด์บี ภายใต้ชื่อ เออร์เบิร์นมิวสิก.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและยูเคการาจ
รักก้า
ดนตรีรักก้ามัฟฟิน (Raggamuffin music) หรือย่อว่า รักก้า (Ragga) เป็นแนวเพลงย่อยของแดนซ์ฮอลหรือเร้กเก้ ที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีหลักอย่าง ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ และเช่นเดียวกับดนตรีฮิปฮอป คือมักใช้แซมพลิง รักก้า ในปัจจุบันมักมีความหมายเดียวกับแดนซ์ฮอล เร้กเก้ ที่ดีเจจะทำหน้าที่พูดคุย มากกว่าการเลือกเพลง ถูแผ่น หรือร้องในต้นเพลงริดดิม หมวดหมู่:แนวดนตรี.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและรักก้า
รายชื่อสมาชิกของแบล็ค ซับบาธ
ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของนักดนตรีที่เป็นสมาชิกของวงเฮฟวี่เมทัล วง แบล็ค ซับบาธ ตั้งแต่การก่อตั้งในเบอร์มิงแฮมในปี 1969 จนถึงในปัจจุบันประกอบด้วยสามในสี่ของสมาชิกดั้งเดิมของวงดนตรี นักร้องนำของวงออซซี ออสบอร์น มือกีต้าร์โทนี อิออมมีและมือเบส กีเซอร์ บัตเลอร.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและรายชื่อสมาชิกของแบล็ค ซับบาธ
ริงโงะ ชีนะ
มิโกะ ชีนะ หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปในชื่อของ ริงโงะ ชีนะ เป็นนักร้องชาวญี่ปุ่น นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ดนตรี เธอเป็นนักร้องนำของวงโตเกียว จิเฮ็น.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและริงโงะ ชีนะ
ร็อก
ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและร็อก
ลอสท์โพรเฟ็ทส์
ลอสท์โพรเฟ็ทส์ (Lostprophets) เป็นวงอัลเทอร์เนทีฟจาก เวลส์, สหราชอาณาจักร ก่อตั้งวงในปี ค.ศ. 1997 เจ้าของรางวัล เคอร์แรง! อวอร์ด ในฐานะวงอังกฤษหน้าใหม่ยอดเยี่ยมประจำปี 2001 จากอัลบั้มเปิดตัว "thefakesoundofprogress".
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและลอสท์โพรเฟ็ทส์
ลิฟวิงทิงส์
ลิฟวิงทิงส์ (Living Things) เป็นสตูดิโออัลบั้มที่ 5 ของวงดนตรีร็อกชาวอเมริกัน ลิงคินพาร์ก อัลบั้มนี้ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและลิฟวิงทิงส์
ลิล จอน
นาธาน มอร์ติเมอร์ สมิธ (Jonathan Mortimer Smith) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ลิล จอน (Lil Jon) เกิดเมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 1971 เป็นนักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ โปรโมเตอร์และแร็ปเปอร์ชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงในฐานะผู้บุกเบิกแนวเพลงย่อยฮิปฮอป "ครังก์" ผลงานเขาเป็นที่โดดเด่นในลักษณะการตะโกนคำอย่าง คำว่า "What?!","Hey!", "Yeah!", และ "Okay!" ที่มีการนำไปเลียนแบบโดยนักแสดงตลก เดฟ แชปเปล.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและลิล จอน
ลิงคินพาร์ก
ลิงคินพาร์ก เป็นวงดนตรีร็อกชาวอเมริกันจากอะกูราฮิลส์ รัฐแคลิฟอร์เนีย ก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและลิงคินพาร์ก
ลิ่มนิ้ว
ผังลิ่มนิ้วทั่วไป (แสดง 3 อ็อกเทฟ) ลิ่มนิ้วที่อยู่บนแกรนด์เปียโน ลิ่มนิ้ว หรือ คีย์บอร์ด คือชุดของก้านเสียงหรือคีย์ที่อยู่ติดกันซึ่งสามารถกดด้วยนิ้วได้ เป็นส่วนประกอบของเครื่องดนตรีหลายชนิด ปกติลิ่มนิ้วมักจะมีคีย์ในการเล่นชุดละ 12 ก้านเสียงสำหรับบันไดเสียงแบบตะวันตก มีทั้งอันสั้นและอันยาวประกอบกันและวนซ้ำกันไปเรื่อยในช่วงอ็อกเทฟ การกดคีย์บนลิ่มนิ้วจะทำให้เครื่องดนตรีนั้นส่งเสียงออกมา ไม่ว่าจะด้วยวิธีการเคาะสายสตริงหรือเดือยแหลม (สำหรับเปียโน เปียโนไฟฟ้า แคลฟวิคอร์ด) การดีดสายสตริง (ฮาร์ปซิคอร์ด) การทำให้อากาศไหลผ่านท่อ (ออร์แกน) หรือการตีระฆัง (แคริลลอน) ส่วนในเครื่องดนตรีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ การกดคีย์จะทำให้เกิดการเชื่อมต่อในแผงวงจร (แฮมมอนด์ออร์แกน เปียโนดิจิทัล ซินทีไซเซอร์) และเนื่องจากเครื่องดนตรีประเภทลิ่มนิ้วที่เป็นแบบสามัญที่สุดคือเปียโน ผังลิ่มนิ้วจึงอาจเรียกว่าเป็น คีย์บอร์ดเปียโน ปกติแล้วลิ่มนิ้วอันยาวจะเป็นสีขาว มี 7 อันในหนึ่งอ็อกเทฟ ไล่เรียงไปตามบันไดเสียง C เมเจอร์ (C D E F G A B) ส่วนลิ่มนิ้วอันสั้นเป็นสีดำ มี 5 อันในหนึ่งอ็อกเทฟ จะอยู่ระหว่างลิ่มนิ้วสีขาว เป็นครึ่งขั้นเสียงของ C เมเจอร์ (C/D D/E F/G G/A A/B) ในเครื่องดนตรีบางชนิด เช่นไพป์ออร์แกนและฮาร์ปซิคอร์ด อาจใช้สีสลับกัน จากขาวเป็นดำและจากดำเป็นขาว แต่ก็มีผังลิ่มนิ้วที่เหมือนกัน หมวดหมู่:เครื่องดนตรีสากล หมวดหมู่:เครื่องลิ่มนิ้ว.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและลิ่มนิ้ว
ลูกทุ่งดิสโก้ชุดที่ 1
ลูกทุ่งดิสโก้ชุดที่ 1 เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดแรกของวง แกรนด์เอ็กซ์ ออกวางจำหน่ายครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและลูกทุ่งดิสโก้ชุดที่ 1
ลูกทุ่งดิสโก้ชุดที่ 2
ลูกทุ่งดิสโก้ชุดที่ 2 เป็นสตูดิโออัลบั้ม ชุดที่ 3 ของวง แกรนด์เอ็กซ์ ออกวางจำหน่ายครั้งแรกในเดือน มีนาคม พ.ศ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและลูกทุ่งดิสโก้ชุดที่ 2
วีโซลด์เอาเออร์โซลฟอร์ร็อกเอ็นโรลล์
วีโซลด์เอาเออะโซลฟอร์ร็อคอันโรล (We Sold Our Soul for Rock 'n' Roll.) เป็นอัลบั้มรวมเพลงของวงเฮฟวีเมทัล แบล็ค ซับบาธ วางจำหน่ายครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 1975 ในอังกฤษ และจากนั้นในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 1976 ในสหรัฐฯ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและวีโซลด์เอาเออร์โซลฟอร์ร็อกเอ็นโรลล์
วณิพก (อัลบั้ม)
วณิพก เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 3 ของวงคาราบาว ออกจำหน่ายเดือน มีนาคม..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและวณิพก (อัลบั้ม)
วงดนตรี
วงดนตรี หรือ กลุ่มดนตรี (musical ensemble, music group) เป็นกลุ่มคนที่เล่นเครื่องดนตรีหรือใช้เสียงร้อง โดยมีชื่อแต่ละวงเป็นที่รู้จักต่างกันไป ในดนตรีคลาสสิก มีกลุ่มคนที่ประกอบด้วย 3 หรือ 4 คน ที่ใช้กลุ่มเครื่องดนตรีต่างกันเล่นเพื่อผสานเสียงกัน (เช่น เปียโน เครื่องสาย และ เครื่องเป่า) หรือกลุ่มคนที่ใช้เครื่องดนตรีเหมือนกันเพื่อเล่นพร้อมกันก็เรียกว่า กลุ่มดนตรีเครื่องสาย หรือ กลุ่มดนตรีเครื่องเป่า ในกลุ่มดนตรีแจ๊ส มักจะใช้เครื่องเป่า (เช่น แซกโซโฟน ทรัมเป็ต ฯลฯ) เครื่องดนตรีที่มีการจับ 1 หรือ 2 คอร์ด (กีตาร์ไฟฟ้า, เปียโน, หรือ ออร์แกน) เครื่องดนตรีเบส (กีตาร์เบส หรือ ดับเบิลเบส) พร้อมกับคนตีกลอง หรือ คนเล่นเครื่องกระทบ ในกลุ่มดนตรีร็อก หรือ วงดนตรีร็อก มักจะใช้กีตาร์และคีย์บอร์ด (เปียโน เปียโนไฟฟ้า แฮมมอนด์ออร์แกน เครื่องสังเคราะห์เสียง ฯลฯ) และมีท่อนจังหวะจากกีตาร์เบสและกลองชุด หมวดหมู่:กลุ่มดนตรี.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและวงดนตรี
สมูธแจ๊ส
มูธแจ๊ส (Smooth jazz) เป็นแนวดนตรีย่อยของแจ๊สเกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1970 ได้รับอิทธิพลจากดนตรีแนว อาร์แอนด์บี ฟังก์ และ ป็อป.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและสมูธแจ๊ส
สลิปน็อต
ลิปน็อต เป็นวงเฮฟวี่เมทัลจากดิมอยน์ รัฐไอโอวา สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งขึ้นในเดือนกันยายนปี 1995 ก่อตั้งโดย Shawn Crahan และ Paul Gray หลังจากเปลี่ยนแปลงหลายๆสมาชิกในช่วงแรกและพวกเขาก็ได้เก้าสมาชิกที่อยู่ด้วยกันมานานกว่าทศวรรษที่ผ่านมา ได้แก่ Sid Wilson, Chris Fehn, Jim Root, Craig Jones, Shawn Crahan, Mick Thomson, และ Corey Taylor มือเบส Paul Gray เสียชีวิตวันที่ 24 พฤษภาคม 2010 และถูกแทนที่ 2011-2014 โดยอดีตมือกีต้าร์ Donnie Steele และ Joey Jordison ออกจากวงใน 12 ธันวาคม 2013 โดยไม่ทราบสาเหตุตามด้วย Donnie Steele ออกจากวงในระหว่างการบันทึกอัลบั้ม.5: The Gray Chapter ในขณะที่เขาต้องการที่จะมุ่งเน้นไปที่งานแต่งงาน ตอนนี้ถูกแทนด้วยสมาชิกออกทัวร์มือเบส Alessandro Venturella และมือกลอง Jay Weinberg สลิปน็อตเป็นที่รู้จักกันดีสำหรับชาวนูเมทัลที่ดึงดูดความสนใจของลักษณะของเพลงและการแสดงสดที่มีพลังและความวุ่นวาย พวกเขาได้เปิดตัวของอัลบั้ม Slipknot ของพวกเขาในปี 1999 และปี 2001 ในอัลบั้ม Iowa หลังจากที่หายไปช่วงสั้น ๆ สลิปน็อตกลับมาในปี 2004 ในอัลบั้ม Vol.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและสลิปน็อต
สุรสีห์ อิทธิกุล
รสีห์ อิทธิกุล (ชื่อเล่น อ๋อง; เกิด 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494) เป็นหนึ่งในนักร้อง นักดนตรีชาวไทย ผู้พลิกยุคสมัยแห่งดนตรีของประเทศไทย มาสู่ดนตรีในแนวสากล มีผลงานทางดนตรีอัลบั้มเพลงส่วนตัวมาแล้ว 4 ชุด และเพลงประกอบภาพยนตร์ ละคร หรือ โฆษณาอีกมากม.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและสุรสีห์ อิทธิกุล
สุขาอยู่หนใด
"สุขาอยู่หนใด" เป็นซิงเกิลของวงดนตรีทเวนตีไฟฟ์อาเวอส์ ในปี พ.ศ. 2557 กับค่ายจีนี่เรคคอร์ดสในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ประพันธ์เนื้อร้องและแต่งทำนองโดย สมพล รุ่งพาณิชย์ และเรียบเรียงโดย ทเวนตีไฟฟ์อาเวอส์ ที่มาของเพลงนั้น เกิดขึ้นตอนที่ผมขับรถอยู่แล้วทำนองเพลงท่อนฮุกก็ผุดขึ้นมา ก็เลยรีบอัดไว้แล้วนำมาแต่งต่อแล้วบังเอิญคำว่า สุขาอยู่หนใด มันก็ลอยขึ้นมาอีก ซึ่งเข้ากับทำนองได้พอดีเลยลองเอามาทำในโปรแกรมการาจ แบนด์ในไอโฟน แล้วลองใส่เสียงซินธิไซเซอร์เพิ่มไปก็เลยเป็นเพลงนี้ขึ้นมา ส่วนความหมายของเพลงนั้น ได้กล่าวถึงความสุขเราไม่จำเป็นต้องวิ่งตามหา ความสุขมันไม่ได้ซ่อนอยู่ที่ไหน บางคนเราอาจมีทุกอย่างสมบูรณ์ แต่สิ่งเหล่านั้นมันไม่ได้ตอบโจทย์เรื่องความสุขที่แท้จริง คือบางคนมีครบทุกอย่างแต่คำตอบในหัวใจตัวเองกลับไม่มี มันก็เหมือนรู้จักทั้งโลกแต่ไม่รู้ใจตัวเองแบบนี้มันก็ไม่มีความสุข ส่วนมิวสิกวิดีโอนี้ เผยแพร่ครั้งแรกในวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและสุขาอยู่หนใด
สตีวี วันเดอร์
ตีวี วันเดอร์ (Stevie Wonder มีชื่อตามเกิด Stevland Hardaway Judkins ภายหลังเปลี่ยนเป็น Stevland Hardaway Morris) เกิดเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1950 เป็นนักร้องชาวอเมริกัน นักประพันธ์เพลง และโปรดิวเซอร์ดนตรี สตีวี วันเดอร์มีเพลงติดท็อปเท็น มากกว่า 30 เพลงในอเมริกา ได้รับรางวัลแกรมมี่ 22 ครั้ง ยังได้รับรางวัลออสการ์สาขาเพลงยอดเยี่ยม สตีวี วันเดอร์ตาบอดมาตั้งแต่เด็ก เขาเซ็นสัญญากับโมทาวน์ตั้งแต่อายุ 11 ปี และเริ่มแสดงและบันทึกเสียงกับค่ายเพลง โดยมีเพลงอันดับ 1 เพลงแรก Fingertips (Pt.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและสตีวี วันเดอร์
ออลอะเบาต์แดตเบส
"ออลอะเบาต์แดตเบส" (All About That Bass) เป็นเพลงของเมแกน เทรนเนอร์ นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน บรรจุอยู่ในอัลบั้ม ไทเทิล ออกจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 30 มิถุนายน..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและออลอะเบาต์แดตเบส
ออลเทอร์นาทิฟฮิปฮอป
ออลเทอร์นาทิฟฮิปฮอป (alternative hip hop) หรือ ออลเทอร์นาทิฟแร็ป เป็นแนวเพลงที่อธิบายความกว้างขวางออกไปของแนวเพลงฮิปฮอป โดยออลมิวสิก อธิบายไว้ว่า ออลเทอร์นาทิฟแร็ปหมายถึงกลุ่มฮิปฮอปที่ปฏิเสธเพลงแบบเดิม ๆ ที่มีอยู่ของแร็ปอย่างแก๊งสตา, เบส, ฮาร์คอร์ และปาร์ตี้แร็ป พวกเขาละลายแนวเพลง โดยใส่ฟังก์ ป็อป/ร็อก หรือแจ๊ซ โซล และเร้กเก้เข้าไป สตีเฟน ร็อดริก อ้างถึงวงอย่าง อาร์เรสเตด เดเวล็อปเมนต์, เบสเฮด และ เดอะ ดิสโพเซเบิล ฮีโรส์ ออฟ ฮิปฮอปริซี เป็นตัวอย่างของออลเทอร์นาทิฟฮิปฮอป โดยมีวงอย่าง อาร์เรสเตด เดเวล็อปเมน และเดอะฟูจีส์ ที่ถือเป็นวงแรก ๆ ที่ประสบความสำเร็จในกระแสหลัก และตั้งแต่ช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 90 ค่ายเพลงอย่าง รอว์คุส มีศิลปินที่ประสบความสำเร็จกับแนวเพลงออลเทอร์นาทิฟแร็ปอย่าง แบล็กสตาร์, ฟาโรห์ มอนช์ และ มอส เดฟ นอกจากนั้นแล้ว ศิลปินในแนวออลเทอร์นาทิฟแร็ปส่วนใหญ่มีแนวโน้มจะมีแฟนในกลุ่มของออลเทอร์นาทิฟร็อกด้วย ซึ่งอาจมากกว่ากลุ่มคนฟังฮิปฮอปหรือป็อป.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและออลเทอร์นาทิฟฮิปฮอป
ออลเทอร์นาทิฟแดนซ์
ออลเทอร์นาทิฟแดนซ์ (alternative dance) เป็นแนวเพลงประเภทหนึ่งที่รวมองค์ประกอบของดนตรีออลเทอร์นาทิฟร็อก โดยจะรวมดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์อย่างเทคโนและดนตรีเฮาส์ไว้ด้วย ออลเทอร์นาทิฟแดนซ์ได้รับอิทธิพลจากศิลปินแนวออลเทอร์นาทิฟร็อกในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 อย่างนิวออร์เดอร.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและออลเทอร์นาทิฟแดนซ์
อะวีชี
ทิม แบร์ยลิง (Tim Bergling) หรือชื่อที่รู้จักในวงการคือ อะวีชี หรือ อาวิชี (Avicii) เป็นดีเจและโปรดิวเซอร์เพลงเฮาส์ชาวสวีดิช เขาได้รับการจัดอันดับในอันดับที่ 3 ในนิตยสาร ดีเจ แม็กกาซีน ในปี 2012 และ 2013.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอะวีชี
อะไลต์แดตเนเวอร์คัมส์
"อะไลต์แดตเนเวอร์คัมส์" เป็นเพลงของวงดนตรีร็อกชาวอเมริกัน ลิงคินพาร์ก ร่วมกับนักดนตรีชาวอเมริกัน สตีฟ อะโอะกิ รวมอยู่ในอัลบั้มรีมิกซ์ชุดที่ 2 ของวง รีชาจด์ เป็นซิงเกิลที่ 26 ของวง เพลงปรากฏเป็นเพลงลำดับแรกในอัลบั้ม ขณะที่เพลงนี้ในเวอร์ชันรีบูตที่โปรดิวซ์โดย ริก รูบิน จะเป็นเพลงลำดับสุดท้ายหรือเป็นแทร็กปิดอัลบั้ม ออกจำหน่ายในรูปแบบซีดีซิงเกิลในวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอะไลต์แดตเนเวอร์คัมส์
อันทิลอิตส์กอน (เพลงลิงคินพาร์ก)
"อันทิลอิตส์กอน" เป็นเพลงของวงดนตรีร็อกชาวอเมริกัน ลิงคินพาร์ก รวมอยู่ในสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 6 ของวง เดอะฮันติงปาร์ตี เป็นเพลงลำดับที่เจ็ด และเป็นซิงเกิลที่สองในอัลบั้ม โปรดิวซ์โดย ไมค์ ชิโนดะ และ แบรด เดลสัน ออกจำหน่ายโดย Warner Bros.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอันทิลอิตส์กอน (เพลงลิงคินพาร์ก)
อายส์แดตซีอินเดอะดาร์ก
อายส์แดตซีอินเดอะดาร์ก (Eyes That See In The Dark) คือสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 12 ของศิลปินชายชาวอเมริกัน เคนนี โรเจอส์ ออกวางขายในสหรัฐอเมริกาในวันที่ 30 สิงหาคม ปี 1983 มียอดขายปัจจุบันมากกว่า 15 ล้านชุดทั่วโลก.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอายส์แดตซีอินเดอะดาร์ก
อาร์มิน ฟาน บูเรน
อาร์มิน ฟาน บูเรน (Armin van Buuren) เป็นดีเจ,โปรดิวเซอร์ และรีมิกซ์เกอร์ชาวดัชซ์ จากจังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์ ฟาน บูเรน ได้รับรางวัลหลายรางวัล เขาถูกจัดอันดับที่ 1 ของนิตยสาร DJ Mag ถึง 5 สมัย สี่ปีติดต่อกัน เขาถูกจัดอันดับที่ 4 ในชาร์ตDJ Magazine's Top 100 DJs ในปี 2015 และ 2016, และอันดับที่ 3 ในปี 2017 ในปี 2014 เขาได้รับการเสนอชื่อชิงรางวัล Grammy Award สาขา Best Dance Recording ในซิงเกิลของเขา "This Is What It Feels Like" ซึ่งร่วมกับ Trevor Guthrie ซึ่งทำให้เขาเป็นศิลปินคนที่สี่ที่ได้รับการเสนอชื่อชิงรางวัลแกรมมี่อวอร.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอาร์มิน ฟาน บูเรน
อาร์แอนด์บีร่วมสมัย
อาร์แอนด์บีร่วมสมัย (Contemporary R&B) คือแนวเพลงที่ได้รับความนิยมในฝั่งตะวันตก ถึงแม้ว่าคำย่อของคำว่า อาร์แอนด์บี จะดูเชื่อมโยงกับเพลงริทึมแอนด์บลูส์ดั้งเดิม แต่คำว่าอาร์แอนด์บีในปัจจุบันมักจะใช้ระบุหมายถึง ดนตรีของชาวแอฟริกัน-อเมริกัน ที่มีต้นกำเนิดหลังจากการจากไปของดนตรีดิสโก้ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 แนวเพลงใหม่นี้มีองค์ประกอบของดนตรีโซล ฟังก์ แดนซ์ และตั้งแต่ปี 1986 เป็นต้นมาหลังการเกิดของเพลงนิวแจ็กสวิงที่เป็นเพลงอาร์แอนด์บี ฮิปฮอป คำย่อ อาร์แอนด์บี โดยมากมักจะมีความหมายความหมายรวมทั้งหมดของริทึมแอนด์บลูส์ ถึงแม้ว่าบางแหล่งจะอ้างว่าหมายถึงเพลงแนวเออเบินคอนเทมโพแรรี (ชื่อใช้เช่นเดียวกับรูปแบบสถานีวิทยุที่เปิดเพลงในแนวฮิปฮอปและอาร์แอนด์บีร่วมสมัย) เพลงอาร์แอนด์บีร่วมสมัยเป็นงานเพลงที่ลื่นไหล มีจังหวะดรัมแมชชีนเป็นเบื้องหลัง ในบางครั้งใช้จังหวะแซกโซโฟนร้อยเข้ากับจังหวะให้ได้ความรู้สึกแบบแจ๊ซ (โดยมากเพลงอาร์แอนด์บีเช่นนี้จะมีในปี 1993) และดูนุ่มนวล การเรียบเรียงเสียงร้องอย่างโอ่อ่า ใช้จังหวะที่ได้รับอิทธิพลจากเพลงฮิปฮอป ถึงแม้ว่าความกระด้างที่เป็นลักษณะทั่วไปของฮิปฮอปจะมีอยู่แต่ก็ลบและทำให้ดูนุ่มนวลลงในเพลงอาร์แอนด์บีร่วมสมัย นักร้องแนวอาร์แอนด์บีมักใช้เทคนิคที่เรียกว่าเมลิสม่า นักร้องที่ได้รับความนิยมเช่น สตีวี วันเดอร์, วิตนีย์ ฮูสตัน, และมารายห์ แครี.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอาร์แอนด์บีร่วมสมัย
อิฟไอเนเวอร์ซียัวร์เฟซอะเกน
"อิฟไอเนเวอร์ซียัวร์เฟซอะเกน" (If I Never See Your Face Again) เป็นเพลงของวงดนตรีป็อปร็อกอเมริกัน มารูนไฟฟ์ จากสตูดิโออัลบั้ม อิตโวนต์บีซูนบีฟอร์ลอง (2007) รุ่นจำหน่ายซ้ำ จำหน่ายเมื่อเดือนมิถุนายน..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอิฟไอเนเวอร์ซียัวร์เฟซอะเกน
อิทธิ พลางกูร
อิทธิ พลางกูร มีชื่อจริงว่า เอกชัยวัฒน์ พลางกูร เกิดเมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2498 ที่โรงพยาบาลศิริราช เป็นบุตรชายคนที่ 3 ของศาสตราจารย์ นายแพทย์โอภาส และ แพทย์หญิงสุมาลย์ พลางกูร มีพี่ชายคนโตเป็นนักดนตรีที่มีชื่อเสียงคืออุกฤษฏ์ พลางกูร ซึ่งเป็นสมาชิกของบัตเตอร์ฟลาย ส่วนน้องชายเป็นวิศวกรน้ำมัน.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอิทธิ พลางกูร
อินดัสเทรียลร็อก
อินดัสเทรียลร็อก (industrial rock) เป็นแนวเพลงร็อกแขนงหนึ่งที่เกิดขึ้นปลายในทศวรรษที่ 70 และ ได้รับความนิยมวงดนตรีใต้ดิน ลักษณะ จะมีซาวนด์ของดนตรีอินดัสเทรียล และ เสียงดนตรีพังก์ร็อก.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอินดัสเทรียลร็อก
อินดัสเทรียลเมทัล
อินดัสเทรียลเมทัล (Industrial metal) เป็นแนวเพลงที่พัฒนามาจากแนว อินดัสเทรียล และ เฮฟวีเมทัล โดยใช้ท่อนริฟฟ์กีตาร์ซ้ำ ๆ ของเมทัล การใช้แซมพลิง เครื่องสังเคราะห์เสียงและท่อนซับซีเควนเซอร์ และเสียงร้องที่บิดไป วงแนวอินดัสเทรียลเมทัล อย่างเช่น มินิสตรีDi Perna 1995a, page 69.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอินดัสเทรียลเมทัล
อินดีโทรนิกา
อินดีโทรนิกา (Indietronica) หรืออาจเรียกว่า อินดีอิเล็กทรอนิกส์ (Indie electronic) เป็นแนวเพลงที่มีส่วนผสมระหว่าง อินดี้, อิเล็กทรอนิกส์, ร็อกและป็อป เครื่องดนตรีของแนวเพลงนี้ที่ใช้กันเช่น คีย์บอร์ดอิเล็กทรอนิกส์, เครื่องสังเคราะห์เสียง, แซมเพลอร์ และดรัมแมชชีน ใกล้เคียงกับแนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์ แต่ใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์น้อยกว่า และใช้ดนตรีแบบอคูสติกชิลเวฟ (โกล-ไฟ).
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอินดีโทรนิกา
อินโดจีน (วงดนตรี)
อินโดจีน (Indochine) เป็นวงดนตรีร็อค และ นิวเวฟ จากฝรั่งเศส โดยวงก่อตั้งเมื่อ ปี 1981 เป็นวงดนตรีที่ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก ในฝรั่งเศสในช่วงปี 1980 รวมทั้งประสบความสำเร็จในยุโรปและละตินอเมริกา โดยเพลงที่ประสบความสำเร็จคือ L' Aventurier และ Canary Bay และก็กวาดรางวัลมาได้มากมาย แต่ก็ยังไม่ประสบความความสำเร็จเท่าไร แต่ก็ยังกลับมาทำอัลบั้ม Paradize ในปี 2002 เป็นวงที่มียอดขาย กว่า 10 ล้านชุด และซิงเกิ้ลของพวกเขาก็ขายได้มากที่สุดใน ฝรั่ง.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอินโดจีน (วงดนตรี)
อิเล็กทรอนิกส์ร็อก
เมโลตรอน เป็นรูปแบบแรกของตัวแซมเพลอร์ที่ใช้อย่างกว้างขวางในช่วงปลายทศวรรษ 1960 และต้น 1970 อิเล็กทรอนิกส์ร็อก (Electronic rock) ในบางครั้งอาจเรียกว่า อิเล็กโทรร็อก (Electro-rock) ดิจิตอลร็อก (Digital rock) และ ซินธ์ร็อก (Synth-rock) เป็นดนตรีแนวร็อกที่ทำขึ้นด้วยเครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ได้ถูกพึ่งพาในการพัฒนาเทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประดิษฐ์และการปรับแต่งจากเครื่องสังเคราะห์เสียง ในการพัฒนาของมิดิรูปแบบดิจิตอลและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ในช่วงปลายทศวรรษ 1960 นักดนตรีร็อกเริ่มใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น เทเรมิน (Theremin) และเมโลตรอน (Mellotron) เพื่อเสริมและการกำหนดเสียงของพวกเขา โดยในตอนท้ายของยุคมูกซินธิไซเซอร์ ที่ได้รับสถานที่ชั้นนำในเสียงที่เกิดขึ้นใหม่จากวงโพรเกรสซีฟร็อกที่เป็นความโดดเด่นของดนตรีร็อกในต้นปี 1970 หลังจากการมาถึงของยุคพังก์ร็อกในรูปแบบพื้นฐานของซินธ์ร็อกที่ได้ปรากฏออกมามากขึ้นโดยใช้เทคโนโลยีดิจิตอลใหม่แทนเครื่องดนตรีอื่น ในช่วงปี 1980 มีในเชิงพาณิชย์มากขึ้นในการมุ่งเน้นในดนตรีซินธ์ป็อปที่เป็นความโดดเด่นของอิเล็กทรอนิกส์ร็อก ในทศวรรษที่ 1990 บิ๊กบีต และอินดัสเทรียลร็อก อยู่ในกลุ่มที่สำคัญที่สุดแนวโน้มใหม่และในสหัสวรรษใหม่ในการแพร่กระจายของซอฟต์แวร์บันทึกเสียงนำไปสู่การพัฒนาแนวเพลงที่แตกต่างกันใหม่รวมทั้ง อินดี้อิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอแคลช แดนซ์พังก์ และ นิวเรฟ หมวดหมู่:แนวดนตรี.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอิเล็กทรอนิกส์ร็อก
อิเล็กทรอเฮาส์
อิเล็กโทรเฮาส์ (Electro house) เป็นแนวดนตรีย่อยของเฮาส์ ต้นกำเนิดมีความไม่ชัดที่แตกต่างกัน ลักษณะของแนวเพลงได้รับอิทธิพลจาก ดนตรีอิเล็กทรอในยุค 80 อิเล็กทรอแคลซ ป็อป ซินธ์ป็อป และ เทคเฮาส์ มีรูปแบบที่ติดแน่นจากดนตรีเฮาส์ สร้างความนิยมกระแสหลักในปี 2005 คำนี้ถูกนำมาใช้เพื่ออธิบายเพลงของหลายดีเจชั้นนำของโลก เช่น Deadmau5 เดวิด เกตตา และ เชสโต.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอิเล็กทรอเฮาส์
อิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา
อิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา (Electric Light Orchestra) หรือ อีแอลโอ (ELO) เป็นกลุ่มดนตรีซิมโฟนิกร็อกสัญชาติอังกฤษ ก่อตั้งโดยรอย วูดและเจฟฟ์ ลินน์ เพื่อสร้างผลงานเพลงร็อกผสมผสานกับเครื่องดนตรีคลาสสิกคือเชลโล ไวโอลิน และเครื่องเป่า ก่อนที่รอย วูดจะขัดแย้งกับเจฟฟ์ ลินน์จากความคิดเห็นแนวดนตรีไม่ตรงกัน ทำให้รอย วูดออกไปตั้งคณะวิซซาร์ด (Wizzard) เล่นแนวคลาสสิกร็อกและทำให้เจฟฟ์ ลินน์ยึด "อีแอลโอ" โดยเบ็ดเสร็จตั้งแต่ชุด ELO 2 ในปี 1973 โดยเจฟฟ์ ลินน์ทั้งแต่งเพลง เล่นกีตาร์ เปียโน เรียบเรียงและร้องเอง รวมถึงการเป็นโปรดิวเซอร์ ELO ได้รับอิทธิพลมาจากผลงานของเดอะบีตเทิลส์ โดยเจฟฟ์ ลินน์ ตั้งใจจะให้อีแอลโอทำดนตรี "สานต่อจากแนวทางของเดอะบีตเทิลส์" จนได้รับความนิยมในประเทศอังกฤษด้วยเพลงเก่าของ Chuck Berry (Roll over Bethoven) (1972) ก่อนจะเริ่มได้รับความนิยมตามมาในสหรัฐอเมริกาจากเพลง "Show down" (On the Third Day) อีแอลโอประสบความสำเร็จสูงสุดช่วงกลางทศวรรษ 1970 จนถึงปี 1980 มีผลงานติดอันดับท็อป 40 ในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษทั้งสิ้น 27 ซิงเกิล ทั้งยังถือสถิติเป็นศิลปินที่มีซิงเกิลติดอันดับฮอต 100 และ ทอป 40 มากที่สุด โดยไม่มีซิงเกิลใดเคยขึ้นถึงอันดับหนึ่งเลย ในยุคหลังปี 1980 ก่อนการสลายวง เจฟฟ์ ลินน์พยายามตัดเครื่องดนตรีซิมโฟนิก ซึ่งเป็นเครื่องสายออกจากงานของอีแอลโอและนำเครื่องดนตรีซินทีไซเซอร์มาแทนที่เพื่อทดลองงานรูปแบบป็อปร็อกและดิสโก จนเหลือสมาชิกในวงเพียง 4 คน โดยผลงานชุดสุดท้ายก่อนสลายวงในปี 1986 ได้แก่อัลบั้ม Balance of Power หลังจากนั้น 15 ปีต่อมา เจฟฟ์ ลินน์ กลับมาทำอัลบั้ม "Zoom" (2001) ซึ่งมีแนวเพลงกลับไปเหมือนยุคแรกของวง โดยมีสมาชิกดั้งเดิมคือ Richard Tandy มือคีย์บอร์ดและมีศิลปินรับเชิญเป็นอดีตสมาชิกเดอะบีตเทิลส์ ได้แก่ จอร์จ แฮร์ริสันและริงโก สตาร์ ในปี 2015 เจฟฟ์ ลินน์ได้ออกอัลบัม "Alone in the Universe" โดยใช้ชื่อวงว่า Jeff Lynne's ELO ชื่อ "อิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา" เป็นการเล่นคำระหว่าง Electric Light หรือหลอดนีออนเรืองแสง ที่ปรากฏบนภาพปกอัลบัมและโลโก้ของวงในยุคแรก เลียนแบบหลอดไฟตกแต่งตู้เพลงยี่ห้อวูร์ลิทเซอร์ (Wurlitzer jukebox) รุ่นปี 1946 ผสมกับคำว่า Light Orcherstra หมายถึงวงออร์เคสตราขนาดเล็กที่ใช้ไวโอลินและเชลโลเป็นเครื่องดนตรี.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา
อิเล็กโทร
อิเล็กโทร (Electro) ชื่อเรียกอื่น อิเล็กโทรฟังก์ (electro-funk) หรือ อิเล็กโทรบูกี (electro-boogie).
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอิเล็กโทร
อิเล็กโทรฮอป
อิเล็กโทรฮอป (Electro hop) (หรือในบางครั้งเรียกว่า อิเล็กทรอนิกส์ฮิปฮอป อิเล็กทรอนิกส์แร็ป หรือโรบอตฮิปฮอป) เป็นแนวเพลงที่ผสมผสานเพลงอิเล็กโทรฟังก์เข้ากับฮิปฮอปหรือแร็ป กระแสเพลงอิเล็กโทรฮอปเกิดขึ้นหลังจากเพลงอิเล็กโทรใต้ดินในฝั่งเวสต์โคสต์ได้รับความนิยม มีศิลปินอย่าง แมนโทรนิกซ์, แมนพาร์ริช, จอนซันครูว์, นิวเคลียส, แพลนเนตพาโทรล เป็นต้น ดนตรีแนวอีเลกโทรมีผู้บุกเบิกสำคัญอย่างคราฟต์เวิร์ก และต่อมาพัฒนาโดยศิลปินอื่น ๆ อย่าง ซูลูเนชัน รวมถึงแอฟริกาแบมบาตา แนวเพลงฮิปฮอปประเภทนี้มีฐานแฟนเพลงใต้ดินมากโดยเฉพาะในแคลิฟอร์เนียใต้ จากนั้นก็มีฐานแฟนเพลงใต้ดินที่แข็งแรงในจอร์เจียเหนือและเทนเนสซีตะวันออก หมวดหมู่:แนวดนตรี.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอิเล็กโทรฮอป
อิเล็กโทรป็อป
อิเล็กโทรป็อป (Electropop) เป็นแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่จะเน้นการใช้งานเครื่องสังเคราะห์เสียง แนวเพลงได้เห็นการฟื้นตัวจากความนิยมและมีอิทธิพล ตั้งแต่ช่วงปลายยุค 2000 "อิเล็กโทรป็อป" เป็นคำย่อมาจาก อิเล็กทรอนิกส์ป็อป (electronic pop) หมวดหมู่:แนวดนตรี.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและอิเล็กโทรป็อป
ฮาร์ดคอร์ (ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์)
ฮาร์ดคอร์ (Hardcore) หรือ ฮาร์ดคอร์เทคโน (Hardcore techno) เป็นชนิดของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ ที่เป็นแบบฉบับโดยใช้จังหวะของเสียงบิดเบือนและท่วงทำนองเหมือนจังหวะดนตรีอินดัสเทรียลและแซมเพิล ลักษณะจังหวะต่างๆของฮาร์ดคอร์มีช่วงตั้งแต่ประมาณ 95 ครั้งต่อวินาที ("นิวบีต" จากเบลเยียม และเรฟ/เทคโน) ไปถึงมากกว่า 300 ครั้งต่อวินาที ("สปิดคอร์") กับสไตล์ที่แพร่หลายมากขึ้นตั้งแต่ประมาณ 150 ครั้งต่อวินาทีไปถึง 200 ครั้งต่อวินาที หมวดหมู่:แนวดนตรี.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและฮาร์ดคอร์ (ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์)
ฮิปฮอป
ปฮอป (Hip Hop) หรืออาจเขียนเป็น ฮิป-ฮอป (Hip-hop) มีความหมายถึงในด้านดนตรีแนวฮิปฮอป ที่เป็นที่นิยมสำหรับวัยรุ่นอเมริกาและทั่วโลก จนถูกยกระดับให้เป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่งมีรากฐานการพัฒนามาจากชาวแอฟริกัน-อเมริกัน และ ชาวละติน โดยในช่วงยุค 70' หลังจากที่ดนตรีดิสโก้ที่พัฒนามาจาก แนวเพลงฟังค์ ในแบบของโมทาวน์ ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ทำให้มีการเปิดแผ่นเพลงในคลับต่าง ๆ และด้วยการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี เกิดการสร้าง loop, beat ใหม่ ๆ ขึ้นมา ดนตรีฮิปฮอป จึงถือกำเนิดขึ้น.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและฮิปฮอป
ฮิโตะชิ ซะกิโมะโตะ
ตะชิ ซะกิโมะโตะ (เกิดเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1969) เป็นผู้ประพันธ์เพลงและผู้เรียงเรียงเสียงประสานชาวญี่ปุ่น มีชื่อเสียงด้านทำดนตรีประกอบเกมไฟนอลแฟนตาซีแท็กติกและไฟนอลแฟนตาซี XII เขาทำประพันธ์ประกอบเกมกว่าเจ็ดสิบเกม และเรียบเรียงเสียงประสานกว่าสี่สิบเกม พื้นฐานเดิมเขาเรียนด้านดนตรีตั้งแต่ประถม และได้ประกาศเป็นฟรีแลนซ์ในปี 1988 และในปี 1997 เขาได้สมัครงานเข้าในบริษัทสแควร์อีนิกซ์ ในปี 2002 เขาได้ลาออกจากบริษัทสแควร์อีนิกซ์ และก่อตั้งบริษัททำเสียงประกอบเกมเป็นของตัวเองคือ Basiscape และได้ทำการบริหารงานทางด้านธุรกิจทำเสียงอย่างเต็มรูปแบบทั้งเสียงเกม การ์ตูนอะนิเมะ เป็นต้น.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและฮิโตะชิ ซะกิโมะโตะ
ฮูต (อีพี)
ูต (ฮันกึล: 훗; Hoot; เขียนกำกับว่า 009) เป็นมินิอัลบั้มลำดับที่ 3 ของเกิร์ลกรุปจากเกาหลีใต้ เกิลส์เจเนอเรชัน อัลบั้มนี้ประกอบด้วยเพลงทั้งหมด 5 เพลง วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม ค.ศ 2010 โดยเอสเอ็มเอ็นเตอร์เทนเมนต์http://www.mb.com.ph/articles/283368/girls-generation-goes-retro-new-minialbum-hoothttp://www.mb.com.ph/articles/284475/girls-generations-hoot-album-released-today-korea.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและฮูต (อีพี)
จอร์โจ มอโรเดร์
วานนี จอร์โจ มอโรเดร์ (Giovanni Giorgio Moroder) เกิดวันที่ 26 เมษายน..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและจอร์โจ มอโรเดร์
จอห์น รัตนเวโรจน์
อห์น รัตนเวโรจน์ มีชื่อจริงว่า จอห์น อเล็กแซนเดอร์ แฮมมอนด์ หรือ นรศักดิ์ รัตนเวโรจน์ เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและจอห์น รัตนเวโรจน์
ทีนป็อป
ทีนป็อป (Teen pop) เป็นแนวดนตรีของเพลงป็อปที่สร้างสรรค์ขึ้นมา มุ่งเน้นด้านการตลาดสำหรับวัยรุ่น และวัยก่อนวัยรุ่น ทีนป็อปครอบคลุมเพลงสไตล์ ป็อป, แดนซ์, อาร์แอนด์บี, ฮิปฮอป และ ร็อก.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและทีนป็อป
ดรัมแอนด์เบส
รัมแอนด์เบส (มักย่อว่า d&b, DnB, dnb, d'n'b, drum n bass, drum & bass) เป็นแนวเพลงแดนซ์ประเภทหนึ่ง ที่รู้จักกันว่าจังเกิล ที่เกิดขึ้นในต้นทศวรรษ 1990 มีลักษณะจังหวะเบรกบีตที่รวดเร็ว (ความเร็วอยู่ระหว่าง 160–180 bpm) กับไลน์เบสย่อยที่หนักหน่วง ดรัมแอนด์เบสแตกย่อยมาจากยูเคเรฟ ในช่วงต้น ๆ ยุค 90 และต้นช่วงต้น ๆ มีการเปลี่ยนแปลงสไตล์ สิ่งประกอบหลายๆ อย่าง จากแนวดนตรีหลากหลายแนว.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและดรัมแอนด์เบส
ดั๊บสเตป
ั๊บสเตป (Dubstep) เป็นดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีต้นกำเนิดในลอนดอน ช่วงต้นยุค 2000 ในช่วงที่ดนตรียูเคการาจกำลังเฟื่องฟู ดั๊บสเตปมีอารมณ์ที่มืดมน จังหวะอันบางตา และการเน้นเสียงเบส ดั๊บสเตปเริ่มแพร่กระจายในเมืองเล็ก ๆ ในอังกฤษในช่วงปี 2005 ถึงต้นปี 2006 ดั๊บสเตปเป็นที่รู้จักกว้างขวางหลังจากที่ดีเจ แมรี แอนน์ ฮ็อบส์ แห่งสถานีวิทยุ บีบีซีเรดิโอวัน สนับสนุนแนวเพลงนี้ โดยใช้ชื่อช่วงว่า "Dubstep Warz" ในเดือนมกราคม 2006.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและดั๊บสเตป
ดาร์กเกอร์แดนบลัด
"ดาร์กเกอร์แดนบลัด" (Darker Than Blood, ชื่องานเพลง: "Horizons") เป็นเพลงที่ประพันธ์และบันทึกโดยนักดนตรีชาวอเมริกัน สตีฟ อะโอะกิ โดยร่วมมือกับวงดนตรีร็อกชาวอเมริกัน ลิงคินพาร์ก เป็นครั้งที่สองที่มีการทำผลงานเพลงร่วมกัน และรวมอยู่ในสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 3 ของสตีฟที่ชื่อว่า นีออนฟิวเจอร์ II (Neon Future II) ซิงเกิลนี้เปิดให้สั่งซื้อล่วงหน้าในแอมะซอน รวมทั้ง ออกวีดิโอโปรโมตความยาวครึ่งนาที และเปิดตัวซิงเกิลในทวิตช์ดอตทีวี (Twitch.tv) เมื่อวันที่ 13 เมษายน..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและดาร์กเกอร์แดนบลัด
ดีปเฮาส์
ดีปเฮาส์ (Deep house) เป็นแนวดนตรีของดนตรีเฮาส์ ที่รวมองค์ประกอบของดนตรีชิคาโกเฮาส์ ดิสโก้ ดนตรีโซลยุค 80 แจ๊ส-ฟังก์ และดีทรอยต์เทคโน ส่วนเพลงแจ๊สก็มีอิทธิพลต่อดนตรีดีปเฮาส์โดยมักดึงองค์ประกอบของคอร์ดอันซับซ้อนมากกว่าไทรแอดพื้นฐาน ที่ทำให้เพลงมีความไม่กลมกลืนกันเล็กน้อย ส่วนดนตรีดิสโก้เป็นอิทธิพลอย่างมากต่อดนตรีดีปเฮาส์ ในรูปแบบของการร้องใช้มีการใช้เสียงร้องมากกว่าดนตรีเฮาส์อื่น ๆ คุณภาพเสียงร้องอันทรงพลัง ช้า และแสดงให้เห็นถึงความไม่กลมกลืนบางส่วนของเมโลดี้ บาคาดี้ จิน และเตกีล่า หมวดหมู่:ดนตรีเฮาส์ หมวดหมู่:ประเภทดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและดีปเฮาส์
ดีไซน์ยัวร์ยูนิเวอร์ส
ีไซน์ยัวร์ยูนิเวอร์ส (Design Your Universe) คืออัลบัมเต็มอันดับที่ 4 โดยศิลปินแนวซิมโฟนิกเมทัลสัญชาติเนเธอร์แลนด์ วง Epica.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและดีไซน์ยัวร์ยูนิเวอร์ส
ดีเจเฟรช
แดเนียล สไตน์ (Daniel Stein) หรือรู้จักในชื่อ ดีเจเฟรช (DJ Fresh) เกิดวันที่ 11 เมษายน..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและดีเจเฟรช
ดนตรีอินดัสเทรียล
นตรีอินดัสเตรียล (Industrial music) เป็นแนวเพลงประเภทดนตรีทดลอง โดยมากมักหมายถึงดนตรีอิเล็กทรอนิก ที่มีลักษณะกวนโทสะและหมิ่นเหม่ คำนี้เกิดขึ้นมาในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1970 เพื่ออธิบายถึงศิลปินจากค่ายอินดัสเตรียลเรเคิดส์ เว็บไซต์ออลมิวสิก อธิบายไว้ว่า "โดยมากเป็นความโมโหและก้าวร้าวในการรวมกันของร็อกและดนตรีอีเลกโทรนิก" โดย "ในช่วงแรกจะเป็นการผสมผสานของการทดลองดนตรีอีเลกโทรนิกอาวองการ์ด (เพลงจากเทป musique concrète ไวต์นอยส์ เครื่องสังเคราะห์เสียง ซับซีเควนเซอร์) และการยั่วยุแบบพังก์" ศิลปินอินดัสเตรียลในช่วงแรกได้ทดลองใช้เสียงกับเรื่องที่หมิ่นเหม่ การทำงานไม่ได้จำกัดเฉพาะในด้านดนตรีเท่านั้น แต่อาจรวมถึงศิลปะ การแสดง การจัดวาง และรูปแบบของศิลปะในรูปแบบอื่น V.Vale.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและดนตรีอินดัสเทรียล
ดนตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์
นตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์ ในบางครั้งเีรียกว่า ไอดีเอ็ม (IDM) หริอ เบรนแดนซ์ (Braindance) เป็นคำที่อธิบายแนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นในช่วงต้นทศวรรษ 1990 แต่เดิมแนวเพลงได้รับอิทธิพลจากการพัฒนาในดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ เช่น ดีทรอยต์เทคโน และเบรกบีตหลากหลายรูปแบบที่เกิดขึ้นใหม่ในสหราชอาณาจักรในช่วงเวลานั้น"The electronic listening music of the Nineties is a prime example of an art form derived from and stimulated by countless influences.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและดนตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์
ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์
นตรีอิเล็กทรอนิกส์ (electronic music) เป็นดนตรีที่ใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ในการผลิตขึ้นมา โดยทั่วไปแล้วความโดดเด่นของดนตรีสามารถเกิดขึ้นโดยใช้เครื่องดนตรีไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีเครื่องไฟฟ้า"The stuff of electronic music is electrically produced or modified sounds.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและดนตรีอิเล็กทรอนิกส์
ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์บอดี
นตรีอิเล็กทรอนิกส์บอดี (Electronic body music) เรียกย่อ ๆ ว่า EBM หรือ อินดัสเทรียลแดนซ์ (Industrial dance) เป็นแนวเพลงที่รวมองค์ประกอบของดนตรีอินดัสเทรียล.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและดนตรีอิเล็กทรอนิกส์บอดี
ดนตรีแทร็ป (อีดีเอ็ม)
ในปลายทศวรรษ 2000 – ต้นทศวรรษ 2010 องค์ประกอบของดนตรีแทร็ป ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากเซาเทิร์นฮิปฮอป กรองเป็นดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ และสร้างสรรค์รูปแบบที่แตกต่างของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ (EDM).
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและดนตรีแทร็ป (อีดีเอ็ม)
ครังก์
รังก์ (Crunk) เป็นแนวเพลงที่รวมดนตรีระหว่างฮิปฮอป"Southern Rap", Billboard Aug 9, 2003, p.86 และ อีเลคโทร"Lil Jon crunks up the volume", NY Times, November 28, 2004 ที่เกิดขึ้นกับแนวความคิดของพร้อมกับความหมายคำว่า crunk ที่มีความหมายถึงเหตุการณ์ฝูงชนที่ควบคุมไม่ได้ แนวเพลงครังก์เกิดขึ้นในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1990 และได้รับความนิยมมากขึ้นประสบความสำเร็จในกระแสหลักราวปี 2003-2004 ในบางครั้งผู้แสดงดนตรีครังก์ จะเรียกว่า ครังก์สเตอร์Miller, Matt: "Dirty Decade: Rap Music and the U.S.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและครังก์
คริสต์ทศวรรษ 1980
ริสต์ทศวรรษ 1980 (1980s) หรือยุคเอจตี้ส์ เป็นทศวรรษที่เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1980 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 1989 เป็นช่วงเวลาที่เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงด้านสังคม เศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทั่วไปอย่างความร่ำรวย การผลิตที่เปลี่ยนไปสู่ยุคเศรษฐกิจแบบอุตสาหกรรม เศรษฐกิจเสรีที่พัฒนาไปทั่วโลก บริษัทข้ามชาติทางด้านอุตสาหกรรมที่เข้าสู่ประเทศอย่าง ประเทศไทย มาเลเซีย เม็กซิโก เกาหลีใต้ ไต้หวัน ประเทศจีน และเศรษฐกิจตลาดใหม่ในยุโรปตะวันออก ตามมาด้วยการล่มสลายของคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออก ประเทศญี่ปุ่นและเยอรมนีถือเป็นประเทศที่เห็นเด่นชัดว่าพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วตลอดทศวรรษนี้ ประเทศกำลังพัฒนาทั่วโลกมีประสบความยากลำบากด้านความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจและสังคม ที่ประเทศเหล่านั้นพบกับปัญหาหนี้สินในคริสต์ทศวรรษ 1980 ประเทศเหล่านี้ต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศและธนาคารโลก ประเทศเอธิโอเปียประสบปัญหาความยากจนในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 ผลคือประเทศต้องการความช่วยเหลือจากต่างชาติในด้านอาหารกับประชากรและทั่วโลกต่างกันช่วยหาเงินช่วยเหลือต่อชาวเอธิโอเปีย อย่างเช่นคอนเสิร์ตไลฟ์เอด ในปี 1985 ที่จัดขึ้นเพื่อหาเงินดังกล่าว ปัญหาด้านสงคราม เกิดความรุนแรงในตะวันออกกลาง อย่างสงครามอิรัก-อิหร่าน และความขัดแย้งในเลบานอนช่วงปี 1982 ถึง 1983 และกองทัพอเมริกันเข้าบุกลิเบียในปี 1985 และ Intifada ในฉนวนกาซาและเวสต์แบงก์ คริสต์ทศวรรษ 1980 ยังเป็นยุคที่มีอัตราการเติบโตของจำนวนประชากรอย่างมาก ไปทั่วโลก มากกว่าแม้ในคริสต์ทศวรรษ 1970 และคริสต์ทศวรรษ 1990 มีอัตราการเติบโตของจำนวนประชากรมากขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะชาวแอฟริกา ตะวันออกกลาง และเอเชียใต้ ตลอดทศวรรษ ด้วยอัตราการเพิ่มใกล้หรือมากกว่า 4% ต่อปี.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและคริสต์ทศวรรษ 1980
คิทาโร
ทาโร เกิดเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1953 มีชื่อจริงว่า มะซะโนริ ทะคะฮะชิ (高橋正則) ในเมืองโทะโยะฮะชิ จังหวัดไอจิ ประเทศญี่ปุ่น ในครอบครัวชาวนาที่เลื่อมใสในลัทธิชินโต คิทาโรเป็นนักดนตรีและนักประพันธ์ดนตรีแบบนิวเอจ ที่ใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ (ซินทีไซเซอร์) ในการสร้างผลงาน สำหรับนามแฝง "คิทาโร" (Kitaro) นั้นเพื่อนๆ ตั้งให้ในภายหลัง ตามตัวละครตัวหนึ่งในภาพยนตร์การ์ตูนคิทาโรทางโทรทัศน์ของญี่ปุ่น คิทาโรเป็นนักดนตรีที่เรียนดนตรีด้วยตัวเอง ถึงแม้ว่าไม่สามารถอ่านโน้ตได้ เขาสามารถเล่นเครื่องดนตรีได้หลายอย่าง เช่น กีตาร์, ซินธีไซเซอร์, กลอง taiko, ฟลุต เป็นต้น.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและคิทาโร
คีย์บอร์ดไฟฟ้า
ีย์บอร์ดไฟฟ้า คีย์บอร์ดไฟฟ้า (Electronic keyboard) หรือ คีย์บอร์ด (Keyboard) เป็นเครื่องดนตรีประเภทลิ่มนิ้ว (Keyboard instrument) มีแป้นกดเสียงโน้ตที่มีรูปร่างคล้ายกับแป้นกดเสียงโน้ตของเปียโน และเป็นเครื่องดนตรีที่ต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้าสำหรับระบบการทำงานเสมอ คีย์บอร์ดไฟฟ้าจะสร้างเสียงขึ้นมาทันทีเมื่อแป้นกดเสียงโน้ตของมันถูกกด โดยจะมีการผลิตเสียงผ่านระบบคอมพิวเตอร์ภายในตัวเครื่อง โดยทั่วไปแล้ว คีย์บอร์ดไฟฟ้าจะมีปุ่มตัวเลขเล็กๆ หรือ จานหมุนเล็กๆ สำหรับใช้เปลี่ยนแปลงรูปแบบเสียง เพื่อการร่วมบรรเลงให้กับแนวเพลงที่แตกต่างกันออกไป รูปแบบเสียงภายในคีย์บอร์ดไฟฟ้านั้น จะมีให้ผู้ใช้ได้เลือก โดยมักจะมีตั้งแต่เสียง เปียโน, ฮาร์ปซิคอร์ด, แคลฟวิคอร์ด, ออร์แกน, กีต้าร์, กีตาร์เบส, ทรัมเป็ต, ทรอมโบน, แซกโซโฟน, หีบเพลงชัก รวมไปถึงเสียงกลุ่มเครื่องสายภายในวงออร์เคสตรา, เสียงกลุ่มเครื่องเป่าภายในวงโยธวาทิต, เสียงสังเคราะห์ชนิดต่างๆจากเครื่องสังเคราะห์เสียง รวมไปถึงเสียงเครื่องเคาะประกอบจังหวะ เช่น คองกา, บองโก, ไทรแองเกิล, แทมบูรีน, มาราคัส, และกลองชุด เป็นต้น โดยทั่วไปแล้ว คีย์บอร์ดไฟฟ้ามักถูกใช้ร่วมบรรเลงกับดนตรีสากลหลากหลายแนว เช่น ป็อป, ร็อค, แจ๊ส, อาร์แอนด์บีร่วมสมัย, และดนตรีอีเลกโทรนิก เป็นต้น คีย์บอร์ดไฟฟ้ายังได้รับความนิยมมากในช่วงทศวรรษที่ 80 ในการบรรเลงดนตรีแนว นิวเวฟ, โปรเกรสซีฟร็อค, นิวเอจ, แจ๊สฟิวชัน, ยูโรแดนซ์, และซินธ์ป็อป นอกจากดนตรีสมัยใหม่แล้ว คีย์บอร์ดไฟฟ้ายังใช้ร่วมบรรเลงกับดนตรีพื้นบ้านบางแนวได้เช่นกัน เช่น ดนตรีลูกทุ่ง เป็นต้น ด้วยขนาดที่กะทัดรัดและความสามารถในการจำลองเสียงเครื่องดนตรีสากลหลากหลายประเภท ทำให้คีย์บอร์ดไฟฟ้ายังคงได้รับความนิยมจากเหล่านักดนตรีมาจนถึงปัจจุบัน.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและคีย์บอร์ดไฟฟ้า
ซอฟต์ร็อก
ซอฟต์ร็อก (Soft rock) หรือบางครั้งเรียก เมลโลว์ร็อก (mellow rock) ไลต์ร็อก (light rock) หรือ อีซีร็อก (easy rock) เป็นแนวเพลงที่ใช้เทคนิคของเพลงร็อกแอนด์โรล ซึ่งมักจะรวมองค์ประกอบจากโฟล์กร็อกและการเขียนเพลงป็อป โดยเขียนเพลงให้เบาลงไป รวมถึงดนตรีที่เบาลงไป เพลงประเภทซอฟต์ร็อกมักมีเนื้อหาไปทางเพลงรัก ชีวิตประจำวันและความสัมพันธ์ ส่วนเครื่องดนตรีอาจใช้กีตาร์อคูสติก เปียโน เครื่องสังเคราะห์เสียงหรือบางครั้งใช้แซกโซโฟน ส่วนกีตาร์ไฟฟ้าโดยมากจะใช้อย่างเบาบาง หมวดหมู่:ดนตรีร็อก.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและซอฟต์ร็อก
ซับบาธบลัดดีซับบาธ
ซับบาธบลัดดีซับบาธ (Sabbath Bloody Sabbath) เป็นสตูดิโออัลบั้มที่ห้าของวงเฮฟวีเมทัลของอังกฤษ วงแบล็ก ซับบาธ ออกวางขายช่วง ธันวาคม 1973 อัลบั้มนี้มีการเพิ่มเคื่องสังเคราะห์เสียง และคีย์บอร์ดในการบันทึกเพลงด้ว.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและซับบาธบลัดดีซับบาธ
ซินท์ป็อป
ซินท์ป็อป หรือบางครั้งเรียกว่า เทคโนป็อป (techno-pop).
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและซินท์ป็อป
ป็อปร็อก
ป็อปร็อก คือแนวเพลงที่ผสมระหว่างแนวป็อปกับร็อก จากหนังสือ American Popular Music อธิบายคำว่าป็อปร็อกไว้ว่า "คือดนตรีร็อกหลากหลายในจังหวะเร็ว เช่นศิลปินอย่าง เอลตัน จอห์น, พอล แม็กคาร์ทนีย์, เอเวอร์รีบราเธอร์ส, ร็อด สจ๊วต, ชิคาโก, ปีเตอร์ แฟรมป์ตัน" ส่วนนักวิจารณ์เพลงที่ชื่อ จอร์จ สตารโรสตินอธิบายว่า คือ แนวเพลงย่อยของป็อป ที่ใช้ท่อนติดหูที่มีการใช้กีตาร์เป็นหลัก ส่วนเนื้อเพลงป็อปร็อกจะดูรองกว่าด้านดนตรี ฟิลิป ออสแลนเดอร์ แสดงความแตกต่างระหว่างป็อปกับร็อกว่า ป็อปร็อกจะดูชัดเจนในอเมริกามากกว่าในสหราชอาณาจักร เขาอ้างว่า ในอเมริกา ป็อปมีรากฐานมาจากเพลงฮัมของคนขาวอย่างเช่น เพอร์รี โคโม ส่วนร็อกจะได้รับอิทธิพลมาจากคนแอฟริกัน-อเมริกัน อย่างดนตรีร็อกแอนด์โรล ออสแลนเดอร์ชี้ว่า แนวความคิดของป็อปร็อกคือการผสมผสานเพลงป็อปกับร็อกที่ดูจะตรงข้ามกัน นอกจากนี้ยังมีนักวิชาการกล่าวว่า เพลงป็อป จะดูไม่จริง ดูเย้ยหยัน ทำเพื่อการค้า ดูเป็นสูตรสำเร็จของการบันเทิง ในทางตรงข้าม ร็อกแสดงความจริง ความจริงใจ ปฏิเสธการค้าขาย โดยเน้นเนื้อหาการแต่งเพลงโดยนักร้อง และวงดนตรี ที่ก่อให้เกิดความเชื่อมโยงกับผู้ฟัง ผู้ดู.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและป็อปร็อก
ป็อปคอร์น (เพลง)
ป็อปคอร์น (Popcorn) เป็นเพลงบรรเลงอิเล็กทรอนิกส์ป็อป แต่งโดยเกอร์ชอน คิงสลีย์ นักดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ชาวเยอรมันในปี..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและป็อปคอร์น (เพลง)
นอยเอดอยท์เชแฮร์เต
นอยเอดอยท์เชแฮร์เต (Neue Deutsche Härte; "New German Hardness" หรือรู้จักในชื่อ Die Neue Härte) เป็นแนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์เมทัลเยอรมัน หรือแดนซ์เมทัล (tanzmetal) เป็นแนวเพลงย่อยของเพลงร็อก ผู้คิดค้นคำนี้คือสื่อด้านดนตรีเยอรมัน หลังจากอัลบั้มแรกของวงรัมสไตน์ ที่ชื่อชุด Herzeleid (1995) ออกวาง.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและนอยเอดอยท์เชแฮร์เต
นอตอะโลน (เพลงลิงคินพาร์ก)
"นอตอะโลน" เป็นเพลงที่แต่งและบันทึกโดยวงดนตรีร็อกชาวอเมริกัน ลิงคินพาร์ก จากอัลบั้มรวมเพลงชุดแรก ดาวน์โหลดทูโดเนตฟอร์เฮติ (Download to Donate for Haiti) เป็นซิงเกิลที่ 21 ของวง ซึ่งออกจำหน่ายในวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและนอตอะโลน (เพลงลิงคินพาร์ก)
นิวแจ็กสวิง
นิวแจ็กสวิง (New jack swing) หรือ สวิงบีต (swingbeat) เป็นแนวเพลงที่ได้รับความนิยมในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 ไปจนถึงกลางคริสต์ทศวรรษ 1990 ที่ผสมผสานจังหวะ แซมเพิล และเทคนิคการทำเพลงแบบฮิปฮอปเข้ากับดนตรีเออเบินร่วมสมัยของอาร์แอนด์บี เพลงแนวนิวแจ็กสวิงพัฒนามาจากเพลงอาร์แอนด์บีก่อนหน้าหลายสไตล์ เข้ากับองค์ประกอบทั้งเก่าและใหม่เข้าด้วยกัน ใช้การโซโลหวาน ๆ หรือการร้องกลมกลืนกับจังหวะและจังหวะแบบ "สตรีต" ที่ได้รับอิทธิพลมาจากดนตรีเออเบิน ส่วนดนตรีของนิวแจ็กสวิงจะมาจากฮิปฮอปแบบ "สวิง" ที่สร้างสรรค์โดยดรัมแมชชีน และการใช้แซมเพิล ที่ได้รับความนิยมอย่างมากในยุคทองของฮิปฮอป และสไตล์การร้องแบบอาร์แอนด์บีร่วมสมัย คำว่า "นิวแจ็กสวิง" เป็นคำที่คิดค้นโดยนักเขียน-ผู้สร้างหนังที่ชื่อ แบร์รี ไมเคิล คูเปอร์ (เขียนบทให้กับภาพยนตร์อย่าง New Jack City, Above the Rim และ Sugar Hill) ในหนังสือพิมพ์ The Village Voice หัวข้อ "Teddy Riley Groove Master: Harlem Gangsters Raise a Genius" ในฉบับวันที่ 18 ตุลาคม..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและนิวแจ็กสวิง
นิวเอจ
นตรีนิวเอจ หากแปลตามตัวก็หมายถึง ดนตรียุคใหม่ เป็นแนวดนตรีชนิดหนึ่งมีจุดเริ่มต้นจากงานความหลากหลายของนักดนตรียุโรปและอเมริกันในทศวรรษที่ 60 ที่ทำเพลงอีเลกโทรนิกและอคูสติก โดยทั่วไปมีลักษณะการใช้เครื่องดนตรีพื้นฐานและความซ้ำของเมโลดี้ในธรรมชาติ การบันทึกเสียงจากธรรมชาติก็มีการนำมาใช้ในเพลง ดนตรีนิวเอจมีดนตรีที่ให้ความผ่อนคลาย แรงบันดาลใจ และมักใช้กับกิจกรรมต่างๆ อย่างเช่น โยคะ การนวด การทำสมาธิ การอ่านหนังสือ และการบริหารความเครียด ที่จะสร้างบรรยากาศไม่ว่าจะที่บ้านหรือสถานที่ต่าง ๆ ลักษณะของดนตรีนิวเอจมักผสมระหว่างเสียงเอฟเฟกหรือเสียงจากธรรมชาติ รวมกับเพลงอีเลกโทรนิกและเครื่องดนตรี อาศัยโครงของดนตรีหนุนไว้ อย่างเช่น ฟลุต เปียโน อคูสติกกีตาร์ และอาจรวมถึงเครื่องดนตรีตะวันออก ซึ่งในบางเพลงอาจมีการร้องลำนำในภาษาสันสกฤต ทิเบต หรือการสวดของคนพื้นถิ่นในทวีปอเมริกาเหนือ เป็นต้น หรือในบางคร้งก็มีการเขียนเนื้อร้องที่อิงมาจากเทพนิยายอย่างตำนานเคลติก เป็นต้น สำหรับเพลงที่มีความยาวมากกว่า 20 นาทีในเพลงประเภทนี้ไม่ใช่สิ่งที่แปลกอะไร และในบางครั้งลักษณะของเพลงแบบนี้ก็มีการเปรียบได้ว่าดนตรีแอมเบียนต์ (ambient music) ในช่วงทศวรรษที่ 80 ดนตรีนิวเอจได้รับความนิยมทางสถานีวิทยุทั่วไป.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและนิวเอจ
นูแจ๊ส
นูแจ๊ส (Nu jazz) เป็นคำที่เกิดขึ้นในปลายทศวรรษ 1990 ที่หมายถึงประเภทดนตรีที่ผสมผสานองค์ประกอบของเพลงแนวแจ๊สเข้ากับแนวเพลงอื่น เช่น ฟังก์ ดนตรีโซล ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ และคีตปฏิภาณ สด ๆDefinition from Sergey Chernov, June 7, 2002, in The St.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและนูแจ๊ส
นีโร (วงดนตรี)
นีโร (Nero หรือเขียนว่า NERO) เป็นกลุ่มดนตรีแนวอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยสมาชิก 3 คนคือ แดเนียล สตีเฟนส์, โจ เรย์ และอาลานา วัตสัน ในเดือนสิงหาคม..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและนีโร (วงดนตรี)
นีโอโซล
นีโอโซล หรือบางครั้งเรียก นูโซล (nu soul) เป็นแนวเพลงย่อยของแนวเพลงอาร์แอนด์บีร่วมสมัย ดนตรีมักผสมผสามดนตรีโซลในยุค 70 และได้รับอิทธิพลจากแนวเพลงแจ๊ซ ฟังก์ ละติน แอฟริกัน ฮิปฮอป และดนตรีเฮาส์ คำว่านีโอโซลมีที่มาจากเคดาร์ มาสเซนเบิร์ก จากค่ายโมทาวน์ในช่วงปลายยุค 1990 โดยกลุ่มคนฟังแนวเพลงนี้มักจะสนใจเพลงใต้ดิน ไร้สังกัด และความเป็นโซลมากกว่าแนวเพลงกระแสหลัก หมวดหมู่:แนวดนตรี.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและนีโอโซล
แกรี นูแมน
แกรี นูแมน (Gary Numan) เกิดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 1958 ที่ แฮมเมอร์สมิธ ในนครลอนดอน เป็นนักร้องชาวอังกฤษ เขาเป็นที่รู้จักกับซิงเกิล "Are 'Friends' Electric?" รวมกับวง Tubeway Army และ ประสบความสำเร็จกับซิงเกิล "Cars" ก็ทำให้เป็นเพลงซินธ์ป็อปนิยมไปทั้งอังกฤษและอเมริก.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและแกรี นูแมน
แร็ปร็อก
แร็ปร็อก (Rap rock) เป็นแนวเพลงที่รวมดนตรีระหว่างฮิปฮอป และดนตรีร็อก หลากหลายสไตล์ แร็ปร็อกมักจะรวมกับแนว แร็ปเมทัล และ แร็ปคอร์ ซึ่งรวมถึงแนวเพลงย่อยของร็อก ได้แก่ เฮฟวีเมทัล และฮาร์ดคอร์พังก์ หมวดหมู่:แร็ปร็อก.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและแร็ปร็อก
แอซิดเฮาส์
แอซิดเฮาส์ (Acid house) เป็นแนวเพลงย่อยของดนตรีเฮาส์ที่เน้นจังหวะซ้ำแบบถูกสะกดจิต เหมือนกับดนตรีแทรนซ์ที่มักจะมีแซมเพิล หรือมีสายเสียงพูดแทนศิลปิน มีแกนเสียงดังผลัวะแบบอิเล็กทรอนิกส์ของแอซิดเฮาส์ และได้รับการพัฒนาในประมาณกลางยุค 1980 โดยเฉพาะอย่างยิ่งดีเจจากชิคาโก ผู้ทดลองกับ Roland TB-303 (เป็นเครื่องสังเคราะห์เสียง-ซีเควนเซอร์ อิเล็กทรอนิกส์) แอซิดเฮาส์ได้แพร่กระจายไปยังสหราชอาณาจักร และทวีปยุโรป ที่ถูกเล่นโดยดีเจในดนตรีแอซิดเฮาส์และต่อมาเป็นงานสังสรรค์เรฟ โดยในปลายทศวรรษ 1980 มีเพลงที่เลียนแบบ และแอซิดเฮาส์รีมิกซ์ที่นำแนวเพลงไปสู่กระแสหลัก ที่ยังมีบางอย่างที่ได้รับอิทธิพลจาก แนวป็อป และแดนซ์ ชื่อเล่น "เดอะซาวด์ออฟแอซิด" (the sound of acid) มีอิทธิพลต่อเพลงแดนซ์ของแอซิดเฮาส์ที่มีแก่นแท้เมื่อได้ถูกพิจารณาจากจำนวนที่แท้จริงของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ แทร็กที่อ้างอิงถึงแอซิดเฮาส์ที่ได้ผ่านการใช้เสียง รวมทั้ง แทรนซ์ กัวแทรนซ์ ไซเคเดลิกแทรนซ์ เบรกบีต บิ๊กบีต เทคโน ทริปฮอป และดนตรี.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและแอซิดเฮาส์
แฮปปี้ฮาร์ดคอร์
แฮปปี้ฮาร์ดคอร์ (Happy Hardcore) เป็นแนวเพลง แด๊นซ์ ประเภทหนึ่ง ที่เกิดขึ้นในต้นทศวรรษ 1990 มีลักษณะจังหวะเรฟที่รวดเร็ว (ความเร็วอยู่ระหว่าง 165–180 bpm) ในช่วงปลาย ยุค 90 เป็นแนวเพลงหนึ่งของ แทรนซ์ หมวดหมู่:แนวดนตรี.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและแฮปปี้ฮาร์ดคอร์
แจ๊ส
แจ๊ส เป็นลักษณะดนตรีชนิดหนึ่งที่พัฒนามาจากกลุ่มคนดำในสหรัฐอเมริกา (African Americans) ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยมีลักษณะพิเศษคือโน้ตบลูส์ การลัดจังหวะ จังหวะสวิง การโต้และตอบทางดนตรี และการเล่นสด โดยแจ๊สถือเป็นลักษณะดนตรีคลาสสิกชนิดหนึ่งของสหรัฐอเมริก.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและแจ๊ส
แจ๊สฟิวชัน
แจ๊สฟิวชัน (Jazz fusion) ในบางครั้งอาจเรียกว่า ฟิวชัน (fusion) หรือ แจ๊สร็อก (jazz-rock) เป็นแนวดนตรีประสานที่พัฒนามาจากการผสมของดนตรีฟังก์และอาร์แอนด์บี จังหวะและการพัฒนามาและเอฟเฟกอิเล็กทรอนิกส์ของเพลงร็อก มีเครื่องหมายประจำจังหวะที่ซับซ้อน ที่ไม่ได้เอามาจากดนตรีตะวันตก เครื่องดนตรีทั่วไปมีส่วนประกอบเข้าใกล้ดนตรีแจ๊สไปยังการแสดงของกลุ่มยืดยาว โดยมักจะใช้เครื่องเป่าลมและทองเหลืองและการแสดงในระดับสูงของเทคนิคในการใช้เครื่องดนตรี คำว่า "แจ๊สร็อก" มักถูกใช้เป็นคำพ้องกับ "แจ๊สฟิวชัน" เช่นเดียวกับดนตรีที่เล่นในปลายทศวรรษที่ 1960 และ 1970 ยุคที่วงร็อกได้เพิ่มองค์ประกอบของดนตรีแจ๊ส หลังจากได้รับความนิยมในช่วงปีทศวรรษ 1970 ที่ฟิวชันขยายแนวทางการแสดงสด และการทดลองปฎิบัติต่อในทศวรรษที่ 1980 และ 1990 อัลบัมฟิวชันเหล่านั้นจะทำโดยกลุ่มเดียวกันหรือศิลปินที่อาจรวมถึงความหลากหลายของสไตล์ ตรงกันข้ามกว่าการรวบรวมสไตล์ดนตรี ฟิวชันสามารถมองได้ว่าประเพณีดนตรีหรือการกระชั้นชิด หมวดหมู่:แนวดนตรี หมวดหมู่:ดนตรีแจ๊ส.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและแจ๊สฟิวชัน
แทรนซ์
แทรนซ์ เป็นแนวเพลงอีเลกโทรนิกแด๊นซ์ ที่พัฒนาในทศวรรษ 1990 มีจังหวะอยู่ราว 128 และ 160 บีพีเอ็ม เมโลดี้ใช้เครื่องสังเคราะห์เสียงที่รวมรูปแบบต่าง ๆ ของดนตรีอีเลกโทรนิก อย่างเช่น ดนตรีแอมเบียนต์ เทคโน และดนตรีเฮาส์ ยังมีการอธิบายว่าแทรนซ์ มีเมโลดี้คลาสสิกบนจังหวะจังเกิล คำว่า แทรนซ์ ไม่แน่ชัดเรื่องที่มา แต่มีบางกระแสบอกว่ามาจากชื่ออัลบั้มของ Klaus Schulze ที่ชื่อ Trancefer (1981) หรือศิลปินแทรนซ์ยุคแรกอย่าง Dance 2 Trance เพลงแนวแทรนซ์มักเล่นในไนต์คลับ สถานที่ท่องเที่ยวพักผ่อน ในเมือง และแทรนซ์ยังถูกจัดเป็นหนึ่งในดนตรีคลั.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและแทรนซ์
แดนซ์พังก์
แดนซ์พังก์ (Dance-punk) ในบางครั้งอาจเรียกว่า ดิสโก้พังก์ และ อินดี้แดนซ์ เป็นแนวเพลงที่กำเนิดในปลายคริสต์ทศวรรษที่ 1970 และ มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับการเคลื่อนไหวของดนตรีแนวโพสต์พังก์ และ โนเวฟ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและแดนซ์พังก์
แดนซ์ร็อก
แดนซ์ร็อก (Dance-rock) เป็นแนวดนตรีโพสต์ดิสโก้ที่เกี่ยวข้องกับแนวดนตรีโพสต์พังก์ เกิดขึ้นในช่วงต้นปี 1980 หลังจากกระแสหลักของพังก์และดิสโก้มาถึงจุดดั.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและแดนซ์ร็อก
แดนซ์ฮอลล์
แดนซ์ฮอลล์ (dancehall) เป็นแนวเพลงป็อปของชาวจาเมกาที่พัฒนาในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1970 ในช่วงแรกเกิดขึ้นอย่างบางตาและไม่เน้นเรื่องการเมืองและศาสนาอย่างเร็กเก มากกว่าแนวเพลงที่โดดเด่นมากในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970Barrow, Steve & Dalton, Peter (2004) "The Rough Guide to Reggae, 3rd edn.", Rough Guides, ISBN 1-84353-329-4 ในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 เครื่องดนตรีรูปแบบดิจิทัลแพร่หลายมากขึ้น ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางด้านดนตรี กับแดนซ์ฮอลล์แบบดิจิทัล (หรือ รักก้า) ที่เริ่มเพิ่มเอกลักษณ์โดยจังหวะเร็วขึ้นกับการเชื่อมโยงเล็กน้อยกับจังหวะเร็กเกช่วงแรก.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและแดนซ์ฮอลล์
แดนซ์ป็อป
แดนซ์ป็อป (Dance-pop) เป็นแนวเพลงประเภทอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์และแนวเพลงย่อยของป็อป เกิดขึ้นหลังยุคดิสโก้ ราวปี..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและแดนซ์ป็อป
แคชเมียร์ (ดีเจ)
นเลส โฮลโลเวล-เดียร์ (Niles Hollowell-Dhar) หรือที่รู้จักกันดีในนาทของ Kshmr (ออกเสียง "Kashmir"; เขียนเฉพาะตัว KSHМR หรือบางครั้งเขียน KSHMЯ) เป็นดีเจชาวอเมริกัน,โปรดิวเซอร์ และนักดนตรีจากเมืองเบิร์กลีย์,รัฐแคลิฟอร์เนีย เขาติดอันดับที่ 23 ของนิตยสาร DJ Mag's 2015 Top 100 DJs และได้รับรางวัล "The Highest New Entry".
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและแคชเมียร์ (ดีเจ)
แซมพลิง
ในทางดนตรี แซมพลิง หรือ การแซมเพิล (sampling) คือการนำบางส่วนของเสียงและเพลง ซึ่งเรียกว่า แซมเพิล นำมาใช้ใหม่ในอีกเพลง โดยทั่วไปจะใช้เครื่องแซมเพลอร์ ซึ่งอาจเป็นส่วนหนึ่งในฮาร์ดแวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ กับดิจิตอลคอมพิวเตอร์ แซมพลิงสามารถทำได้โดยใช้การเปิดเทปวนซ้ำ หรือใช้แผ่นไวนิลเล่นบนเครื่องเล่นจานเสียง คนที่ใช้แซมเพิลนี้อาจเป็นโปรดิวเซอร์เพลงหรือคนทำจังหวะเพลง ถึงแม้ว่าการทำจังหวะสามารถทำได้โดยเครื่องดนตรีสดและเครื่องสังเคราะห์เสียง แซมพลิงก็เป็นวิธีหนึ่งที่คนทำจังหวะมักทำกัน การใช้แซมเพิลในเพลง อาจใช้ส่วนหนึ่งของเพลง ในส่วนต่าง ๆ เช่น การใช้ท่อนกลองในท่อนนำของเพลง "When the Levee Breaks" โดยเลดเซพเพลิน ในเพลงของบีสตีบอยส์ ดร.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและแซมพลิง
โบรกเคนบีต
โบรกเคนบีต (Broken beat) เป็นแนวเพลงดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ มักจะแสดงลักษณะพิเศษโดยการใช้จังหวะที่ไม่ตรงจังหวะกลองแบบแผน 4/4 หมวดหมู่:แนวดนตรี.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและโบรกเคนบีต
โพรเกรสซิฟเฮาส์
รเกรสซิฟเฮาส์ (Progressive house) เป็นแนวเพลงย่อยของดนตรีเฮาส์ โพรเกรสซิฟเฮาส์ได้ปรากฏในต้นยุค 1990 มันได้พัฒนาขั้นในสหราชอาณาจักร แต่ต้นกำเนิดมาจากดนตรีเฮาส์ในอเมริกาและยุโรปในปลายยุค 1980Gerard, Morgan; Sidnell, Jack.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและโพรเกรสซิฟเฮาส์
โพสต์พังก์
ต์พังก์ (post-punk) เป็นแนวพังก์ร็อกที่เกิดขึ้นปลายทศวรรษที่ 70 เกิดขึ้นหลังพังค์ร็อกได้รับความนิยมในทศวรรษที่ 70 มีการหยิบซาวนด์มาทดลองมากกว่า อย่างเช่น ซาวนด์ของอิเล็กทรอนิกส์ เร้กเก้ แอฟริกันบีต แจ๊ส โฟล์ค เข้าไปใช้ โพสต์พังก์ได้รับความนิยมมากเมื่อประมาณปี 1977-1984 อย่าง ทอล์คกิ้ง เฮด เป็นต้น วงโพสต์พังก์รุ่นใหม่ เช่น เดอะ ฟิวเจอร์เฮดส์, ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์, เดอะ สโตรคส์ เป็นต้น.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและโพสต์พังก์
โรเบิร์ต โม้ก
็อบ โม้กกับเครื่องสังเคราะห์เสียงโม้กรุ่นต่างๆ ที่เขาประดิษฐ์ขึ้น โรเบิร์ต อาร์เทอร์ "บ็อบ" โม้ก (Robert Arthur "Bob" Moog; Moog ออกเสียงว่า /ˈmoʊɡ/ MOHG) เป็นวิศวกรไฟฟ้าชาวอเมริกัน ผู้ก่อตั้งบริษัทโม้กมิวสิก เป็นนักประดิษฐ์ที่เป็นที่รู้จักในฐานะผู้ออกแบบเครื่องสังเคราะห์เสียงโม้ก ที่ใช้ในงานดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ โม้กเป็นชาวนครนิวยอร์ก จบสาขาฟิสิกส์จากควีนสคอลเลจ มหาวิทยาลัยแห่งนิวยอร์ก จบวิศวกรรมไฟฟ้าจากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย และปริญญาเอกวิศวกรรมฟิสิกส์จากมหาวิทยาลัยคอร์เนล โม้กเป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องสังเคราะห์เสียงขนาดเล็ก การเคลื่อนย้ายสะดวก ราคาปานกลาง ชื่อรุ่น มินิโม้ก ขึ้นในปี..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและโรเบิร์ต โม้ก
โอลด์สคูลจังเกิล
อลด์สคูลจังเกิล (Oldschool jungle) เป็นแนวเพลงแดนซ์ประเภทหนึ่งที่มีความใกล้เคียงกับดนตรีดรัมแอนด์เบส ได้รับอิทธิพลจาก เบรกบีตฮาร์ดคอร์ เทคโน แรร์กรูฟ และ เร้กเก้/ดั๊บ/แดนซ์ฮอลล.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและโอลด์สคูลจังเกิล
โจ ฮาห์น
ซฟ ฮาห์น (Joseph Hahn, 조지프 한 โจจีพึ ฮัน, เกิด 15 มีนาคม ค.ศ. 1977) หรือที่รู้จักในนาม โจ ฮาห์น และมิสเตอร์ฮาห์น นักเทิร์นเทเบิล และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน และมีชื่อเสียงจากการเป็นดีเจ และสมาชิกวงลิงคินพาร์ก.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและโจ ฮาห์น
โจ เพร์รี (นักดนตรี)
แอนโทนี โจเซฟ "โจ" เพร์รี (Anthony Joseph "Joe" Perry) เป็นมือกีตาร์ ร้องประสานและร้องนำบางโอกาสและนักแต่งเพลงร่วมแห่งวงร็อก แอโรสมิธ เขาได้รับการจัดอันดับที่ 84 ในนิตยสารโรลลิงสโตนส์'จากรายชื่อ 100 มือกีต้าร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล (100 Greatest Guitarists of All Time).
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและโจ เพร์รี (นักดนตรี)
โซฟิสติป็อป
ซฟิสติป็อป (sophisti-pop) เป็นแนวดนตรีย่อยของเพลงป็อป ถือกำเนิดในช่วงกลางทศวรรษ 1980 ในสหราชอาณาจักร มีการผสมผสานแนวเพลงแจ๊ส, โซลและป็อป ลักษณะของแนวเพลงนี้มีการใช้คีย์บอร์ดไฟฟ้าและเครื่องสังเคราะห์เสียงอย่างแพร่หลาย การเรียบเรียงอย่างเรียบร้อยและบางครั้งมีการใช้เครื่องเป่า นิตยสาร สไตลัส ระบุว่าแนวเพลงนี้ได้รับอิทธิพลจากวงโรซีมิวสิกและไบรอัน เฟอร์รี ด้านออลมิวสิกระบุว่าศิลปินแนวเพลงนี้ได้แก่ ซิมพลีเรด, ชาเด, เดอะสไตล์เคาน์ซิล, บาชา, สวิงเอาต์ซิสเตอร์, พรีแฟบสเปราต์และเอฟรี่ทิงบัทเดอะเกิร์ลในช่วงแรก.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและโซฟิสติป็อป
ไมล์ส เดวิส
มล์ส เดวีย์ เดวิส ที่ 3 (Miles Dewey Davis III) หรือ ไมล์ส เดวิส นักทรัมเปต นักแต่งเพลง และหัวหน้าวงดนตรีแจ๊สชาวอเมริกัน ที่ได้ชื่อว่าเป็นนักดนตรีที่มีอิทธิพลต่อวงการดนตรีที่สุดคนหนึ่งในศตวรรษที่ 20 เป็นผู้ที่พัฒนาการเล่นดนตรีแจ๊สแนวทางใหม่หลายแนว โดยเป็นแถวหน้าในการทดลองดนตรีแนวคูลแจ๊ส ฮาร์ดบ็อพ ฟรีแจ๊สและฟิวชันแจ๊ส มีนักดนตรีแจ๊สคนสำคัญหลายคนได้ร่วมงานกับวงดนตรีของเขา เช่น จอห์น โคลเทรน เฮอร์บี แฮนค็อก บิล อีแวนส์ ชิค โคเรีย จอห์น แมคลาฟลิน จูเลียน แอดเดอร์ลีย์ คีธ จาร์เรต ไมล์ส เดวิส ได้รับการบรรจุชื่อไว้ในหอเกียรติยศร็อกแอนด์โรล เมื่อปี..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและไมล์ส เดวิส
ไมค์ ชิโนะดะ
มเคิล เคนจิ ชิโนะดะ เกิดเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1977 เป็นนักดนตรีชาวอเมริกัน-ญี่ปุ่น จากเมืองอากูราฮิลส์ รัฐแคลิฟอร์เนีย นับว่าเป็นหนึ่งในสองคนของวงลิงคินพาร์กที่มีเชื้อสายเอเชีย (อีกคนหนึ่งชื่อ โจ ฮาห์น) เขามีชื่อเสียงในฐานะแร็ปเปอร์ นักแต่งเพลงในเพลงต่างๆ ของลิงคินพาร์ก เป็นมือคีย์บอร์ด/เปียโน นักร้องเสียงประสาน มือจังหวะกีตาร์ และเป็นโปรดิวเซอร์เพลงของลิงคินพาร์คอีกด้วย และเขายังมีโปรเจกต์อื่นอย่างออกผลงานแนวฮิปฮอปในนาม ฟอร์ตไมเนอร์ นอกจากนี้เขายังมีผลงานศิลปะเป็นของตัวเองอีกด้วย เขาติดอันดับที่ 72 ในรายการของ "Top 100 Heavy Metal Vocalists" โดย Hit Parader เสียงของไมค์อยู่ในโทนเสียงแบริโทน.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและไมค์ ชิโนะดะ
ไรอัน เท็ดเดอร์
รอัน เบนจามิน เท็ดเดอร์ (Ryan Benjamin Tedder) (เกิด 26 มิถุนายน ค.ศ. 1979) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์, และนักแสดงชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักดีในฐานะนักร้องนำของวงดนตรีแนวป็อปร็อก วันรีพับบลิก แม้ว่าเขาตัวคนเดียวจะเป็นนักแต่งเพลงและโปรดิวเซอร์ให้กับนักร้องมากมาย เช่น อะเดล, บียอนเซ่, เบอร์ดี, มารูนไฟฟ์, เดมี โลวาโต, เอลลี โกลดิง, บี.โอ.บี, เคลลี คลาร์กสัน, เค'นาน, แคร์รี อันเดอร์วูด, เจนนิเฟอร์ โลเปซ, จอร์ดิน สปาร์กส, เลโอนา ลูวิส, เกวิน เดอกรอว์, เซบาสเตียน อินกรอสโซ, จิม คลาส ฮีโรส์, วันไดเรกชัน, เจมส์ บลันต์, ฟาร์อีสต์มูฟเมนต์, พอล โอกเคนโฟลด์ และเอลลา เฮนเดอร์สัน งานการผลิตเพลงและเขียนเพลงของเท็ดเดอร์ประสบความสำเร็จอย่างดี เพลง อะพอโลไจซ์ บลีดดิงเลิฟ เฮโล และเคาน์ติงสตาส์ ล้วนแล้วแต่เป็นหนึ่งในซิงเกิลที่ขายดีที่สุดในโลกตลอดกาล เมื่อต้นปี..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและไรอัน เท็ดเดอร์
ไฮเอนเนอร์จี
อนเนอร์จี (Hi-NRG) เป็นแนวเพลงย่อยของดิสโก้หรือดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ มีต้นกำเนิดในสหรัฐอเมริกาช่วงปลายทศวรรษ 1970 แนวเพลงมีลักษณะที่เป็นจังหวะรวดเร็ว พร้อมกับเสียงไฮแฮตสั้น (กับจังหวะ 4/4) เสียงร้องจะเข้มข้นและเสียงเบสไลน์ที่เร้าใจ ไฮเอนเนอร์จียังมีอิทธิพลต่อดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ในปัจจุบัน ในช่วงแรกมีความเกี่ยวข้องกับอิตาโลดิสโก้ รวมถึงดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดใหม่ในอเมริกา เช่น โพสต์ดิสโก้.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและไฮเอนเนอร์จี
ไทยป็อป
ทยป็อป เป็นแนวเพลงของไทยที่มาจากเพลงป็อปฝั่งตะวันตก ปรากฏในช่วงยุค 2520 ในช่วงนั้นรู้จักกันในนาม เพลงสตริง ได้เข้าสู่กระแสนิยมหลักในยุค 2530 และได้เป็นที่โดดเด่นตั้งแต่นั้นมาในวงการเพลงไทย เพลงสตริงมีต้นกำเนิดจากวงดนตรีอาร์แอนด์บีและเซิรฟร็อกอเมริกันเซ่น เดอะเวนเจอส์ (The Ventures) และ ดิก เดล, แนวเพลงเอ็กโซติกา (Exotica), ร็อกอะบิลลี (rockabilly) และ คันทรี ได้เข้ามาในประเทศไทย โดยทหารอเมริกันและออสเตรเลียในช่วงที่ทหารประจำการในเวียดนามในยุค 2500 และ 2510 นอกจากนี้ยังเอาดนตรีได้รับอิทธิพลมาจากการบุกของอังกฤษ รวมทั้ง ร็อกแอนด์โรล, การาจร็อก และเพลงประกอบภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด เพลงสตริงยังครอบคลุมไทยร็อก เพลงแดนซ์ แร็ป และเพลงสมัยนิยมที่ได้อิทธิพลจากตะวันตก แต่ไม่รวมถึงเพลงเพื่อชีวิต ในยุค 2520 ได้เพิ่มแนวเพลงอื่นได้แก่ ดิสโก้ ฟังก์ แดนซ์และร็อก ศิลปินแนวเพลงสตริงในยุคแรกได้แก่ ดิอิมพอสซิเบิ้ล, และ แกรนด์เอ็กซ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและไทยป็อป
ไซเคเดลิกแทรนซ์
ซเคเดลิกแทรนซ์ (Psychedelic trance) บางครั้งเรียก ไซแทรนซ์ (Psytrance) เป็นแนวเพลงย่อยของแทรนซ์ ได้รับอิทธิพลจากเพลงดนตรี กัวแทรนซ์ ในช่วงกลางยุคทศวรรษ 1990 เป็น ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ และ ดนตรีคลาสสิกของอินเดีย เพลงไซเคเดลิกแทรนซ์ส่วนใหญ่ถูกแต่งขึ้นมาโดยคอมพิวเตอร์ และเครื่องสังเคราะห์เสียง และ เครื่องดนตรี Nord Lead, Access Virus, Korg MS-2000, Roland JP-8000.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและไซเคเดลิกแทรนซ์
เบรกบีต
รกบีต (Breakbeat) ในบางครั้งอาจเรียกว่า เบรกบีตส์ หรือ เบรกส์ เป็นแนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ ที่พัฒนาในปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 มักจะแสดงลักษณะพิเศษโดยการใช้จังหวะที่ไม่ตรงจังหวะกลองแบบแผน 4/4 (ที่ไม่ยอมรับจังหวะแน่นอนของดนตรีเฮาส์และแทรนซ์) จังหวะเหล่านี้อาจเป็นลักษณะพิเศษในการใช้การลัดจังหวะดนตรีและการเล่นจังหวะหลายรูปแบบซ้อนกัน.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเบรกบีต
เบรกบีตฮาร์ดคอร์
รกบีตฮาร์ดคอร์ เป็นแนวเพลงแดนซ์ ได้รับอิทธิพลจากแนวเพลง แอซิดเฮาส์ และเบรกบีต ที่เกิดขึ้นปลายทศวรรษ 1980 เริ่มแพร่กระจาย ใน สหราชอาณาจักร ในต้นทศวรรษ 1990s เพลงแนวเบรกบีตฮาร์ดคอร์มักเล่นในไนต์คลับในสหราชอาณาจักร และเบรกบีตฮาร์ดคอร์ยังถูกจัดเป็นส่วนหนึ่งในดนตรีเรฟ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเบรกบีตฮาร์ดคอร์
เบรกคอร์
รกคอร์ (Breakcore) เป็นแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ รับอิทธิพลจากดรัมแอนด์เบส จังเกิล ดนตรีอินดัสเทรียล และดนตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์ ให้มีทิศทางในแนวเบรกบีต ที่เร่งความเร็ว ความซับซ้อน ความหนาแน่นเของเสียงอย่างสุดขีด เบรกคอร์เกิดขึ้นช่วงปลายทศวรรษที่ 90 โดยนักดนตรีแนวอิเล็กทรอนิกส์อย่าง Venetian Snares, Igorrr และเอเฟ็กซ์ ทวิน.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเบรกคอร์
เบอร์ซัม
ลโก้เบอร์ซัมในปี 1991 โลโก้เบอร์ซัมในปี 2010 ผลงานจิตรกรรมของ Theodor Kittelsen ซึ่งถูกนำไปเป็นหน้าปกอัลบั้ม Hvis lyset tar oss เบอร์ซัม (Burzum) เป็นชื่อโปรเจคเพลงแนวแบล็กเมทัล โดยวาร์จ วิเคอร์เนส (Varg Vikernes) โปรเจกต์ของเข้าเริ่มต้นในปี 1991 ณ เมืองแบร์เกน ประเทศนอร์เวย์ ซึ่งต่อมากลายเป็นเอกลักษณ์ที่มีอิทธิพลมากที่สุดต่อวงการเพลงแบล็คเมทัลในประเทศนอร์เวย์ (Norwegian black metal) ในปี 1992 และ 1993 เบอร์ซัมได้ออกอัลบั้มมาทั้งหมด 4 ชุด และวิเคอร์เนส ก็ได้ถูกจำกุมในข้อหาก่อเป็นผู้ขับเคลื่นอำนาจฝั่งขวา (Axis power) เผาโบสถ์ไม้คาทอลิกสี่แห่ง โดยเขายังถ่ายรูปโบสถ์ที่เหลือแต่ซากมาออกเป็นหน้าปกอีพี "อาสค์" (Aske) ในปี 1993 และฆาตรกรรมนายเอสไตน์ ยูโรนิมัส อาร์เซธ์ (Øystein 'Euronymous' Aarseth) มือกีตาร์เลื่องชื่อของวงเมย์เฮม ที่เคยเล่นกีตาร์ร่วมบันทึกเสียงให้อัลบั้มเบอร์ซัมให้ด้วย ในระหว่างติดคุก 21 ปีวิเคอร์เนสไม่หยุดทำเพลงระหว่างอยู่ในเรือนจำ มิหนำซ้ายังได้ออกอัลบั้มอีกสองชุด คำว่า "เบอร์ซัม" ยืมมาจากภาษาของเจ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเบอร์ซัม
เชนด์ทูเดอะริทึม
"เชนด์ทูเดอะริทึม" (Chained to the Rhythm) เป็นเพลงของนักร้องชาวอเมริกัน เคที เพร์รี เพลงมีนักร้องรับเชิญคือ สกิป มาร์ลีย์ นักร้องชาวจาไมกา และมีเสียงร้องของเซีย แต่ไม่ได้รับเครดิต สกิปและเซียร่วมแต่งเพลงกับเพร์รี และมีแมกซ์ มาร์ติน และอาลี พายามี เป็นโปรดิวเซอร์เพลง สังกัดแคปิตอลเรเคิดส์ออกจำหน่ายเพลงในวันที่ 10 กุมภาพัน..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเชนด์ทูเดอะริทึม
เฟรนช์เฮาส์
ฟรนช์เฮาส์ (French house) เป็นแนวดนตรีเฮาส์ที่เกิดขึ้นจากศิลปินฝรั่งเศส ซึ่งเป็นที่นิยมในช่วงปลายทศวรรษที่ 1990 และทศวรรษที่ 2000 ในวงการเพลงแดนซ์ของยุโรปและในรูปแบบแนวยุโรดิสโก้ บางครั้งเฟรนช์เฮาส์มีชื่ออื่นเรียกว่า เฟรนซ์ทัช (French touch) ฟิลเตอร์เฮาส์ (filter house) และ เทกฟังก์ (tekfunk) ดนตรีมีลักษณะที่มักจะใช้ฟิลเตอร์และเฟเซอร์เอฟเฟกต์คู่กับการแซมเพิลเพลงดิสโก้ของอเมริกันหรือยุโรปในปลายยุค 1970 และต้นยุค 1980 (หรือท่อนฮุกได้แรงบันดาลใจจากแซมเพิลดั้งเดิม) ซึ่งเป็นการทับเสียงเพลงดิสโก้ดั้งเดิมไป จังหวะของเพลงส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นจังหวะ 4/4 ที่มีช่วงเทมโป 110-130 รอบต่อนาที ศิลปินเฟรนช์เฮาส์ที่มีชื่อเสียงเช่น Daft Punk, Cassius, The Supermen Lovers, Modjo, Justice และ Etienne de Crecy.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเฟรนช์เฮาส์
เพอร์เพิลเรน (อัลบั้ม)
อร์เพิลเรน เป็นสตูดิโออัลบั้มที่ 6 ของพรินซ์ และเป็นครั้งแรกที่มีวงดนตรีเดอะเดอะรีโวลูชั่น มาร้องร่วม และเป็นอัลบั้มซาวน์แทร็คในภาพยนตร์ชื่อเดียวกันในปี ค.ศ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเพอร์เพิลเรน (อัลบั้ม)
เพาล์ ฟัน ดึค
มัททีอัส เพาล์ (Matthias Paul) เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อบนเวทีของเขา เพาล์ ฟัน ดึค (Paul van Dyk) เป็นนักดนตรีแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์จากเยอรมัน ที่ได้รับการเสนอชื่อรางวัลแกรมมี หนึ่งในชั้นนำของโลกของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ และ โปรดิวเซอร์เพลง ได้อยู่ใน "ท็อป 10" ตั้งแต่ปี 1998 เขาขายได้มากกว่า 3 ล้านอัลบั้มทั่วโลก.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเพาล์ ฟัน ดึค
เกล็น แบลลาร์ด
ซิล เกล็น แบลลาร์ด จูเนียร์ (Basil Glen Ballard, Jr. เกิด 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1953) เป็นนักแต่งเพลง และโปรดิวเซอร์เพลงชาวอเมริกัน รู้จักกันในผลงานร่วมเขียนเพลงและผลิตเพลงให้อัลบั้ม แจกกิดลิตเทิลพิล ของอลานิส มอริสเซตต์ (1995) ได้รางวัลแกรมมีสาขา "อัลบั้มเพลงร็อกยอดเยี่ยม" และ "อัลบั้มเพลงแห่งปี" และนิตยสารโรลลิงสโตนจัดอันดับให้อยู่ในรายชื่อ 500 อัลบั้มเพลงที่ดีที่สุดตลอดกาล และร่วมงานกับนักแต่งเพลง อลัน ซิลเวสตรี เขายังมีส่วนร่วมผลิตเพลงให้ไมเคิล แจ็กสัน ในอัลบั้มทริลเลอร์ และแบด ด้วย ในฐานะนักแต่งเพลง เขาร่วมเขียนเพลงอย่าง "แมนอินเดอะมิรเรอร์" (1987) และ "แฮนด์อินมายพ็อกเก็ต" (1995) เขาเป็นผู้ก่อตั้งค่ายเพลงจาวาเรเคิดส์ เขาชนะรางวัลแกรมมีปี 2006 สาขา เพลงที่แต่งให้กับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จากงานเพลง "บีลีฟ" (เดอะโพลาร์เอ็กส์เพรสส์).
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเกล็น แบลลาร์ด
เก็ตสึโนวา
ก็ตสึโนวา (getsunova) คือวงดนตรีจากค่ายไวท์มิวสิก ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีเพลงสร้างชื่อและเป็นที่รู้จักคือ "ไกลแค่ไหนคือใกล้" โดยมีแนวเพลงป็อปร็อก ที่ผสมผสานแนวดนตรีโพสต์พังก์และบริตป็อปด้ว.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเก็ตสึโนวา
เรย์ พาร์กเกอร์ จูเนียร์
รย์ เออร์สไกน์ พาร์เกอร์ จูเนียร์ (Ray Erskine Parker, Jr.) เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเรย์ พาร์กเกอร์ จูเนียร์
เรโทรสเปกต์
รโทรสเปกต์ เป็นวงดนตรีแนวเฮฟวีเมทัลที่นำเสนอเพลงและเสียงร้องที่หนักหน่วงผสมทำนองที่อ่อนหวาน โดยที่เป็นที่รู้จักกันดีคือนักร้องนำของวง ชนัทธา สายศิลา (แน็ป) ด้วยเอกลักษณ์ที่โดดเด่นทางด้านการแสดงสด มันส์ ดิบ เถื่อน การโซโล่กีตาร์ที่เร็ว การสแล้ปเบสแบบหนักแน่น การกระโดดลงจากเวทีมาเล่นกับคนดูอย่างบ้าคลั่งและแยกสองฝั่งและวิ่งเข้าใส่กัน กับการวิ่งเป็นวงกลม เป็นวงที่แสดงสดได้แปลก แหวกแนว น่าสนใจ ในช่วงเวลาที่ผ่านมาไม่กี่ปี พวกเขาออกผลงานมาแล้ว 3 อัลบั้ม (บนดิน) และผลงานสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 3 คือ "The Lost Souls" ได้วางแผงไปในช่วงปลายปี 2553.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเรโทรสเปกต์
เร็กเกฟิวชัน
ร็กเกฟิวชัน (reggae fusion) เป็นดนตรีเร็กเกหรือแดนซ์ฮอลล์ที่ผสมกับแนวดนตรีอื่นๆอย่าง ฮิปฮอป, อาร์แอนด์บี, ป็อป, เทคโน หรือ ดนตรีเฮาส์, ร็อก, แจ๊ส และ ดรัมแอน.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเร็กเกฟิวชัน
เรเกตอน
รเกตอน (reguetón, reggaeton) ชื่อดนตรีและเพลงชนิดหนึ่งของปวยร์โตรีโกและปานามา มีรากฐานมาจากดนตรีเร็กเกของจาเมกาซึ่งเป็นแนวดนตรีลาติน ดนตรีเรเกตอนจะใช้ดนตรีจากเครื่องสังเคราะห์เสียงเล่นมากกว่าใช้เครื่องดนตรีทั่วไป เนื่องจากเป็นดนตรีที่รวมเอาแดนซ์ฮอลล์ เทคโน และฮิปฮอปเข้าไว้ด้วยกันทั้งหมด ดนตรีเรเกตอนได้รับความนิยมไปทั่วโลกตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1990 ดนตรีเรเกตอนมีเนื้อหาเป็นของตัวเอง ส่วนใหญ่จะใช้ภาษาสเปนร้องเพลงทั้งหม.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเรเกตอน
เลิฟซัมบอดี (เพลงมารูนไฟฟ์)
"เลิฟซัมบอดี" (Love Somebody) เป็นเพลงของวงดนตรีแนวป๊อปร็อก มารูนไฟฟ์ ออกจำหน่ายวันที่ 14 พฤษภาคม..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเลิฟซัมบอดี (เพลงมารูนไฟฟ์)
เลนนี แครวิตซ์
ลีโอนาร์ด อัลเบิร์ต "เลนนี" แครวิตซ์ (Leonard Albert "Lenny" Kravitz) เกิดเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1964 เป็นนักร้อง-นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เป็นโปรดิวเซอร์เพลงและผู้เรียบเรียงเพลงที่มีแนวเพลงแบบย้อนยุค มีส่วนประกอบของดนตรีแนวร็อก โซล ฟังก์ เร้กเก้ ฮาร์ดร็อก ไซเคเดลิก โฟล์กและบัลลาด นอกจากที่เขาจะร้องนำและร้องประสานในเพลง แครวิตซ์ยังเล่นดนตรี กีตาร์ เบส กลอง คีย์บอร์ด เพอร์คัชชัน ด้วยตัวเขาเองระหว่างการบันทึกเสียง เขาเคยได้รับรางวัลแกรมมีสาขานักร้องเพลงร็อกชาย 4 ปีติดต่อกันตั้งแต่ปี 1999 ถึง 2002 นอกจากนั้นเขายังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงและได้รับรางวัลจากรางวัลอื่นอย่าง อเมริกันมิวสิกอวอร์ดส เอ็มทีวีวิดีโอมิวสิกอวอร์ดส เรดิโอมิวสิกอวอร์ดส บริตอวอร์ดส และบล็อกบัสเตอร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเลนนี แครวิตซ์
เวสต์โคสต์ฮิปฮอป
เวสต์โคสต์ฮิปฮอป (West Coast hip hop) เป็นแนวเพลงย่อยฮิปฮอปที่รวมศิลปินหรือดนตรีจากแหล่งกำเนิดทางตะวันตกสุดของสหรัฐอเมริกา ถึงแม้ว่าวัฒนธรรมฮิปฮอปจะมีชื่อว่ามาจากนครนิวยอร์ก แต่ฮิปฮอปก็เกิดขึ้นจากวัฒนธรรมในส่วนอื่นเข้ามาด้วย โดยศิลปินจากทั้งฝั่งตะวันออกและตะวันตกตามลำดับ แนวเพลงแก๊งสตาแร็ปของเวสต์โคสต์ฮิปฮอป เริ่มมีความโดดเด่นทางสถานีวิทยุและยอดขายในระหว่างช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 โดยสุดยุคทศวรรษ 1990 ดนตรีฮิปฮอปเริ่มหันหลังให้กับดนตรีอีสต์โคสต์ฮิปฮอปและการเติบโตอย่างรวดเร็วของดนตรีเซาเทิร์นฮิปฮอป เวสต์โคสต์ฮิปฮอปมีความโดดเด่นและเป็นที่รู้จักที่อุดมไปด้วยเพลงฮิปฮอปใต้ดิน โดยเฉพาะในลอสแอนเจลิสและบริเวณแซนแฟรนซิสโกเบย์ ที่เป็นจุดสำคัญ มีศิลปินเวสต์โคสต์ฮิปฮอปใต้ดินหลายคนจะมุ่งเน้นไปที่เทคนิคของเนื้อเพลงมากกว่าการเกาะกระแสตลาด หมวดหมู่:ดนตรีในคริสต์ทศวรรษ 1980 หมวดหมู่:ดนตรีในคริสต์ทศวรรษ 1990 หมวดหมู่:ดนตรีในคริสต์ทศวรรษ 2000 หมวดหมู่:ดนตรีในคริสต์ทศวรรษ 2010 หมวดหมู่:แนวดนตรี หมวดหมู่:ฮิปฮอป.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเวสต์โคสต์ฮิปฮอป
เอซิดแจ๊ซ
อซิดแจ๊ซ (Acid jazz) หรือในอเมริการู้จักอีกชื่อว่า กรูฟแจ๊ซ เป็นแนวเพลงที่รวมองค์ประกอบของเพลงแจ๊ซ, ฟังก์ และฮิปฮอป ด้วยกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้จังหวะซ้ำไปซ้ำมา พัฒนาในสหราชอาณาจักรในทศวรรษ 1980 และ 1990 สามารถเห็นได้จากแนวทงของดนตรีของแจ๊สฟังก์ บนดนตรีอีเลกโทรนิก/ป็อป: นักดนตรีแจ๊สฟังก์อย่างเช่น รอย เอเยอร์สและโดนัลด์ เบิร์ด มักได้รับเครดิตว่าเป็นแถวหน้าแห่งวงการเอซิดแจ๊ส เอซิดแจ๊ซยังได้รับอิทธิพลบางส่วนจากดนตรีโซล, ดนตรีเฮาส์ และดิสโก้.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเอซิดแจ๊ซ
เอนยา
อนยา พาทริเชีย นี วรีไนน์ (Eithne Patricia Ní Bhraonáin) หรือเอนยา (Enya) (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2504—ปัจจุบัน) เป็นนักร้อง นักดนตรี และคีตกวีชาวไอร์แลนด์ ผู้ได้รับรางวัลแกรมมี่สี่ครั้ง และเป็นศิลปินเดี่ยวที่มียอดจำหน่ายผลงานเป็นอันดับสูงสุดของไอร์แลนด์ ดนตรีของเอนยาได้รับอิทธิพลจากดนตรีเคลติก และมักจัดเป็นดนตรีนิวเอจ เอนยาร่วมงานกับ นิกกี และโรมา ไรอัน มาอย่างยาวนาน โดยเอนยาเป็นผู้ร้องและเล่นดนตรี นิกกีเป็นผู้อำนวยการผลิต และโรมาเป็นผู้ประพันธ์คำร้อง คำว่า Enya เป็นการเขียนทับศัพท์ชื่อของเธอในภาษาแกลิก คือ Eithne ตามการออกเสียง โดยมีความหมายว่า แก่นไม้ กับทั้งยังเป็นชื่อนักบุญศาสนาคริสต์ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 อีกด้ว.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเอนยา
เอ็ม. แชโดวส์
แมทธิว ชาลส์ แซนเดอส์ หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ เอ็ม.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเอ็ม. แชโดวส์
เฮาส์ (แนวดนตรี)
() เป็นแนวเพลงหนึ่งของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ เกิดในช่วงต้นทศวรรษที่ 1980 โดยมีต้นกำเนิดมาจากเมืองชิคาโก รัฐอิลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา แรกเริ่มเดิมทีเป็นที่นิยมในดิสโก้เทคสำหรับชาวแอฟริกัน-อเมริกัน, ละตินอเมริกันและสังคมเกย์ในสมัยกลางทศวรรษที่ 1980 ที่เมืองชิคาโก ต่อมาจึงกระจายความนิยมไปยังนิวยอร์ก, นิวเจอร์ซีย์, ดีทรอยต์และไมอามี จนกระทั่งถึงยุโรปก่อนจะมีบทบาทสำคัญแก่แนวเพลงป็อปและเพลงแดนซ์ทั่วโลก แนวดนตรีเฮาส์ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากองค์ประกอบของดนตรีโซลและฟังก์ในช่วงกลางยุค 1970 เฮาส์มีลักษณะโดดเด่นในการนำเอาการเคาะเพอคัสชั่น (percussion) แบบดิสโก้มาใช้โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ดรัมเบสในทุก ๆ บีต (beat) แล้วพัฒนาเป็นแนวดนตรีแนวใหม่โดยผสมไลน์เบสของเครื่องสังเคราะห์เสียงอิเล็กทรอนิก, กลองอิเล็กทรอนิก, เอฟเฟกต์อิเล็กทรอนิก,แซมเปิลฟังก์และป็อป รวมไปถึงการใช้เสียงก้องและเสียงร้องดีเล.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเฮาส์ (แนวดนตรี)
เจนต์
นต์ (Djent) เป็นการเรียกเสียงกีตาร์ของดนตรีแนวเฮฟวีเมทัลซึ่งแตกแขนงมาจากโพรเกรสซิฟเมทัล เป็นศัพท์ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้เรียกเสียงแตกโทนต่ำของกีตาร์ตั้งแต่สายที่ 6, 7, 8 ถึง 9 โดยมีวงมัชชุกกาห์ (Meshuggah) ของสวีเดนเป็นผู้นำในการเล่น และเรื่มมีวงอื่น ๆ นำเทคนิคนี้ไปใช้ อาทิ Animals As Leaders, Architects, Bulb, Periphery เป็นต้น.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเจนต์
เทคโน
ทคโน (techno) เป็นรูปแบบของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ที่เกิดขึ้นในดีทรอยต์ รัฐมิชิแกน ในสหรัฐอเมริกา ในช่วงกลางถึงปลายทศวรรษ 1980 คำว่า techno ได้ถูกจัดเป็นแนวดนตรีครั้งแรกในปี 1988Brewster 2006:354Reynolds 1999:71.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเทคโน
เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน
แกร์รี โคเบน ในปี 2009 สมาชิกวง เดอะ ฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน ที่เมืองเคียฟ ประเทศยูเครน เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน (The Future Sound of London) (มักย่อว่า FSOL) เป็นวงดนตรีอิเล็กทรอนิกส์จากอังกฤษ ประกอบด้วยสมาชิกดูโอ แกร์รี โคเบน และไบรอัน ดูแกน.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน
เดอะคิลส์
อะ คิลส์ (The Kills) เป็นวงแนวอินดี้ร็อก โดยคู่ดูโอชาวอเมริกัน อลิสัน “วีวี่” มอสฮาร์ต (กีตาร์/ร้องนำ) และนักกีตาร์ชาวอังกฤษ เจมี “โฮเตล” ฮินซ์ (กีตาร์/ร้องนำ/ซินธ์).
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเดอะคิลส์
เดอะเกม (อัลบั้มควีน)
อะเกม (The Game) เป็นผลงานสตูดิโออัลบั้มที่ 8 ของวงควีน ออกวางขายเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 1980 เป็นผลงานอัลบั้มเดียวของควีนที่สามารถขึ้นสูงสุดอันดับ 1 ทั้งในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา และถือเป็นอัลบั้มที่ขายดีที่สุดของควีนในสหรัฐอเมริกา ด้วยยอดขายกว่า 4 ล้านชุด มียอดขายใกล้เคียงกับอัลบั้ม News of the World ในสหรัฐอเมริกา ผลงานเพลงที่ชุดนี้ที่โด่งดังเช่น "Another One Bites the Dust" และเพลงสไตล์ร็อกอะบิลลี "Crazy Little Thing Called Love" ทั้งสองเพลงขึ้นอันดับ 1 ในสหรัฐอเมริกา เดอะเกมยังเป็นผลงานอัลบั้มแรกของควีนที่ใช้เครื่องสังเคราะห์เสียง (Oberheim OB-X) เดิมทีจะใช้ชื่ออัลบั้มว่า "Play the Game" แต่เทย์เลอร์ต้องการให้มีความหมายซ่อน จึงเปลี่ยนมาเรียกง่าย ๆ ว่า เดอะเกม ผลงานเพลง Crazy Little Thing Called Love, Sail Away Sweet Sister (To The Sister I Never Had), Coming Soon, และ Save Me บันทึกเสียงช่วงเดือนมิถุนายน ถึงกรกฎาคม..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเดอะเกม (อัลบั้มควีน)
เดอะเนปจูนส์
อะเนปจูนส์ (The Neptunes) เป็นคู่ดูโอผลิตผลงานเพลง ประกอบด้วยฟาร์เรลล์ วิลเลียมส์และแชด ฮูโก พวกเขามีผลงานทำงานเพลงให้กับศิลปินที่ประสบความสำเร็จในแนวฮิปฮอป อาร์แอนด์บีและป็อป ในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 และ 2000 พวกเขามีรายได้จากการทำงานด้านอุตสาหกรรมดนตรี ตกราว 155 ล้านดอลลาร์สหรั.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเดอะเนปจูนส์
เดดบายซันไรส์
ซันไรส์ (หรือรู้จักกันในชื่อ Snow White Tan) เป็นวงดนตรีร็อกชาวอเมริกันที่ก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเดดบายซันไรส์
เดดเมาส์
อล โทมัส ซิมเมอร์แมน (Joel Thomas Zimmerman.) หรือที่รู้จักกันดีในนามของ เดดเมาส์ (deadmau5) เป็นโปรดิวเซอร์,ดีเจ,นักดนตรี และนักบรรเลงชาวแคนาดา เขาผลิตเพลงต่างๆ ในแนวเพลงโพรเกรสซิฟเฮาส์ และบางครั้งได้เปลี่ยนแนวอื่นๆ คือ อิเล็กทรอนิกส์ มีผลงานของเขาที่ได้รวมไว้ในอัลบั้มสะสมมากมาย เช่น Tiësto ในอัลบั้ม In Search of Sunrise 6: Ibiza และเพลงที่ได้รับการแสดงใน A State of Trance radio show ของอาร์มิน ฟาน บูเรน ซิมเมอร์แมน ได้รับรางวัลแกรมมี 6 รางวัล ในการเสนอชื่อผลงานของเขา เขาทำงาานร่วมกับดีเจ และโปรดิวเซอร์คนอื่น เช่น Kaskade, MC Flipside, Rob Swire และWolfgang Gartner นอกจากนี้เขายังได้ร่วมงานกับ Steve Duda ในนามของกลุ่ม BSOD (Better Sounding On Drugs) และเป็นส่วนหนึ่งของชื่อกลุ่ม WTF? พร้อมกับ Duda, Tommy Lee, และ DJ Aero ในปี..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเดดเมาส์
เครก โจนส์
รก ไมเคิล โจนส์ (เกิด 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1972) หรือชื่อในวงการดนตรีว่า 133 เป็นนักดนตรีชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในฐานะสมาชิกของวงสลิปน็อตในตำแหน่ง แซมเพลอร์,คีย์บอร์ด และซินธิไซเซอร์ เครก โจนส์ เข้าร่วมวงสลิปน็อต ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ปี..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเครก โจนส์
เคราต์ร็อก
ราต์ร็อก (Krautrock) เป็นดนตรีในรูปแบบดนตรีทดลองที่เกิดขึ้นในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 ในประเทศเยอรมนี ได้รับความนิยมคริสต์ทศวรรษ 1970 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศอังกฤษ โดยดีเจจอห์น พีล จากบีบีซีได้รับยกย่องว่าเป็นผู้เผยแพร่ให้เคราต์ร้อกได้รับความนิยม นอกประเทศที่พูดภาษาเยอรมัน เคราต์ร็อกเป็นการแนวเพลงรวมหลายแนวเพลง โดยมักจะผสมเพลงการแจมกันแบบโพสต์-ไซเคเดลิกของชาวแองโกลอเมริกัน และโพรเกรสซีฟร็อก รวมเข้ากับการเพลงทดลองคลาสสิกร่วมสมัย (โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากนักประพันธ์ คาร์ลไฮนซ์ สต็อกเฮาเซน เป็นต้น) และจากทิศทางการทดลองแบบใหม่ ที่ปรากฏในเพลงแจ๊ซช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และ 1970 (อย่างฟรีแจ๊ซ โดยออร์เนตต์ โคลแมน หรืออัลเบิร์ต ไอเลอร์) ที่ตีห่างจากโครงสร้างรูปแบบทั่วไปของเพลงและเมโลดี้ที่ร็อกมากขึ้นในเพลงเคราต์ร็อกในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ และยังมีบางกระแสที่ใช้เครื่องดนตรีและซาวน์อีเลกโทรนิกมากขึ้น ลักษณะโดยหลักของเพลงนี้คือการรวมของกลุ่มเพลงใต้รูปแบบ การสังเคราะห์จังหวะของเพลงร็อกแอนด์โรลอเมริกัน แต่ค่อนไปทางเยอรมันหรือใช้แหล่งดนตรีอื่น ลายเซ็นดนตรีของเพลงเคราต์ร็อก คือกรวมดนตรีเพลงร็อก และเครื่องดนตรีของวงร็อกอย่างกีตาร์ เบส กลอง เข้ากับเครื่องดนตรีอีเลกโทรนิก และทำให้เสียงมีความหยาบละเอียด โดยมากมักหมายถึงความรู้สึกแบบดนตรีแอมเบียนต์ จังหวะทั่วไปของดนตรี จะใช้จังหวะแน่นอน 4/4 มักจะเรียกว่า "โมโตริก" (motorik) จากสื่อประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเคราต์ร็อก
เคป็อป
ป็อป (K-pop) หรือเพลงป็อปเกาหลี โดยเฉพาะเพลงจากเกาหลีใต้ ที่มีศิลปินทั้งกลุ่มและเดี่ยวมากมายอย่างเช่น เอพิงก์ เจบีเจ เอ็กโซ (วงดนตรี), BTS, GOT7,แบล็กพิงก์, ชินฮวา, โบอา, บิกแบง, เรน, เซเว่น, ทงบังชินกี,ซูเปอร์จูเนียร์, โซนยอชิแด,ซิสตาร์,ซีเอ็นบลู,มิสเอ, คารา, วันเดอร์เกิลส์, ชายนี่,ก๊อตเซเว่น, ทูพีเอ็ม, เอฟ (เอกซ์), ที-อาร่า, อินฟินิท‚ บีสท์,อีเอกซ์ไอดี,บีเอพี, ซีเครต, โฟร์มินิต, บราวน์อายด์เกิลส์, จีเฟรนด์, เรดเวลเวต (วงดนตรี),เซเว่นทีน,วอนนาวัน,แอสโตร, บีทูบี นอกจากนี้ ยังมีประเทศอื่นที่ได้รับความนิยมด้วย เช่น จีน, ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, ฮ่องกง, ฟิลิปปินส์, ไทย และประเทศอื่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตอนนี้รวมถึงประเทศในแถบทวีปอเมริกาใต้ด้วย อาทิเช่น อาร์เจนตินา, บราซิล, ชิลี เป็นต้น ความนิยมในดนตรีเกาหลีมักพิจารณาว่าเป็นหนึ่งในการเติบโตของความคลั่งไคล้ในกระแสเกาหลี ที่นิยมในวัฒนธรรมเกาหลีของชาวเอเชีย ในปัจจุบัน มีการพยายามสร้างนักร้องเคป็อปให้เป็นไอดอล ผู้เชี่ยวชาญเรื่องวัฒนธรรมร่วมสมัยของเกาหลีวิเคราะห์ว่า การที่วงการเคป็อปได้สร้างนักร้องให้เป็นไอดอล ทำให้ต้องเน้นที่ภาพลักษณ์มากกว่าผลงานเพลง และจากเหตุนี้ทำให้หลายวงมีความขัดแย้งและชิงดีชิงเด่นกันเองระหว่างสมาชิก หากมีคนใดคนหนึ่งโดดเด่นกว่าคนอื่น ทำให้ต้นสังกัดบางบริษัทต้องเฉลี่ยรายได้ให้เท่าเทียมกัน.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเคป็อป
เซาเทิร์นฮิปฮอป
ซาเทิร์นฮิปฮอป เป็นรูปแบบหนึ่งของแนวเพลงฮิปฮอปอเมริกันที่เกิดขึ้นปลายทศวรรษ 1990 ในคลับทางเมืองตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา อย่างเช่น ดัลลัส ฮุสตัน แอตแลนตา เมมฟิส โบว์ลิงกรีน โอคลาโฮมา เชรฟพอร์ต นิวออร์ลีนส์ ไมอามี และบาตันรูจ แนวเพลงเป็นการตอบสนองของวัฒนธรรมฮิปฮอป จากนิวยอร์ก และแคลิฟอร์เนีย และถือได้ว่าเป็นแนวเพลงฮิปฮอปที่ 3 ของชาวอเมริกัน หลังจากอีสต์โคสต์ฮิปฮอป และเวสต์โคสต์ฮิปฮอป ศินปินช่วงแรก ๆ ของเซาเทิร์นฮิปฮอปเริ่มออกผลงานกันอิสระหรือเป็นมิกซ์เทป เพราะช่วงนั้นค่อนข้างยากที่จะได้รับเซ็นสัญญากับค่ายเพลงใหญ.
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและเซาเทิร์นฮิปฮอป
1989 (อัลบั้มเทย์เลอร์ สวิฟต์)
1989 เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ห้าของนักร้องอเมริกัน เทย์เลอร์ สวิฟต์ ออกจำหน่ายวันที่ 27 ตุลาคม..
ดู เครื่องสังเคราะห์เสียงและ1989 (อัลบั้มเทย์เลอร์ สวิฟต์)
หรือที่รู้จักกันในชื่อ SynthesiserSynthesizerซินธิไซเซอร์