โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เขตพระนคร

ดัชนี เขตพระนคร

ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.

321 ความสัมพันธ์: บางลำพูบ้านพระอาทิตย์บ้านมะลิวัลย์บ้านเจ้าพระยาพระบรมมหาราชวังพระพรหมมุนี (สุชิน อคฺคชิโน)พระพรหมเมธาจารย์ (คณิศร์ เขมวํโส)พระพุทธไสยาพระพุทธเทววิลาสพระมหามณเฑียรพระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร)พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีพระราชวังบวรสถานมงคลพระร่วงทองคำพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์พระวิษณุพระศรีศาสดาพระสุธีวีรบัณฑิต (โชว์ ทสฺสนีโย)พระธรรมรัตนดิลก (เชิด จิตฺตคุตฺโต)พระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร)พระที่นั่งศิวโมกขพิมานพระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาทพระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาทพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทพระนางเธอลักษมีลาวัณพระนครพระเทพวิมลมุนี (กฤช กิตฺติวํโส)พระเทพวีราภรณ์ (สีนวล ปญฺญาวชิโร)พระเทพปฏิภาณวาที (สุนทร ญาณสุนฺทโร)พระเทพปริยัติวิมล (แสวง ธมฺเมสโก)พระเทพปัญญาเมธี (ปราชญ์ อกฺกโชโต)พิพิธบางลำพูพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครพิธีสำเร็จการศึกษาพิธีถวายเครื่องราชสักการะและจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคลกรมการปกครองกรมราชเลขานุการในพระองค์กรมส่งเสริมสหกรณ์กรมธนารักษ์กรมแผนที่ทหารกระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554กองทัพบกไทยการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535...การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556กำแพงเมืองและป้อมปราการกรุงเทพมหานครมหาวิทยาลัยมหาสารคามมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์มูลนิธิแผ่นดินธรรมมงคล อมาตยกุลมนต์ชัย พันธุ์คงชื่นรัชต์ยุตม์ ศิรโยธินภักดีรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถรายชื่อวัดประจำรัชกาลรายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครรายชื่อสวนสาธารณะในกรุงเทพมหานครรายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยารายชื่อถนนในกรุงเทพมหานครรายชื่อทางแยกในเขตพระนครรายชื่อทางแยกในเขตดุสิตรายชื่อทางแยกในเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตพระนคร)รายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานครรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานครรายการรหัสไปรษณีย์ไทยรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลร้านเจ๊ไฝลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ลำพูลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557วราวุธ ศิลปอาชาวัดบวรนิเวศราชวรวิหารวัดบุรณศิริมาตยารามวัดพระศรีรัตนศาสดารามวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหารวัดราชบุรณราชวรวิหารวัดราชนัดดารามวรวิหารวัดสามพระยาวัดตรีทศเทพวรวิหารวัดนรนาถสุนทริการามวัดเลียบวังบางขุนพรหมวังริมป้อมพระสุเมรุวังจักรพงษ์วังเทวะเวสม์วังเทเวศร์วิลาศ โอสถานนท์วิสุทธิกระษัตริย์วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานครวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ศาลชั้นต้น (ประเทศไทย)ศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)ศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานครศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ศาลาเฉลิมกรุงศาลาเฉลิมไทยศาลเจ้าพ่อเสือ พระนครศูนย์ไซเบอร์กองทัพบกสภากรุงเทพมหานครสภากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครสมาคมกีฬามวยอาชีพแห่งประเทศไทยสมาคมฮินดูสมาชสมเดช ยนตรกิจสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพ็ชรรัตน์ โสภางคทัศนิยลักษณ์ อรรควรราชกุมารีสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สยามรัฐรายวันสวนรมณีนาถสวนสันติชัยปราการสวนนาคราภิรมย์สวนเสรีไทยสะพานช้างโรงสีสะพานพระพุทธยอดฟ้าสะพานพระราม 8สะพานพระปกเกล้าสะพานพิทยเสถียรสะพานภาณุพันธุ์สะพานมอญ (กรุงเทพมหานคร)สะพานมัฆวานรังสรรค์สะพานวิศุกรรมนฤมาณสะพานสมมตอมรมารคสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้าสะพานหกสะพานผ่านฟ้าลีลาศสะพานผ่านพิภพลีลาสะพานเหล็กสะพานเทเวศรนฤมิตรสะพานเฉลิมวันชาติสามารถ ศรแดงสารคดี (นิตยสาร)สำราญราษฎร์สำนักพระราชวังสำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดินสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทยสำนักงานราชบัณฑิตยสภาสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวงสำเพ็งสืบสุด ดุริยประณีตสุจาริณี วิวัชรวงศ์สุจินต์ จินายนสี่กั๊กพระยาศรีสี่กั๊กเสาชิงช้าสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติสถาบันภาษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สถาบันทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สถาบันเกอเธ่สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอสถานีสามยอดสถานีสนามหลวง (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)สถานีสนามไชยสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมมหาดไทยหมู่พระมหาปราสาทหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทหม่อมหลวงชูชาติ กำภูหม่อมหลวงเสรี ปราโมชหม่อมเจ้านิกรเทวัญ เทวกุลหน่วยบัญชาการรักษาดินแดนห้างไนติงเกลอรรถ วิสูตรโยธาภิบาลอรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์ออมทรัพย์ แหลมฟ้าผ่าอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2538องค์การพิทักษ์สยามองค์การตลาดอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยผัดไทยจังหวัดพระนครจังหวัดสิงห์บุรีจำเริญ ทรงกิตรัตน์จิ๊ด เศรษฐบุตรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยธราวุธ นพจินดาธนาคารแห่งประเทศไทยธนาคารไทยพาณิชย์ถวิล ไพรสณฑ์ถนนบูรพาถนนพระพิพิธถนนพระพิทักษ์ถนนพระสุเมรุถนนพระอาทิตย์ถนนพระจันทร์ถนนพหลโยธินถนนพาหุรัดถนนกรุงเกษมถนนกัลยาณไมตรีถนนมหรรณพถนนมหาราชถนนมหาไชยถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)ถนนราชดำเนิน (แก้ความกำกวม)ถนนรามบุตรีถนนวิสุทธิกษัตริย์ถนนศิริพงษ์ถนนสามเสนถนนสิบสามห้างถนนสนามไชยถนนหลวงถนนหน้าพระลานถนนหน้าพระธาตุถนนอัษฎางค์ถนนอุทยานถนนอุณากรรณถนนจักรพงษ์ถนนจักรเพชรถนนข้าวสารถนนดินสอถนนตรีเพชรถนนตะนาวถนนตีทองถนนประชาธิปกถนนเฟื่องนครถนนเพชรเกษมถนนเยาวราชถนนเจริญกรุงถนนเจ้าฟ้าทำเนียบองคมนตรีที่สุดในประเทศไทยท่าช้างวังหลวงท่าพระจันทร์ท่าราชวรดิฐท่าเตียนท้องสนามหลวงขุนด่านเจ้าพ่อเสือ บางหว้าณิชารีย์ โชคประจักษ์ชัดดาวทอง สิงหพัลลภดิโอลด์สยามพลาซ่าคลองโอ่งอ่างความจริงวันนี้คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตราสัญลักษณ์งานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีตึกโดมประพัฒน์ กฤษณจันทร์ปากคลองตลาดป้อมพระสุเมรุป้อมมหากาฬนิวส์วัน (เอเอสทีวี)แยกบางลำพูแยกบ้านหม้อแยกพาหุรัดแยกวัดตึกแยกวงเวียน รด. และแยกท้ายวังแยกสามยอดแยกสำราญราษฎร์แยกอุณากรรณแยกคอกวัวแยกเฉลิมกรุงแสวง ธีระสวัสดิ์แขวงแขวงอรุณอมรินทร์โรงละครแห่งชาติ (ประเทศไทย)โรงแรมรัตนโกสินทร์โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยโรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบโรงเรียนพระปริยัติธรรมโรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์โรงเรียนราชินีโรงเรียนวัดบวรนิเวศโรงเรียนวัดราชบพิธโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยโรงเรียนสตรีวิทยาโรงเรียนตะละภัฏศึกษาโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์โรงเรียนเบญจมราชูทิศโลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหารไทยรัฐเกาะรัตนโกสินทร์เมอร์รี่คิงส์เมทนี บุรณศิริเรื่องเด่นเย็นนี้เสาชิงช้าเหม เวชกรเหตุการณ์ทุจริตการออกรางวัลสลากกินแบ่งรัฐบาล พ.ศ. 2544เอเอสทีวีผู้จัดการเจิมมาศ จึงเลิศศิริเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)เจ้าดารารัศมี พระราชชายาเทวสถานโบสถ์พราหมณ์เขียวหวาน ยนตรกิจเขตบางพลัดเขตบางกอกน้อยเขตบางกอกใหญ่เขตสัมพันธวงศ์เขตธนบุรีเขตดุสิตเขตคลองสานเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกงเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ขยายดัชนี (271 มากกว่า) »

บางลำพู

ซอยชนะสงคราม แหล่งที่พักนักท่องเที่ยวอีกแห่งในย่านบางลำพู ต้นลำพู ต้นสุดท้ายของกรุงเทพมหานครในสวนสันติชัยปราการ อันเป็นที่มาของชื่อบางลำพู บางลำพู (มักสะกดผิดเป็น บางลำภู) เป็นย่านหนึ่งในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์ ในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บางลำพู ได้ชื่อมาจากในอดีตมีต้นลำพูอยู่เป็นจำนวนมาก ริมคลอง เดิมเป็นชุมนุมและตลาดเล็ก ๆ ริมน้ำก่อนการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ มีวัดเก่าแก่ปรากฏอยู่ในพื้นที่ ได้แก่ วัดสังเวชวิศยาราม (วัดบางลำพู, วัดกลางนา) และวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร ก่อนจะพัฒนาเป็นแหล่งพำนักของบรรดาเจ้านาย ขุนนาง ข้าราชบริพาร และประชาชนพลเมืองหลายหลากชาติพันธุ์ ทั้งไทย, จีน, มอญ และมุสลิม ที่มาตั้งบ้านเรือนอยู่อาศัยคละเคล้ากัน จนทำให้เป็นแหล่งเกิดอาชีพที่หลากหลาย ต่อมาเมื่อมีการตัดคลองรอบกรุง ทำให้ย่านบางลำพูกลายเป็นท่าน้ำใช้สำหรับขนถ่ายและแลกเปลี่ยนสินค้า เช่น พืชผักผลไม้จากฝั่งธนบุรี ก่อนจะพัฒนากลายเป็นตลาดบกที่สำคัญในเวลาต่อมา ในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อมีการสร้างพระราชวังดุสิตขึ้น ได้มีการตัดถนนหลายสายขึ้นมาจากถนนสามเสน เช่น ถนนจักรพงษ์, ถนนพระอาทิตย์, ถนนพระสุเมรุ, ถนนข้าวสาร, ถนนรามบุตรี, ถนนตะนาว และถนนสิบสามห้าง จึงให้บางลำพูมีความคึกคักมากขึ้นด้วย ปัจจุบัน บางลำพูเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นแหล่งของการค้าขายเสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่มต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ชุดนักเรียน มีห้างร้านสำหรับจัดจำหน่ายโดยเฉพาะเคยเป็นที่ตั้งของห้างสรรพสินค้าหลายแห่ง และยังเป็นแหล่งที่พักชั่วคราวสำหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวตะวันตก และได้มีร้านอาหาร, ร้านกาแฟ ตลอดจนร้านจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไว้ให้บริการด้วย โดยเฉพาะที่ถนนข้าวสาร หรือถนนรามบุตรี.

ใหม่!!: เขตพระนครและบางลำพู · ดูเพิ่มเติม »

บ้านพระอาทิตย์

ป้ายวังเจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ หรือ บ้านพระอาทิตย์ บ้านพระอาทิตย์ บ้านพระอาทิตย์ หรือ วังพระอาทิตย์ เป็นวังเก่าในสมัยรัชกาลที่ 1 และเป็นอาคารอนุรักษ์ ปัจจุบันเป็นสำนักงานหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ บ้านพระอาทิตย์ตั้งอยู่เลขที่ 102/1 ถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและบ้านพระอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

บ้านมะลิวัลย์

้านมะลิวัลย์ วังมะลิวัลย์ หรือ บ้านมะลิวัลย์ ตั้งอยู่เลขที่ 39 ถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเป็นที่ทำการของสำนักงานองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations - FAO).

ใหม่!!: เขตพระนครและบ้านมะลิวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

บ้านเจ้าพระยา

อาคารอนุรักษ์ บ้านเจ้าพระยา บ้านเจ้าพระยา หรือ วังพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าคำรบ ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ติดกับสวนสันติชัยปราการ เป็นอาคารเก่าแก่สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 ปัจจุบันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอาคารอนุรักษ์จากกรมศิลปากร.

ใหม่!!: เขตพระนครและบ้านเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมมหาราชวัง

ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ. 2549 เป็นจำนวนถึง 8,995,000 คน.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระบรมมหาราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมมุนี (สุชิน อคฺคชิโน)

ระพรหมมุนี นามเดิม สุชิน มงคลแถลง ฉายา อคฺคชิโน วิทยฐานะ ประโยค 1-2, ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการในคณะกรรมการสภาการศึกษากรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะภาค 14-15 (ธรรมยุต) รักษาการเจ้าคณะภาค 4-5-6-7 (ธรรมยุต) แม่กองธรรมสนามหลวง รองแม่กองงานพระธรรมทูต หัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 7 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร และเลขานุการสมเด็จพระสังฆร.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระพรหมมุนี (สุชิน อคฺคชิโน) · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมเมธาจารย์ (คณิศร์ เขมวํโส)

ระพรหมเมธาจารย์ (คณิศร์ เขมวํโส) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการมหาเถรสมาคม และเจ้าอาวาสวัดบุรณศิริมาตยาราม.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระพรหมเมธาจารย์ (คณิศร์ เขมวํโส) · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธไสยา

ระพุทธไสยา เป็นพระพุทธรูปปางปรินิพพาน (ปางไสยาสน์) ศิลปะสุโขทัย ประดิษฐาน ณ มุขหลัง วิหารพระศรีศาสดา วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นพระพุทธรูปที่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ได้อัญเชิญมาจาก วัดพระพายหลวง อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย ที่ด้านหลังพระพุทธไสยามีจิตรกรรมฝาผนังเรื่อง พุทธประวัติ ตอน เสด็จดับขันธปรินิพพาน โดยมีพระสงฆ์จำนวนมากมานมัสการพระพุทธเจ้า และ มีต้นสาละโน้มกิ่งมาหาพระองค์ ปัจจุบัน จะเปิดวิหารให้เข้าชมเฉพาะวันคล้ายวันประสูติของสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก และ วันสำคัญๆเท่านั้น.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระพุทธไสยา · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธเทววิลาส

ระพุทธเทววิลาส หรือหลวงพ่อขาว ประดิษฐาน ณ พระอุโบสถ วัดเทพธิดาราม วรวิหาร.มหาไชย แขวงสำราญราษฎร์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ไม่ปรากฏประวัติการสร้างหรือที่มา ปรากฏประวัติเพียงว่าพระพุทธเทววิลาสองค์นี้ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหาเจษฎาบดินทร์ รัชกาลที่ ๓(พ.ศ. ๒๓๖๗ - ๒๓๙๔) มีพระราชศรัทธาเลื่อมใสในพระบวรพุทธศาสนาอย่างยิ่ง ทรงสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์พระอารามจำนวนมาก พุทธศักราช ๒๓๗๙ โปรดให้กรมหมื่นภูมินทรภักดี (พระองค์เจ้าชาย ลดาวัลย์ ต้นราชสกุลลดาวัลย์)อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเอมน้อย เป็นแม่กองสร้างวัดเพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิง วิลาศ กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ ผู้เป็นพระปิยราชธิดา อันประสูติแต่ เจ้าจอมมารดาบาง ทรงพระปรีชาสามารถรับราชการสนองพระเดชพระคุณอย่างใกล้ชิด เป็นที่ไว้วางใจ พระราชฤหทัย แต่เดิมชื่อว่าวัดพระยาไกรสวนหลวง สร้างเสร็จเมื่อพุทธศักราช ๒๓๘๒ พระราชทานนามใหม่ว่า "วัดเทพธิดาราม" ซึ่งหมายถึงกรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงประกอบพระราชพิธีผูกพัทธสีมา ในวันที่ ๒๒ ธันวาคม..

ใหม่!!: เขตพระนครและพระพุทธเทววิลาส · ดูเพิ่มเติม »

พระมหามณเฑียร

ระมหามณเฑียร เป็นหมู่พระที่นั่งภายในพระบรมมหาราชวังโดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2325 เพื่อทรงใช้เป็นที่ประทับและเป็นพระราชพิธีมณฑลในพระราชพิธีปราบดาภิเษก เดิมเป็นพระที่นั่งขนาดใหญ่เชื่อมต่อกัน 3 องค์ ชื่อว่า "พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานนามพระที่นั่งใหม่สำหรับแต่ละองค์โดยเป็นนามที่คล้องจองกัน ได่แก่ พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน พระที่นั่งไพศาลทักษิณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหสูรยพิมาน ปัจจุบัน พระมหามณเฑียรได้ใช้เป็นพระราชพิธีมณฑลสำหรับประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกและพระราชพิธีสำคัญอื่น ๆ ในพระมหากษัตริย์ทุกรัชกาลในราชวงศ์จักรีสืบเนื่องกันม.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระมหามณเฑียร · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร)

มหาเสวกตรี พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร) (23 ตุลาคม 2414 - 10 ตุลาคม 2492 - 78 ปี) เป็นผู้มีฝีมือทางด้านศิลปะ โดยเฉพาะด้านจิตรกรรม และการถ่ายภาพ จนได้เป็นช่างภาพประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยฉายพระบรมฉายาลักษณ์ และการเสด็จประพาสในวาระต่าง.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุมัติหมายกำหนดการ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ระหว่าง วันพฤหัสบดีที่ 8 — วันอังคารที่ 13 มิถุนายน..

ใหม่!!: เขตพระนครและพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังบวรสถานมงคล

ระราชวังบวรสถานมงคล หรือ พระบวรราชวัง ตั้งอยู่ที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นพระราชวังที่ประทับของกรมพระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหน้า สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทซึ่งทรงดำรงพระอิสริยยศกรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์แรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์โปรดให้สร้างขึ้น โดยเริ่มสร้างพร้อม ๆ กับพระบรมมหาราชวังใน พ.ศ. 2325 การก่อสร้างพระราชวังแห่งนี้ใช้พื้นที่ตั้งแต่ทิศเหนือของวัดสลัก (ปัจจุบันคือวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร) ขึ้นไปจรดคลองคูเมืองเดิม และได้ทำผาติกรรมที่ดินส่วนหนึ่งทางด้านเหนือของวัดสลัก เข้ามาเป็นเขตพระราชวังบวรสถานมงคลด้วย อาณาเขตของพระราชวังบวรสถานมงคลเดิมกว้างขวางมาก แต่ปัจจุบันได้ดัดแปลงส่วนหนึ่งเป็นสนามหลวง และถนน และเป็นที่ตั้งของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ โรงละครแห่งชาติ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระราชวังบวรสถานมงคล · ดูเพิ่มเติม »

พระร่วงทองคำ

หลวงพ่อพระร่วงทองคำ เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ประดิษฐานอยู่ในพระวิหารหลวง วัดมหรรณพารามวรวิหาร แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานครฯ องค์พระเป็นโลหะทองคำ (60 เปอร์เซนต์) มีรอยต่อ 9 แห่ง โดยมีหมุดเป็นเครื่องเชื่อมรอยต่อ ซึ่งเป็นเครื่องหมายถึงความเจริญก้าวหน้า เป็นพระพุทธรูปที่มีพระพุทธลักษณะงดงามมากองค์หนึ่งในประเทศไท.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระร่วงทองคำ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ (ประสูติ: 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 — สิ้นพระชนม์: 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2451) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ที่ต่อมาได้เสกสมรสเป็นพระชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ โดยเป็นพระมารดาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในรัชกาลที่ 8.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวิษณุ

ลปะโจฬะที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินิวเดลี ประเทศอินเดีย. ศิลปะโจฬะที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินิวเดลี ประเทศอินเดีย. พระวิษณุ (विष्णु วิษฺณุ) หรือที่รู้จักกันในพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า พระนารายณ์ (नारायण นารายณ) เป็นหนึ่งในสามตรีมูรติ มีหน้าที่คุ้มครองแลดูแลรักษาทั้ง 3 โลกตามความเชื่อของชาวฮินดู จากคัมภีร์พราหมณ์ รูปร่างลักษณะมีพระวรกายจะมีสีที่เปลี่ยนไปตามยุค ฉลองพระองค์ดั่งกษัตริย์ มีมงกุฎทอง อาภรณ์สีเหลือง มี 4 กร ถือ สังข์ จักรสุทรรศน์ คทาเกาโมทกี แต่ที่จะพบเห็นได้บ่อยที่สุดคือถือ จักร์ สังข์ คทา ส่วนอีกกรจะถือ ดอกบัวบ้าง หรือ ไม่ถืออะไรเลยบ้าง (โดยจะอยู่ในลักษณะ"ประทานพร") โดยปรกติ พระวิษณุ จะทรงประทับอยู่ที่เกษียรสมุทร โดยส่วนมากจะบรรทมอยู่บนหลังพญาอนันตนาคราช โดยมีพระชายาคือพระแม่ลักษมีมหาเทวี คอยฝ้าดูแลปรนิบัติอยู่ข้าง ๆ เสมอ พาหนะของพระวิษณุคือ พญาครุฑ พระวิษณุ มีอีกพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า "หริ" แปลว่าผู้ดูแลแห่งจักรวาลถือเป็นเทพสูงสุด เพราะทุกอย่างเกิดจาก "หริ" โดย"หริ"ได้แบ่งตนเองออกเป็น 3 คือ.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระวิษณุ · ดูเพิ่มเติม »

พระศรีศาสดา

ระศรีศาสดา หรือ พระศาสดา เดิมประดิษฐานอยู่ ณ วิหารด้านทิศใต้ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก ปัจจุบันประดิษฐานอยู ณ มุขหน้าวิหารพระศาสดาคู่กับพระพุทธไสยา ที่ประดิษฐานอยู่ ณ มุขหลัง วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สันนิษฐานกันว่าน่าจะสร้างขึ้นสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญาลิไท) พร้อมกับ พระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์ และพระเหลือ.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระศรีศาสดา · ดูเพิ่มเติม »

พระสุธีวีรบัณฑิต (โชว์ ทสฺสนีโย)

ร.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระสุธีวีรบัณฑิต (โชว์ ทสฺสนีโย) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมรัตนดิลก (เชิด จิตฺตคุตฺโต)

ระธรรมรัตนดิลก นามเดิม เชิด ฉายา จิตฺตคุตฺโต เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม เจ้าคณะภาค 4 รองแม่กองธรรมสนามหลวง ฝ่ายธรรมศึกษา รองหัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 3 เจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร และนักเทศน์ชื่อดัง.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระธรรมรัตนดิลก (เชิด จิตฺตคุตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร)

ระธรรมปัญญาบดี นามเดิม ถาวร เจริญพานิช ฉายา ติสฺสานุกโร (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2557) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร และอดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน

ระที่นั่งศิวโมกขพิมาน เป็นพระที่นั่งเดิมภายในพระราชวังบวรสถานมงคล สร้างขึ้นครั้งแรกโดย สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ต่อมารื้อสร้างใหม่โดย สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระที่นั่งศิวโมกขพิมาน · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท

ระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท เป็นพระที่นั่งที่ตั้งอยู่บนกำแพงพระบรมมหาราชวังด้านทิศตะวันออก ระหว่างประตูเทวาพิทักษ์ กับประตูศักดิ์ไชยสิทธิ์ ซึพระที่นั่งองค์นี้พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงสร้างขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: เขตพระนครและพระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท

ระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท เป็นพระที่นั่งโถงทรงปราสาทจตุรมุขประกอบเครื่องยอดบุษบก โดยมุขรี(ด้านยาว)สั้นกว่ามุขด้านสกัด(ด้านกว้าง)มีเชิงเทินเกยเทียบพระยานคานหาม ตั้งอยู่ระหว่าง พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ด้านหน้าพระที่นั่งราชกรันยสภา สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายในพระบรมมหาราชวังชั้นกลาง เดิมทีใช้เป็นที่ประกอบพระราชพิธีโสกันต์(โกนจุก) และยังเคยใช้เป็นที่ประทับเกยเสด็จบนพระราชยานคานหามด้วย นอกจากนี้ ความสวยงามด้วยสถาปัตยกรรมไทยแท้นี้ ได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปกรรมประจำชาติแขนงหนึ่งในหลายๆแขนง ที่เรียกกันว่า ศาลาไทย พระที่นั่งแห่งนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นโดยจำลองขึ้น มีชื่อว่า พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ ตั้งอยู่ใน พระราชวังบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อีกด้ว.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

ระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นพระที่นั่งในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ภายในพระบรมมหาราชวัง โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: เขตพระนครและพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท

ระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท เป็นพระที่นั่งองค์ประธานของหมู่พระมหาปราสาท ใน พระบรมมหาราชวัง ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นกลาง ทางทิศตะวันตกของพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท มีพระที่นั่งพิมานรัตยา พระปรัศว์ซ้าย พระปรัศว์ขวา และ เรือนบริวาร หรือ เรือนจันทร์ ต่อเนื่องทางด้านหลังในเขตพระราชฐานชั้นใน พระที่นั่งองค์นี้ได้รับยกย่องว่าเป็นสถาปัตยกรรมชั้นเอกของกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นพระที่นั่งทรงไทยแท้องค์เดียว ในพระบรมมหาราชวัง โดยเฉพาะเรือนยอดพระมหาปราสาท (กุฎาคาร) มีรูปทรงต้องด้วยศิลปะลักษณะอันวิจิตรงดงาม.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

พระนางเธอลักษมีลาวัณ

ระนางเธอลักษมีลาวัณ (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 – 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504) มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าวรรณพิมล วรวรรณ เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ กับหม่อมหลวงตาด วรวรรณ (สกุลเดิม มนตรีกุล) ทรงเป็นที่รู้จักในฐานะพระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระขนิษฐาต่างชนนีของอดีตพระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี พระองค์เป็นผู้ริเริ่มรื้อฟื้น คณะละครปรีดาลัย ของพระบิดาขึ้นมาอีกครั้ง ทรงปลีกพระองค์ประทับอยู่เพียงลำพัง ทรงใช้เวลาที่มีอยู่ในการประพันธ์นวนิยาย ร้อยกรอง และบทละครจำนวนมาก โดยใช้นามปากกาว่า ปัทมะ, วรรณพิมล และพระนางเธอลักษมีลาวัณ พระนางเธอลักษมีลาวัณ ถูกลอบปลงพระชนม์เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม..

ใหม่!!: เขตพระนครและพระนางเธอลักษมีลาวัณ · ดูเพิ่มเติม »

พระนคร

ระนคร อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพวิมลมุนี (กฤช กิตฺติวํโส)

ระเทพวิมลมุนี (กฤช กิตฺติวํโส) (นามเดิม: กฤช ประเวสจินดา) (4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 - ปัจจุบัน) เจ้าอาวาสวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระเทพวิมลมุนี (กฤช กิตฺติวํโส) · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพวีราภรณ์ (สีนวล ปญฺญาวชิโร)

ระเทพวีราภรณ์ (สีนวล ปญฺญาวชิโร) (นามเดิม: สีนวล เรืองอำพันธ์) (29 มิถุนายน 2482 - ปัจจุบัน) เจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 15.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระเทพวีราภรณ์ (สีนวล ปญฺญาวชิโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพปฏิภาณวาที (สุนทร ญาณสุนฺทโร)

ระเทพปฏิภาณวาที นามเดิม สุนทร ฉายา าณสุนฺทโร เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะเขตดุสิต ผู้ช่วยแม่กองธรรมสนามหลวง และนักเทศน์ชื่อดัง.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระเทพปฏิภาณวาที (สุนทร ญาณสุนฺทโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพปริยัติวิมล (แสวง ธมฺเมสโก)

ระเทพปริยัติวิมล นามเดิม แสวง ลูกอินทร์ ฉายา ธมฺเมสโก ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลั.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระเทพปริยัติวิมล (แสวง ธมฺเมสโก) · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพปัญญาเมธี (ปราชญ์ อกฺกโชโต)

ระเทพปัญญาเมธี (ปราชญ์ อกฺกโชโต) (14 พฤษภาคม พ.ศ. 2487-)พระภิกษุในพุทธศาสนานิกายเถรวาท คณะมหานิกาย ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ มีราชทินนามตามสัญญาบัตรว่า พระเทพปัญญาเมธี ปรีชาศาสนกิจดิลก ตรีปิฎกวราลงกรณ์ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี เจ้าอาวาสวัดกลาง จังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: เขตพระนครและพระเทพปัญญาเมธี (ปราชญ์ อกฺกโชโต) · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธบางลำพู

งลำพู เป็นทั้งพิพิธภัณฑ์ ศูนย์การเรียนรู้ และห้องสมุดชุมชนของย่านบางลำพู อยู่ใกล้กับป้อมพระสุเมรุ บนถนนพระสุเมรุ ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของสำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์ จัดสร้างขึ้นเพื่อส่งเสริมและพัฒนาชุมชนบางลำพูให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ และเป็นศูนย์การเรียนรู้เชิงการศึกษาวัฒนธรรมชุมชน.

ใหม่!!: เขตพระนครและพิพิธบางลำพู · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

ัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร เป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บริเวณพระราชวังบวรสถานมงคล หรือส่วนหนึ่งของที่ประทับวังหน้า ซึ่งก็คือพื้นที่พระราชวังของสมเด็จพระบวรราชเจ้าตั้งแต่รัชกาลที่ 1 เป็นต้นมา มีอาณาเขตตั้งแต่บริเวณมหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มณฑลพิธีท้องสนามหลวงตอนตะวันตก อนุสาวรีย์ทหารอาสา และโรงละครแห่งชาติในปัจจุบัน ภายในพิพิธภัณฑ์ประกอบด้วยหมู่พระที่นั่งต่าง ๆ ได้แก่ พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พระที่นั่งอิศราวินิจฉัย หมู่พระวิมาน พระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์ อาคารประพาสพิพิธภัณฑ์ และ อาคารมหาสุรสิงหนาท เดิมพิพิธภัณฑ์ตั้งอยู่ในพระบรมมหาราชวัง ที่หอคองคอเดีย (ศาลาสหทัยสมาคม ในปัจจุบัน) เรียกว่า "มิวเซียม" หรือ "พิพิธภัณฑสถานหอคองคอเดีย" โดยมีพิธีเปิดเมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: เขตพระนครและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร · ดูเพิ่มเติม »

พิธีสำเร็จการศึกษา

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานปริญญาบัตร แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีประจำปีการศึกษา 2520 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีสำเร็จการศึกษา (graduation ceremony) เป็นพิธีการพิเศษซึ่งสถาบันอุดมศึกษาจัดขึ้นเพื่อมอบปริญญาบัตรแก่บัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาประจำปีอย่างเป็นทางการ โดยเริ่มจัดให้มีขึ้นในต่างประเทศมาก่อน เช่นสหรัฐอเมริกาหรือหลายประเทศในทวีปยุโรป ต่อมาประเทศไทยจึงเริ่มรับเอาประเพณีดังกล่าวเข้ามา โดยกราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริย์ เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน จึงบัญญัติศัพท์ให้เรียกว่า พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ทั้งนี้ตั้งแต..

ใหม่!!: เขตพระนครและพิธีสำเร็จการศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

พิธีถวายเครื่องราชสักการะและจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล

ีถวายเครื่องราชสักการะ จุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล และถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จัดขึ้นในวันที่ 5 ธันวาคม และ 12 สิงหาคม เป็นประจำทุกปี (นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 ได้เพิ่มวันที่ 28 กรกฎาคม ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และในปี พ.ศ. 2558 ได้เพิ่มวันที่ 2 เมษายน ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ด้วย) โดยเป็นส่วนหนึ่งในงาน 5 ธันวามหาราช, งาน 12 สิงหามหาราชินี, งานเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และงานเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งมี มูลนิธิ ๕ ธันวามหาราช เป็นองค์กรหลักในการจัดงาน.

ใหม่!!: เขตพระนครและพิธีถวายเครื่องราชสักการะและจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล · ดูเพิ่มเติม »

กรมการปกครอง

กรมการปกครอง เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงมหาดไทย ดำเนินงานเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายใน การบริหารการปกครองท้องที่ในระดับอำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน การดำเนินการและพัฒนาระบบงานทะเบียนราษฎร และการขออนุญาตต่าง ๆ ตามกฎหม.

ใหม่!!: เขตพระนครและกรมการปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

กรมราชเลขานุการในพระองค์

กรมราชเลขานุการในพระองค์ (เดิมคือ สำนักราชเลขาธิการ) เป็นหน่วยงานราชการในสังกัด สำนักพระราชวัง ซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับการเลขานุการในองค์ พระมหากษัตริย์ เกี่ยวกับงานหนังสือที่หน่วยราชการ เอกชนและบุคคลทั่วไปส่งเข้ามา เพื่อขอให้นำความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต พระบรมราชวินิจฉัยและพระมหากรุณา แล้วแต่กรณี รวมทั้งทำหน้าที่รับพระราชทานพระราชดำริและพระราชดำรัส เพื่อเชิญไปยังหน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีบทบาทเป็นผู้ประสานงานระหว่างพระมหากษัตริย์กับรัฐบาล และหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐหรือเอกชนและบุคคลทั่วไป ทั้งที่เป็นราชการแผ่นดินและการส่วนพระองค์ ก่อตั้งขึ้นในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในตอนนั้นเรียกว่าออฟฟิศไปรเวตสิเกรตารีหลวง หรือกรมราชเลขาธิการ.

ใหม่!!: เขตพระนครและกรมราชเลขานุการในพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

กรมส่งเสริมสหกรณ์

กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Cooperative Promotion Department) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่ส่งเสริมและพัฒนาการสหกรณ์ภายในประเท.

ใหม่!!: เขตพระนครและกรมส่งเสริมสหกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรมธนารักษ์

กรมธนารักษ์ เป็นกรมในสังกัดของกระทรวงการคลัง มีหน้าที่เกี่ยวกับการทำเหรียญกษาปณ์ เหรียญที่ระลึก การดูแลที่ราชพัสดุตามอำนาจหน้าที่ การประเมินราคาทรัพย์สิน การรับจ่ายและรักษาพระราชทรัพย์ทั้งหมดในกรุงเทพมหานคร และการจัดการเงินในพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและเกี่ยวกับพระราชทรัพย์ของบรมวง.

ใหม่!!: เขตพระนครและกรมธนารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรมแผนที่ทหาร

กรมแผนที่ทหาร เป็นหน่วยงานย่อยในกองบัญชาการกองทัพไทย มีหน้าที่สำรวจและทำแผนที่ของประเทศเพื่อรักษาอธิปไตยและเขตแดนประเทศให้ถูกต้อง เป็นที่รวบรวมเอกสารและจัดทำเอกสารเกี่ยวกับการปักปันเขตแดน ทั้งประเทศ รวมไปถึงการรักษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับแผนที่ทั้งหมดของประเทศไท.

ใหม่!!: เขตพระนครและกรมแผนที่ทหาร · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)

กระทรวงกลาโหม (Ministry of Defence) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ป้องกันประเทศ เพิ่มขีดความสามารถ และรักษาผลประโยชน์ของชาติ สร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงกับประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศในกลุ่มอาเซียน และมิตรประเทศ เพื่อลดความหวาดระแวงสร้างสันติภาพ ให้ความสำคัญในการตอบสนองนโยบายเร่งด่วนของคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการของกระทรวงกลาโหม ตลอดจนภารกิจอื่นตามที่ได้รับมอบหมายเป็นการเฉพาะ และมีหน้าที่พิทักษ์รักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ ทั้งในฐานะที่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศ และทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินการตามพระราชประสง.

ใหม่!!: เขตพระนครและกระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: เขตพระนครและกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (Ministry of Agriculture and Cooperatives) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในชื่อ กระทรวงเกษตรพานิชการ มี เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) ขณะมีบรรดาศักดิ์ที่พระยาภาสกรวงศ์เป็นเสนาบดีคนแรก ต่อมาในปี พ.ศ. 2439 ได้ยุบรวมกระทรวงเกษตรพานิชการเข้ากับ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ พร้อมกับลดฐานะลงเป็นกรม ๆ หนึ่ง ในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2442 มีพระบรมราชโองการแยกกรมเกษตรพานิชการออกมาตั้งเป็นกระทรวงใหม่ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตราธิการ มี เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) ขณะมีบรรดาศักดิ์ที่พระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์เป็นเสนาบดีคนแรก โดยใช้ หอรัษฎากรพิพัฒน์ เป็นที่ทำการชั่วคราว ในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการยุบรวมกระทรวงเกษตราธิการเข้ากับ กระทรวงพาณิชย์และคมนาคม ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตรพาณิชยการ ต่อมาวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 ได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อและอำนาจหน้าที่จากกระทรวงเกษตรพาณิชยการเป็น กระทรวงเศรษฐการ ในวันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: เขตพระนครและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: เขตพระนครและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

กรุงเทพมหานคร (ย่อ: กทม.; Bangkok Metropolitan Administration, BMA) เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ซึ่งทำหน้าที่บริหารเขตการปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร ตามกฎหมายปัจจุบันคือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528.

ใหม่!!: เขตพระนครและกรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: เขตพระนครและกรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: เขตพระนครและกรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ. 2417.

ใหม่!!: เขตพระนครและกองทัพบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: เขตพระนครและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: เขตพระนครและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

กำแพงเมืองและป้อมปราการกรุงเทพมหานคร

กำแพงเมืองและประตูเมืองที่เหลืออยู่ด้านทิศเหนือ หน้าวัดบวรนิเวศวิหาร กำแพง และ ประตูพระนคร ของกรุงเทพมหานครนั้น ตั้งอยู่ในเขตพระนคร ปัจจุบันหลงเหลืออยู่ 2 แห่ง ก็คือ ป้อมพระสุเมรุ บริเวณกำแพงเมืองและประตูเมืองด้านทิศเหนือ และบริเวณป้อมมหากาฬ กำแพงเมืองพระนครสร้างมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 โดยนำอิฐที่จากกำแพงกรุงศรีอยุธยามาสร้าง รวมความยาวทั้งหมดประมาณ 7 กิโลเมตร ครอบคลุมเขตเกาะกรุงรัตนโกสินทร์ มีประตูใหญ่ 16 ประตู ประตูเล็กหรือช่องกุด 47 ประตู และมีป้อม 14 ป้อม ประตูเมืองและกำแพงเมือง ทางทิศเหนือนั้นกรมศิลปากรได้บูรณะเมื่อ พ.ศ. 2524 เป็นประตูเมืองตามแบบในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นประตูยอด โดยแตกต่างจากประตูไม้ทาดินแดงในสมัยรัชกาลที่ 1 และประตูก่ออิฐข้างบนซึ่งใช้เป็นหอรบในสมัยรัชกาลที่ 3 ส่วนกำแพงเมืองทางด้านป้อมมหากาฬนั้น ได้ถูกรื้อถอนออกเป็นจำนวนมากเพื่อสร้างถนน และที่อยู่อาศัย จะเหลือให้เห็นเพียงระยะประมาณ 100 เมตร ติดต่อกับตัวป้อมมหากาฬ ด้านหลังกำแพงมีชุมชนแออัดอาศัยอยู่ ในปัจจุบัน มีแผนการพัฒนาพื้นที่บริเวณนี้ให้เป็นสวนสาธารณะ ซึ่งอาจจะต้องย้ายชุมชนหรืออาจจะแบ่งกลุ่มให้ชาวชุมชนเป็นผู้ดแล.

ใหม่!!: เขตพระนครและกำแพงเมืองและป้อมปราการกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Mahasarakham University, อักษรย่อ: มมส - MSU) ตั้งอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม ก่อกำเนิดจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 และได้รับการยกระดับเป็นมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เมื่อปี พ.ศ. 2537 นับเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งที่ 22 ของประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีวิทยาเขตหลักที่ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม และวิทยาเขตพื้นที่ในเมือง ตำบลตลาด อำเภอเมือง มหาสารคาม เปิดการสอนระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก 177 สาขาวิชา ใน 21 คณะหรือเทียบเท่า และขยายโอก่าสทางการศึกษาโดยจัดโครงการศึกษาที่จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอุดรธานี นอกจากนี้ยังมีการจัดการเรียนการสอนขั้นพื้นฐาน คือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม.

ใหม่!!: เขตพระนครและมหาวิทยาลัยมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(มจร.) คือสถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนาชั้นสูงในรูปแบบมหาวิทยาลัย ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นเพื่อถวายแด่คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย โดยเริ่มจัดการเรียนการสอนด้านพุทธศาสตร์เป็นสาขาแรก แล้วต่อมาได้ขยายการเรียนการสอนไปยังสาขาวิชาอื่นๆ คล้ายกับรูปแบบการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ที่เริ่มต้นจากสาขาด้านศาสนาแล้วขยายไปยังสาขาอื่นอีกมายมาย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือกำเนิดจาก "มหาธาตุวิทยาลัย" ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นภายในวัดมหาธาตุฯ เมื่อปี พ.ศ. 2430 โดยเริ่มทำการสอนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: เขตพระนครและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Rattanakosin).

ใหม่!!: เขตพระนครและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็น"องค์กรการกุศล"จัดตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่เผยแผ่ พุทธธรรมโดยจัดตรวจชำระและแปลคัมภีร์พระพุทธศาสนา แล้วจำหน่ายเผยแผ่ในราคาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ปัจจุบัน ได้จัดพิมพ์ตำรับตำราทางพระพุทธศาสนาอันจะเป็นประโยชน์ในการเรียนนักธรรมและบาลีทุกระดับชั้นในราคาถูก และยังจัดพิมพ์และจำหน่ายหนังสือเกี่ยวแก่พระพุทธศาสน.

ใหม่!!: เขตพระนครและมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิแผ่นดินธรรม

มูลนิธิแผ่นดินธรรม ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เป็นองค์กรการกุศลทางพระพุทธศาสนา ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อผลิตรายการธรรมะป้อนโทรทัศน์เพื่อให้ประชาชนชาวพุทธทั่วไปได้เข้าใจหลักพุทธธรรมของพระพุทธเจ้าจากคัมภีร์พระไตรปิฎก ภาษาบาลี ทั้งในเชิงทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยเฉพาะในเชิงภาคปฏิบัตินั้น ทีมงานผู้ผลิตรายการแผ่นดินธรรมได้เลือกปฏิปทาของพระอาจารย์กรรมฐานหรือพระป่า เช่น พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต มานำเสนอเป็นประจำ เพื่อให้ประชาชนได้รู้ว่าหลักธรรมของพระพุทธเจ้านั้นทันสมัยอยู่เสมอ สามารถศึกษาและนำไปปฏิบัติได้จริง แม้สังคมจะเจริญเพียงใดก็ตาม.

ใหม่!!: เขตพระนครและมูลนิธิแผ่นดินธรรม · ดูเพิ่มเติม »

มงคล อมาตยกุล

มงคล อมาตยกุล (9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2461 - 20 กันยายน พ.ศ. 2532) นักดนตรี นักแต่งเพลง ผู้ก่อตั้งวงดนตรีมงคล อมาตยกุล และวงดนตรีจุฬารัตน์ มงคล อมาตยกุล เกิดที่อำเภอพระนคร เป็นบุตรของอำมาตย์เอก พระยาวินิตวิทยาการ (กร อมาตยกุล) กับหม่อมหลวงผาด เสนีวงศ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดชนะสงคราม โรงเรียนหอวัง โรงเรียนปทุมคงคา และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (พ.ศ. 2479 รุ่นเดียวกับพลเอกเปรม ติณสูลานนท์) เข้าศึกษาต่อที่คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จนถึงชั้นปีที่ 4 จึงหยุดเรียน เพราะมหาวิทยาลัยหยุดการเรียนการสอน เนื่องจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้หันไปเล่นดนตรีสากล ตั้งคณะละครวิทยุ และแต่งบทละคร เล่นออกอากาศทางสถานีวิทยุ และได้เป็นนักแต่งเพลง เรียบเรียงเสียงประสาน และเป็นหัวหน้าวงดนตรีของเทศบาลนครกรุงเทพ ในปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและมงคล อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

มนต์ชัย พันธุ์คงชื่น

ลตำรวจเอกมนต์ชัย พันธุ์คงชื่น (2 กันยายน พ.ศ. 2464 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2559) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล.

ใหม่!!: เขตพระนครและมนต์ชัย พันธุ์คงชื่น · ดูเพิ่มเติม »

รัชต์ยุตม์ ศิรโยธินภักดี

กิดเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2502 ที่ บ้านหนองเขื่อนข้าง ตำบลหนองยาว อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี โดยมีชื่อเดิมว่า หรือ และต่อมา ได้เปลี่ยนชื่อและนามสกุลใหม่ เป็น จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนสระบุรีวิทยาคม เรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนวัดราชาธิวาส กรุงเทพฯ จากนั้นได้เข้าสู่ขบวนการนักศึกษา จากการขอสมัครเป็นเป็นผู้ปฏิบัติงานของศูนย์กลางนักเรียนแห่งประเทศไทย ซึ่งขณะนั้นอยู่ที่ตึกสันทนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ถือเป็นหนึ่งในคนเดือนตุลา ที่มีบทบาทสำคัญ โดยก่อนหน้านั้นเป็นเลขาธิการศูนย์กลางนักเรียนในปี พ.ศ. 2519 และนำนักเรียนขาสั้นเข้าร่วมเหตุการณ์ 6 ตุลา จากนั้นถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจจับกุมเป็นเวลา 3 วัน ก่อนที่จะหนีเข้าป่า เฉกเช่นนักศึกษาคนเดือนตุลาอื่นๆ ในยุคนั้น โดยเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) เขตงานสุราษฎร์ธานี โดยมีเพื่อนร่วมเขตงานเดียวกันคือ สุวิทย์ วัดหนู หลังจากนั้นเมื่อเกิดวิกฤตป่าแตก จึงกลับเข้าหาครอบครัวทำมาหากิน เหมือนนักศึกษาคนอื่น ๆ ที่ออกจากป่าในช่วงนั้น ในช่วงเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ได้เข้าร่วมกับ คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.) ขับไล่ พล.อ. สุจินดา คราประยูร และต่อมาเข้ารับตำแหน่งเลขาธิการเครือข่ายเดือนตุลา ปี พ.ศ. 2540 - 2542.

ใหม่!!: เขตพระนครและรัชต์ยุตม์ ศิรโยธินภักดี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

งประจำพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: เขตพระนครและรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดประจำรัชกาล

ม่มีวัดประจำรัชกาล แต่จะเลือกเอาวัดที่พระมหากษัตริย์พระองค์นั้น ทรงมีส่วนเกี่ยวข้อง โดยยึดเอาที่บรรจุพระบรมราชสรีรางคารเป็นสำคัญ.

ใหม่!!: เขตพระนครและรายชื่อวัดประจำรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและรายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสวนสาธารณะในกรุงเทพมหานคร

วนสาธารณะหลักในกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 34 สวน จากข้อมูลของสำนักสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อม กทม.

ใหม่!!: เขตพระนครและรายชื่อสวนสาธารณะในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา

รายชื่อสะพานข้ามหรืออุโมงค์ลอดแม่น้ำเจ้าพระยา เรียงลำดับจากเหนือน้ำไปท้ายน้ำ.

ใหม่!!: เขตพระนครและรายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อและระยะทางของถนนในเขตกรุงเทพมหานคร เฉพาะถนนสาธารณะที่อยู่ในความดูแลของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร กรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบท รวมทั้งเส้นทางที่ตัดผ่านที่ดินของหน่วยงานราชการอื่นและเส้นทางของเอกชนที่ได้รับการกำหนดให้เป็น "ถนน" อย่างเป็นทางการจากกรุงเทพมหานครแล้ว ทั้งนี้ ไม่รวมเส้นทางที่ใช้สัญจรเฉพาะภายในพื้นที่หน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา บ้านจัดสรร และสถานที่เอกชนซึ่งมักมีการปิดกั้นหรือควบคุมทางเข้าออก.

ใหม่!!: เขตพระนครและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตพระนคร

รายชื่อทางแยกในเขตพระนคร เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและรายชื่อทางแยกในเขตพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตดุสิต

รายชื่อทางแยกในเขตดุสิต เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: เขตพระนครและรายชื่อทางแยกในเขตดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

รายชื่อทางแยกในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและรายชื่อทางแยกในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตพระนคร)

ราณสถานที่มีรายชื่อในหน้านี้ตั้งอยู่ในพื้นที่สีแดงบนแผนที.

ใหม่!!: เขตพระนครและรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตพระนคร) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ

รงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ คือขนาดโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐที่กำหนดขึ้นโดยกรมสามัญศึกษาเดิม (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.) โดยกำหนดโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีจำนวนนักเรียนมากกว่า 2,501 คนขึ้นไป ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ปริมณฑลและโรงเรียนประจำจังหวัด ทั้งนี้ ไม่รวมโรงเรียนในสังกัดอื่น ๆ เช่น สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (โรงเรียนเทศบาล), สังกัดมหาวิทยาลัย (โรงเรียนสาธิต), โรงเรียนเอกชน เป็นต้น ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษแบ่งตามภาค ตามจำนวนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ไม่นับ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จังหวัดนครปฐม โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดสกลนคร ซึ่งมีเฉพาะนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: เขตพระนครและรายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร

ต (district หรือ khet) เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองทางมหาดไทย อยู่ระดับเดียวกับอำเภอซึ่งอยู่รองจากจังหวัด แต่ใช้เฉพาะในกรุงเทพมหานครซึ่งไม่มีสถานะเป็นจังหวัด ในแต่ละเขตแบ่งออกเป็นแขวง.

ใหม่!!: เขตพระนครและรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย

นี่คือรายชื่อรหัสไปรษณีย์ไทยเรียงตามจังหวั.

ใหม่!!: เขตพระนครและรายการรหัสไปรษณีย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 2 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่ทั้งฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดิน และยกระดับ มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตก เริ่มต้นจากสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ฝั่งธนบุรี เข้าสู่ย่านบางกอกน้อย แล้วลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่ย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร, ป้อมปราบศัตรูพ่าย และดุสิต ผ่านสถานที่สำคัญเช่น สนามหลวง, ถนนราชดำเนิน, ภูเขาทอง, ตลาดมหานาค เข้าสู่ใจกลางเมืองย่านราชเทวี, ประตูน้ำ, ดินแดง ไปยังชุมชนประชาสงเคราะห์, ถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนรามคำแหง, บางกะปิ, สะพานสูง มาสิ้นสุดเส้นทางที่เขตมีนบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯเอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เขตพระนครและรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line) หรือ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง (MRT Purple Line) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม. หรือ MRTA) เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) ส่วนต่อขยายเดิมช่วงเตาปูน-บางใหญ่, สายสีม่วงเดิม ช่วงหอสมุดแห่งชาติ-เตาปูน และสายสีส้มเดิม ช่วงสามเสน (หอสมุดแห่งชาติ)-ราษฎร์บูรณะ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน กลายเป็นรถไฟฟ้าเส้นทางใหม่ที่กำหนดให้เป็นสายสีม่วง บรรจุในแผนแม่บทฯ ของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 นาม ฉลองรัชธรรม เป็นชื่อที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเพื่อเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง ระยะแรก สายคลองบางไผ่-นนทบุรี-เตาปูน มีความหมายว่า “เฉลิมฉลองพระราชาที่ปกครองโดยธรรม” โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยได้ยื่นเรื่องขอพระราชทานชื่อเส้นทาง เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสพระราชพืธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: เขตพระนครและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

ใหม่!!: เขตพระนครและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · ดูเพิ่มเติม »

ร้านเจ๊ไฝ

ญญา จันสุตะ หรือเจ๊ไฝ บรรยากาศภายในร้าน ร้านเจ๊ไฝ เป็นร้านอาหารริมทางบริเวณทางแยกสำราญราษฎร์ (ประตูผี) เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีชื่อเสียงจากเป็นร้านอาหารริมทางแห่งแรกของโลกที่ได้ 1 ดาวจากมิชลินไก.

ใหม่!!: เขตพระนครและร้านเจ๊ไฝ · ดูเพิ่มเติม »

ลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์

ลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ เป็นลานสวนกลางแจ้งตั้งอยู่บริเวณมุมถนนราชดำเนินกลางตัดกับถนนมหาไชย เขตพระนคร ตั้งชื่อตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศเป็น พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ พื้นที่โดยรอบเป็นลานกว้าง มีพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวประดิษฐานอยู่ นอกจากนี้ ยังมีการรจัดสร้างพลับพลาที่ประทับเพื่อใช้เป็นที่สำหรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงออกรับแขกเมืองของประเทศ ลานพลับพลาแห่งนี้สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลำพู

ลำพู (Cork tree, Mangrove apple) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางในวงศ์ Sonneratiaceae พบทั่วไปตามดินเลนริมแม่น้ำหรือคลอง ที่มีระดับน้ำขึ้นน้ำลงท่วมถึง ขึ้นได้ทั้งในน้ำจืดหรือน้ำกร่อย ลำพูมีลักษณะเรือนยอดเป็นทรงพุ่ม ลำต้นเป็นแบบ Pettis's model มีการเจริญติดต่อกันไป ลำต้นค่อนข้างกลมมีกิ่งเกิดในแนวตั้ง เจริญทางด้านข้างมากกว่าทางยอด เมื่อลำต้นแตกหักจะสร้างกิ่งใหม่ขึ้นได้เนื่องจากมีตาสำรองอยู่เป็นจำนวนมาก ลักษณะใบเป็นใบเดี่ยวขนาดเล็ก สีเขียว ขอบใบเรียบ แตกใบตรงกันข้ามกันเป็นคู่ มีก้านใบสีชมพูมองเห็นแต่ไกล ดอกเป็นดอกเดี่ยวออกบริเวณปลายยอด ลักษณะผลแก่มีเปลือกหนาสีเขียวอมเหลือง เนื้ออ่อนนุ่ม ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก ประมาณ 1000 ถึง 2500 เมล็ด ผลลำพูแก่มีกลิ่นแรง จะร่วงหล่นระหว่างเดือนมิถุนายนถึงกันยายน เป็นพืชที่รับประทานได้ ดอกนำไปแกงส้ม หรือใช้เป็นผักสด รับประทานกับขนมจีน ลำพูไม่มีรากแก้ว จะเกิดรากแผ่กระจายไปด้านข้างขนานกับผิวดินตื้นๆ และมีรากเล็กๆ แตกแขนงทางด้านล่างทำหน้าที่ยึดเกาะ และมีรากฝอยอีกชั้นทำหน้าที่ดูดซึมน้ำและสารอาหาร ลำพูยังมีรากพิเศษช่วยในการหายใจ ลักษณะรูปกรวยแหลมยาวแทงโผล่พื้นดินรอบโคนต้น มีความยาวประมาณ 10-50 ซม.

ใหม่!!: เขตพระนครและลำพู · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

ต่อไปนี้ คือลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: เขตพระนครและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

วราวุธ ศิลปอาชา

นายวราวุธ ศิลปอาชา ประธานสโมสรฟุตบอลจังหวัดสุพรรณบุรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: เขตพระนครและวราวุธ ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร

วัดบวรนิเวศ ราชวรวิหาร หรือ วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนบวรนิเวศและถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระอารามนี้เคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราชถึง 4 พระองค์ และเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ทั้งยังเป็นวัดประจำรัชกาลที่ ๖ (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) และ วัดประจำรัชกาลที่ ๙ (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช).

ใหม่!!: เขตพระนครและวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดบุรณศิริมาตยาราม

วัดบุรณศิริมาตยาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่ที่บนถนนอัษฎางค์ แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สร้างโดยเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี ปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3 ว่า กรมหมื่นเสนีเทพ (พระองค์เจ้าอสุนี) พระโอรสในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท เป็นผู้สร้างวัดขึ้นแต่ยังค้างอยู่ จนกระทั่งพระยามหาอำมาตย์ (ต่อมาคือ เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (บุญศรี ต้นสกุล บุรณศิริ)) ดำเนินการสร้างต่อจนเสร็จ ในสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า วัดศิริอำมาตยาราม ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เปลี่ยนชื่อวัดมาเป็น วัดบุรณศิริมาตยาราม เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม..

ใหม่!!: เขตพระนครและวัดบุรณศิริมาตยาราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า วัดพระแก้ว เป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นในพ.ศ. 2325 เป็นวัดในพระบรมมหาราชวังเช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ ซึ่งเป็นวัดในพระราชวังหลวงในสมัยอยุธยา และมีพระราชประสงค์ให้วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือพระแก้วมรกต พระคู่บ้านคู่เมืองของแผ่นดินสยามที่พบ ณ วัดป่าเยี้ยะ(ป่าไผ่) จังหวัดเชียงราย และเป็นสถานที่ทรงบำเพ็ญพระราชกุศล วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นวัดที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษาอยู่ เพราะมีแต่ส่วนพุทธาวาสไม่มีส่วนสังฆาว.

ใหม่!!: เขตพระนครและวัดพระศรีรัตนศาสดาราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (/พระ-เชด-ตุ-พน-วิ-มน-มัง-คะ-ลา-ราม/) หรือ วัดโพธิ์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร และเป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทั้งยังเปรียบเสมือนเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศด้วย เนื่องจากเป็นที่รวมจารึกสรรพวิชาหลายแขนง และทางยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำโลกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เมื่อ มีนาคม..

ใหม่!!: เขตพระนครและวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร

วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนและคลองผดุงกรุงเกษม ด้านใกล้ถนนราชดำเนินนอก.

ใหม่!!: เขตพระนครและวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชบุรณราชวรวิหาร

วัดราชบุรณราชวรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่ที่มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย เดิมชื่อ "วัดเลียบ" เชื่อกันว่าพ่อค้าชาวจีนนาม "เลี้ยบ" เป็นผู้สร้างถวาย ตั้งอยู่เชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วัดนี้เป็นวัดหนึ่งตามธรรมเนียมประเพณีโบราณที่ว่า ในราชธานีจะต้องมีวัดสำคัญประจำ 3 วัด คือ วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ และวัดราชประดิษฐาน พระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ พระพี่นางเธอในรัชกาลที่ 1 ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดเลียบ เสร็จแล้วพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระราชทานนามว่า "วัดราชบุรณะ" ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องจากวัดตั้งอยู่ใกล้เคียงกับสถานที่สำคัญทางยุทธศาสตร์ คือ สะพานพระพุทธยอดฟ้า และ โรงไฟฟ้าวัดเลียบ สถานที่สำคัญ ๆ ของวัด รวมทั้งพระอุโบสถที่มีภาพจิตรกรรมฝาผนัง ฝีมือขรัวอินโข่ง จึงถูกระเบิดทำลายจนหมด ปัจจุบันวัดราชบุรณะได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ทั้งหม.

ใหม่!!: เขตพระนครและวัดราชบุรณราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชนัดดารามวรวิหาร

วัดราชนัดดารามวรวิหาร หรือ "วัดราชนัดดา" ตั้งอยู่ใกล้กับป้อมมหากาฬ ติดกับลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ ซึ่งเป็นพลับพลารับแขกเมือง เชิงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ ใกล้กับวัดเทพธิดาราม ขึ้นทะเบียนโบราณสถานเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เขตพระนครและวัดราชนัดดารามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดสามพระยา

วัดสามพระยา เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ เดิมเป็นวัดราษฎร์ สถานที่ตั้งอยู่ที่ แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ชาวบ้านในละแวกนั้นบ้างก็เรียกชื่อวัดว่า วัดสัก หรือ วัดบางขุนพรหม สันนิษฐานว่า สร้างมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ได้มีการก่อสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์เสนาสนะ มาโดยลำดับ ครั้นต่อมา ในรัชกาลที่ ๓ ได้มีพี่น้องร่วมบิดามารดา ประกอบด้วย พระยาราชภักดี (สิงห์ทอง) พระยาเทพอรชุน (ทองปาน) และพระยาราชวรานุกูล (ทองคำ) รวมสามคนพี่น้อง ตามประวัติ บิดาท่านชื่อ มะทอเปิ้น อพยพมาจากรามัญประเทศ แต่ มารดาท่านไม่ปรากฏนาม พี่น้องทั้งสาม ได้จัดสร้างวัดนี้ขึ้นใหม่ แล้วเสร็จจึงได้ทูลเกล้าฯ ถวายเป็นวัดหลวง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มอบพระราชทานนามวัดว่า “วัดสามพระยา”.

ใหม่!!: เขตพระนครและวัดสามพระยา · ดูเพิ่มเติม »

วัดตรีทศเทพวรวิหาร

วัดตรีทศเทพ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เขตพระนครและวัดตรีทศเทพวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดนรนาถสุนทริการาม

วัดนรนาถสุนทริการาม วัดนรนาถสุนทริการาม เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่เชิงสะพานเทเวศร์นฤมิตร ตรงมุมคลองผดุงกรุงเกษม ตัดกับถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและวัดนรนาถสุนทริการาม · ดูเพิ่มเติม »

วัดเลียบ

วัดเลียบ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: เขตพระนครและวัดเลียบ · ดูเพิ่มเติม »

วังบางขุนพรหม

วังบางขุนพรหม เป็นวังที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ต้นราชสกุลบริพัตร และ สมเด็จพระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี พระมารดา วังบางขุนพรหมอยู่ในเนื้อที่ 33 ไร่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศใต้ของวังเทวะเวสม์ วังบางขุนพรหม มีตำหนักรวม 2 ตำหนัก ได้แก่ ตำหนักใหญ่ และตำหนักสมเด็จ โดยตำหนักใหญ่ ก่อสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและวังบางขุนพรหม · ดูเพิ่มเติม »

วังริมป้อมพระสุเมรุ

วังริมป้อมพระสุเมรุ เดิมเป็นวังของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าลา กรมหลวงจักรเจษฎา พระราชอนุชาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปัจจุบันถูกรื้อลงแล้ว เหลือแต้เพียงซุ้มประตูวังเท่านั้น.

ใหม่!!: เขตพระนครและวังริมป้อมพระสุเมรุ · ดูเพิ่มเติม »

วังจักรพงษ์

ประตูวังจักรพงษ์ วังจักรพงษ์ หรือ บ้านจักรพงษ์ ตั้งอยู่ที่ถนนมหาราช เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ติดกับโรงเรียนราชินี เคยเป็นตำหนักส่วนพระองค์ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ต่อมาตกเป็นของทายาทคือ หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ ปัจจุบันวังจักรพงษ์เป็นที่ตั้งของสำนักพิมพ์ริเวอร์บุ๊ค จักรพงษ์วิลล่า และมูลนิธิโลกสีเขียว.

ใหม่!!: เขตพระนครและวังจักรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วังเทวะเวสม์

วังเทวะเวสม์ เป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างพระราชทานสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เมื่อปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและวังเทวะเวสม์ · ดูเพิ่มเติม »

วังเทเวศร์

วังเทเวศร์ หรือ วังพลตรีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ เป็นวังที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ หม่อมเจ้าอัปสรสมาน กิติยากร และทายาทในราชสกุลกิติยากร ตั้งอยู่บริเวณถนนกรุงเกษม ปากคลองผดุงกรุงเกษม ริมแม่น้ำเจ้าพระยา แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ทางทิศใต้ติดกับวังเทวะเวสม์ ทางทิศตะวันออกติดกับวัดนรนาถสุนทริการามพระตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ (พระตำหนักใหญ่) ภายในวังเทเวศร์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานที่ดินบริเวณป้อมหักกำลังดัสกรซึ่งไม่ได้ใช้งานแล้ว สร้างพระตำหนักพระราชทาน รวมกับที่สวนอีก 2 แปลงที่ทรงซื้อไว้ และที่ดินฝ่ายเจ้าจอมมารดาเหม พระมารดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ ซึ่งพระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ น้อมเกล้าฯ ถวายรวมเป็นอาณาบริเวณตั้งแต่ริมแม่น้ำเจ้าพระยามาจนถึงบริเวณถนนกรุงเกษม ตำหนักในวังเทเวศร์ ประกอบด้ว.

ใหม่!!: เขตพระนครและวังเทเวศร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลาศ โอสถานนท์

ันตรี วิลาศ โอสถานนท์ หนึ่งในคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ พ.ศ. 2475 อดีตประธานพฤฒสภาและประธานรั.

ใหม่!!: เขตพระนครและวิลาศ โอสถานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

วิสุทธิกระษัตริย์

วิสุทธิกระษัตริย ในปัจจุบันสามารถหมายถึง.

ใหม่!!: เขตพระนครและวิสุทธิกระษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ หรือชื่อเดิมคือ สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร เป็นหน่วยงานของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีสถานะเทียบเท่าคณะวิชา รับผิดชอบดำเนินการให้การศึกษา อบรม ฝึกฝน การให้บริการแก่ชุมชน และสร้างเสริมประสบการณ์เกี่ยวกับท้องถิ่นชนบทให้แก่ บัณฑิต ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากทุกสาขาวิชา และทุกสถาบัน เพื่อให้มีความสนใจในและเข้าใจปัญหาของชนบท.

ใหม่!!: เขตพระนครและวิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วิทยาลัยสหวิทยาการ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะ สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนระดับปริญญาตรี โท และเอก ในหล.

ใหม่!!: เขตพระนครและวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา  เป็นวิทยาลัยด้านคหกรรมและศิลปกรรม สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ดยเปิดสอน 3 หลักสูตร คือ ปว., ปว.

ใหม่!!: เขตพระนครและวิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (อังกฤษ: College of Innovation) เป็นบัณฑิตวิทยาลัยสังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ตั้งอยู่ที่ อ.บางละมุง จังหวัดชลบุรี เป็นหน่วยงานในกำกับของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่มีสถานะเทียบเท่าคณะ สำนัก หรือสถาบัน ตั้งขึ้นเพื่อให้การศึกษา ฝึกอบรม ค้นคว้า วิจัยและให้บริการสังคม เพื่อประโยชน์แก่การพัฒนาวิชาการ และการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม.

ใหม่!!: เขตพระนครและวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ เป็นหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่าคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของ ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพจน์เพื่อรองรับการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติโดยเฉพาะการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับนานาชาติซึ่งเดิมเป็นหน้าที่ของสำนักงานวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทั้งนี้ชื่อวิทยาลัยตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแด่ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ผู้ประศาสน์การของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในวาระครบ 100 ปี ชาตกาล.

ใหม่!!: เขตพระนครและวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ (Poh-Chang Academy of Arts, Rajamangala University of Technology Rattanakosin) เดิมคือ โรงเรียนเพาะช่าง ตั้งอยู่ที่ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีสีแดง–สีดำ เป็นสัญลักษณ์ของสถาบัน เพาะช่างเป็นสถาบันศิลปะการช่าง ก่อตั้งขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเอาวันที่ 7 มกราคม..

ใหม่!!: เขตพระนครและวิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลชั้นต้น (ประเทศไทย)

ลชั้นต้น เป็นศาลยุติธรรม เป็นศาลที่พิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีในชั้นแรก โดยทั่วไป ผู้ใดที่มีคดีความและประสงค์จะใช้สิทธิฟ้องร้องจะต้องยื่นฟ้องที่ศาลนี้.

ใหม่!!: เขตพระนครและศาลชั้นต้น (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)

ลรัฐธรรมนูญ (ย่อ: ศร.) เป็นองค์กรตุลาการที่จัดตั้งขึ้นครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 แทนคณะตุลาการรัฐธรรมนูญที่ยุบเลิกไป และมีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ แต่ไม่มีอำนาจหน้าที่พิจารณาอรรถคดีทั่วไป.

ใหม่!!: เขตพระนครและศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร

ลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร ศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร เป็นศาลที่สร้างขึ้นมาพร้อมกับการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี ตามธรรมเนียมพิธีพราหมณ์ว่า ก่อนที่จะสร้างเมืองจะต้องทำพิธียกเสาหลักเมืองในที่อันเป็นชัยภูมิสำคัญ เพื่อเป็นสิริมงคลแก่บ้านเมืองที่จะสร้างขึ้น ศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานครตั้งอยู่บริเวณมุมด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ของท้องสนามหลวง ตรงข้ามพระบรมมหาราชวัง ถนนหลักเมือง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร จุดสำคัญของศาลหลักเมืองคือ เสาหลักเมือง ซึ่งได้กระทำพิธียกเสาขึ้นเมื่อวันที่ 21 เมษายน..

ใหม่!!: เขตพระนครและศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์

ลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ เป็นพิพิธภัณฑ์จัดแสดงเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเงินตราไทย ปัจจุบันอยู่ในการกำกับดูแลของสำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลรักษา (อนุรักษ์ จัดเก็บ จัดทำทะเบียน) ทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน อันได้แก่ เครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเงินตราไทย ฯลฯ ให้ปลอดภัยอยู่ในสภาพที่ดีตามหลักการอนุรักษ์ และนำออกจัดแสดงเพื่อเผยแพร่ให้คนไทยได้รับรู้ และเกิดความภาคภูมิใจในมรดกของชาติ รวมทั้งให้ชาวต่างชาติได้รู้จักศิลปวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ ตั้งอยู่ภายในพระบรมมหาราชวัง บริเวณทางเข้าวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และเปิดให้ประชาชนได้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30 - 16.00 น.

ใหม่!!: เขตพระนครและศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาเฉลิมกรุง

ลาเฉลิมกรุง หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า โรงมหรสพหลวง ศาลาเฉลิมกรุง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เฉลิมกรุง เป็นโรงมหรสพหลวง ตั้งอยู่ริมถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นโรงภาพยนตร์ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ศาลาเฉลิมกรุงได้วางศิลาฤกษ์โดย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เขตพระนครและศาลาเฉลิมกรุง · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาเฉลิมไทย

หน้าปกสูจิบัตรโฆษณา ฉบับเดือนเมษายน ปลายทศวรรษ 2510 ของศาลาเฉลิมไทย ศาลาเฉลิมไทย เป็นโรงมหรสพ โรงภาพยนตร์ ตั้งอยู่ที่มุม ถนนราชดำเนินกลาง กับ ถนนมหาไชย ได้รับการสร้างขึ้นตามความประสงค์ของจอมพลแปลก พิบูลสงคราม ศาลาเฉลิมไทยได้สร้างขึ้นราวปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและศาลาเฉลิมไทย · ดูเพิ่มเติม »

ศาลเจ้าพ่อเสือ พระนคร

ลเจ้าพ่อเสือ พระนคร ศาลเจ้าพ่อเสือ พระนคร:(ตัวเต็ม:打惱路玄天上帝廟, ตัวย่อ: 打恼路玄天上帝庙, พินอิน: Dǎ nǎo lù xuán tiān shàngdì miào ตานาวลู่เฉียงเทียนซ่างตี่เมี่ยว, ฮกเกี้ยน: ต้านาวหล่อเอี่ยนเถี้ยนซ่งเต้เบี้ยว) หรือ ศาลเจ้าพ่อเสือ เสาชิงช้า หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า ศาลเจ้าพ่อเสือ เป็นศาลเจ้าเก่าแก่ซึ่งตั้งอยู่บนถนนตะนาว ใกล้เสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ชาวจีนเรียกศาลเจ้านี้ว่า "ตั่วเหล่าเอี้ย" (เทพเจ้าใหญ่) โดยเป็นที่ประดิษฐานรูปเอี่ยนเถี้ยนส่งเต้, รูปเจ้าพ่อเสือ, รูปเจ้าพ่อกวนอู และรูปเจ้าแม่ทับทิม ศาลเจ้าพ่อเสือ ว่ากันว่าตั้งขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) เดิมตั้งอยู่ริมถนนบำรุงเมือง ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) โปรดให้ขยายถนนบำรุงเมือง ได้โปรดให้ย้ายศาลมาไว้ที่ทางสามแพร่งถนนตะนาว จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: เขตพระนครและศาลเจ้าพ่อเสือ พระนคร · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์ไซเบอร์กองทัพบก

"ศูนย์ไซเบอร์กองทัพบก" (ชื่อย่อ: ศซบ.ทบ.) เป็นหน่วยขึ้นตรงของกองทัพบกไทย อยู่ในส่วนบัญชาการ(ฝ่ายกิจการพิเศษ) โดยเมื่อวันที่ 1..59 พล.อ.เฉลิมชัย สิทธิสาท ผู้บัญชาการทหารบก (ผบ.ทบ.) เป็นประธานในพิธีเปิดแพรคลุมป้ายหน่วยอย่างเป็นทางการ ปัจจุบันมี พลตรี มานพ สัมมาขันธ์ ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการศูนย์ไซเบอร์กองทัพบก.

ใหม่!!: เขตพระนครและศูนย์ไซเบอร์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

สภากรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร (ตัวย่อ: ส.ก.) เป็นองค์กรฝ่ายสภาของกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ควบคุม ตรวจสอบและดูแลการบริหารราชการกรุงเทพมหานครของฝ่ายบริหารอันมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นหัวหน้าคณะฯ ซึ่งประธานสภากรุงเทพมหานครคนปัจจุบัน คือ ร้อยตำรวจตรี เกรียงศักดิ์ โลหะชาละ สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร,นาย กิตติ บุศยพลากร สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร เป็นรองประธานสภากรุงเทพมหานคร คนที่ 1 และนาย นิรันดร์ ประดิษฐกุล รองประธานสภากรุงเทพมหานคร คนที่ 2.

ใหม่!!: เขตพระนครและสภากรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

สภากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553

กรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: เขตพระนครและสภากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร มี 33 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 33 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: เขตพระนครและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมกีฬามวยอาชีพแห่งประเทศไทย

มาคมกีฬามวยอาชีพแห่งประเทศไทย เป็นองค์กรบริหารหลักระดับประเทศสำหรับกีฬามวยอาชีพในประเทศไทย องค์กรนี้ทำหน้าที่จัดอันดับนักมวยแชมป์ประเทศไทย และส่งเสริมความร่วมมือระหว่างบุคคลในวงการมวยอีกด้ว.

ใหม่!!: เขตพระนครและสมาคมกีฬามวยอาชีพแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมฮินดูสมาช

มาคมฮินดูสมาช หรือ วัดเทพมณเฑียร เสาชิงช้า เป็นโบสถ์พราหมณ์ลัทธิไวษณพ ตั้งอยู่ด้านบนของโรงเรียนภารตวิทยาลัย ถนนศิริพงษ์ แขวงสำราญราษฎร์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเพื่อเป็นเทวสถานของพระวิษณุและเทพเจ้าในศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: เขตพระนครและสมาคมฮินดูสมาช · ดูเพิ่มเติม »

สมเดช ยนตรกิจ

มเดช ยนตรกิจ หรือ สำรวย ธานี (เกิดเมื่อ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2474 ที่จังหวัดสุพรรณบุรี เสียชีวิตวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ที่โรงพยาบาลทหารผ่านศึก)ปิดตำนาน.

ใหม่!!: เขตพระนครและสมเดช ยนตรกิจ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)

มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ฟื้น พลายภู่ ฉายา ชุตินฺธโร (20 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าคณะใหญ่หนกลาง อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม อดีตแม่กองบาลีสนามหลวง และอดีตเจ้าอาวาสวัดสามพร.

ใหม่!!: เขตพระนครและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: เขตพระนครและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

อมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (3 มีนาคม พ.ศ. 2426-13 มิถุนายน พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุล "จักรพงษ์" เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนนายร้อยมหาดเล็กตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย หลังจากสำเร็จการศึกษา ทรงรับราชการทหารเป็นเสนาธิการทหารบก โดยทรงริเริ่มจัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการ ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบินในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งกองทัพอากาศไทย" และ "พระบิดาแห่งการบินไทย" ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งขึ้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยศจากนายพลเอกเป็นจอมพล และทรงเป็นผู้ที่จัดส่งทหารอาสาเขาทำการรบในสงครามครั้งนั้น ต่อมาสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสด็จทิวงคตด้วยพระโรคพระปับผาสะ ขณะเสด็จไปประทับพักผ่อนพระวรกายที่สิงคโปร์ พระชนม์เพียง 37 พรรษา เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2463.

ใหม่!!: เขตพระนครและสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และโดยพระชนมายุจึงนับเป็นพระกุลเชษฐ์พระองค์ปัจจุบันในพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ขณะที่พระราชสวามีเสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 73, ตอน 76ก, 25 กันยายน..

ใหม่!!: เขตพระนครและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพ็ชรรัตน์ โสภางคทัศนิยลักษณ์ อรรควรราชกุมารี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพ็ชรรัตน์ โสภางคทัศนิยลักษณ์ อรรควรราชกุมารีในพระราชกิจจานุเบกษา ได้มีการสะกดพระนามของพระองค์ได้หลายทาง ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: เขตพระนครและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพ็ชรรัตน์ โสภางคทัศนิยลักษณ์ อรรควรราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

ใหม่!!: เขตพระนครและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สยามรัฐรายวัน

มรัฐ เป็นหนังสือพิมพ์ภาษาไทยรายวัน เสนอข่าวทั่วไป ออกฉบับปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2493 ราคา 50 สตางค์ โดยมี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช และนายสละ ลิขิตกุล เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง และมีคำขวัญประจำหนังสือพิมพ์ว่า "นิคฺคณฺเห นิคฺคหารหํ ปคฺคณฺเห ปคฺคหารหํ" เป็นพุทธศาสนสุภาษิตภาษาบาลีบทหนึ่ง อ่านว่า "นิคคัณนะเห นิคคะหาระหัง ปัคคัณนะเห ปัคคะหาระหัง" แปลว่า "ชมคนที่ควรชม ข่มคนที่ควรข่ม" ถือเป็นหนังสือพิมพ์รายวันที่ยังวางจำหน่ายอยู่จนปัจจุบัน ที่มีอายุยาวนานที...

ใหม่!!: เขตพระนครและสยามรัฐรายวัน · ดูเพิ่มเติม »

สวนรมณีนาถ

วนรมณีนาถ หรือที่นิยมเรียกกันติดปากว่า คุกเก่า เป็นสวนสาธารณะที่จัดสร้างขึ้นใหม่ เพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสที่มีพระชนมายุ 60 พรรษา เมื่อ..

ใหม่!!: เขตพระนครและสวนรมณีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สวนสันติชัยปราการ

วนสันติชัยปราการ เป็นสวนสาธารณะระดับชุมชนเมือง สร้างบนพื้นที่ประมาณ 8 ไร่เศษ บริเวณโดยรอบป้อมพระสุเมรุ ซึ่งตั้งอยู่ที่ช่วงปลายถนนพระอาทิตย์ติดกับแม่น้ำเจ้าพระยาตรงปากคลองบางลำพู สวนแห่งนี้จัดสร้างขึ้นเนื่องในมหามงคลสมัย เฉลิมพระชนมพรรษาครบ 6 รอบของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 โดยภายในบริเวณสวนมี พระที่นั่งสันติชัยปราการ ที่มีตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติมาประดับไว้ พร้อมกับท่ารับเสด็จขึ้นลงเรือพระที่นั่ง เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายเป็นที่จัดพระราชประเพณีต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับแม่น้ำเจ้าพระยา สวนแห่งนี้มีทัศนียภาพของคุ้งแม่น้ำเจ้าพระยาที่สวยงามมาก นับเป็นสวนสาธารณะเพียงไม่กี่แห่งของกรุงเทพมหานคร ที่เปิดโอกาสให้ประชาชนได้ชื่นชมบรรยากาศริมแม่น้ำ และสามารถชมกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคในพระราชพิธีถวายผ้าพระกฐินได้อย่างชัดเจน สวนสาธารณะสันติชัยปราการ นับเป็นตัวอย่างที่ดีของการพัฒนาเมืองเก่าที่มีประวัติศาสตร์และโบราณสถาน นับเป็นนันทนสถานเอนกประสงค์ที่ได้ประโยชน์ใช้สอยทั้งด้านการพักผ่อนหย่อนใจ การศึกษา และการอนุรักษ์ (ป้อมพระสุเมรุ) พื้นที่โดยรอยได้รับการออกแบบให้สามารถใช้เป็นที่ออกกำลังกายได้หลายประเภท เช่น การเต้นแอโรบิค รำมวยจีน สามารถเป็นสถานที่จัดงานของท้องถิ่นและรัฐบาล เช่น พิธีต้อนรับแขกจากต่างประเทศ รวมทั้งด้านวัฒนธรรม เช่น พิธีลอยกระทง สงกรานต์ เป็นต้น นอกจากตัวป้อมแล้ว ในบริเวณสวนแห่งนี้ยังมี “ต้นลำพู” ดั้งเดิมอันเป็นที่มาของชื่อ “บางลำพู” ต้นสุดท้ายที่ยังหลงเหลือไว้ให้ศึกษาอีกด้วย ที่อยู่มานานตั้งแต่ก่อนมีสร้างสวนและพระที่นั่งฯ แต่ทว่าในเหตุการณ์น้ำท่วมเมื่อปี พ.ศ. 2554 ต้นลำพูต้นนี้ได้ตายลง ทางกรุงเทพมหานคร (ก.ท.ม.) ได้มาตัดทิ้งจนเหลือแต่ตอ.

ใหม่!!: เขตพระนครและสวนสันติชัยปราการ · ดูเพิ่มเติม »

สวนนาคราภิรมย์

วนนาคราภิรมย์ เป็นสวนสาธารณะในการกำกับดูแลของกรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553 เป็นสวนสาธารณะขนาดเล็ก มีพื้นที่รวม 3 ไร่ 3 งาน 65.90 ตารางวา ตั้งอยู่บริเวณ ทิศเหนือติดกับสโมสรข้าราชบริพาร ทิศใต้ติดกับถนนท้ายวัง ทิศตะวันออกติดถนนมหาราช ทิศตะวันตกติดแม่น้ำเจ้าพระยา แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยสร้างบนที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และกรมธนารักษ์ โดยแบ่งเป็นของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 2 ไร่ 0 งาน 25.90 ตารางวา และของกรมธนารักษ์ 1 ไร่ 3 งาน 44 ตารางวา โดยได้พัฒนาพื้นที่ตรงนี้เป็นสวนสาธารณะในแนวราบพร้อมห้องน้ำสาธารณะ ไม่มีสิ่งปลูกสร้างขนาดใหญ่เพราะเป็นสถานที่ ๆ ที่มีทำเลสวยงาม อยู่ในเกาะรัตนโกสินทร์ซึ่งแวดล้อมไปด้วยศิลปวัฒนธรรมแห่งยุครัตนโกสินทร์เช่นเดียวกับ สวนสันติชัยปราการ โดยสามารถมองเห็นสถาปัตยกรรมที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์หลายแห่งของทั้งพื้นที่ฝั่งธนบุรีและฝั่งพระนครได้ชัดเจน อาทิ พระปรางค์วัดอรุณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นต้น การออกแบบสวนแห่งนี้ มีพื้นที่กลางสวนปูด้วยสนามหญ้าสีเขียวผืนใหญ่ มีทางเดินเล่นระดับแบ่งสัดส่วน พื้นที่ โดยเฉพาะลานขนาดใหญ่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาที่ตลอดความยาวของพื้นที่ติดกับผืนน้ำเพื่อเปิดรับลมเย็นพัดเข้าสู่ฝั่ง ประดับด้วยแนวกั้นด้วยเสาต้นเตี้ยผูกโยงด้วยโซ่เส้นเดียวจากเสาสู่เสาเป็นจังหวะที่สวยงาม พร้อมม้านั่งสำหรับชมวิวที่จัดวางอยู่เป็นระยะ ๆ จากริมน้ำขึ้นทางเดินเล่นระดับขึ้นเป็นลานกว้าง มีบ่อสระบัวรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาวขนานทั้งสองด้าน ส่วนไม้ประดับเน้นกลุ่มของไม้พุ่มเตี้ยที่ออกแบบจัดวางได้อย่างลงตัว ส่วนที่สูงโปร่งมีเพียงต้นลีลาวดีเพียงไม่กี่ต้นเท่านั้น เพื่อไม่ให้บดบังความงามของสถาปัตยกรรมที่อยู่เบื้องหลัง และเป็นพื้นที่ที่มิให้มีการค้าขายหาบเร่แผงลอย โดยได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "สวนนาคราภิรมย์" มีความหมายถึง " สวนเป็นที่น่ารื่นรมย์ยิ่งของชาวพระนคร" สวนนาคราภิรมย์ มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ในกลางปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและสวนนาคราภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

สวนเสรีไทย

วนเสรีไทย หรือชื่อเดิมว่า สวนน้ำบึงกุ่ม เป็น สวนสาธารณะ ตั้งอยู่ที่ หมู่บ้านสหกรณ์ ถนนเสรีไทย57ถนนเสรีไทย เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ทั้งสิ้นประมาณ 350 ไร่ มีจุดที่น่าสนใจหลายแห่งได้แก.

ใหม่!!: เขตพระนครและสวนเสรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

สะพานช้างโรงสี

ประติมากรรมรูปหัวสุนัขของสะพานช้างโรงสี แยกสะพานช้างโรงสี ซึ่งเป็นต้นถนนบำรุงเมือง สะพานช้างโรงสี เป็นสะพานและทางแยกแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีลักษณะเป็นสี่แยก เป็นจุดเริ่มต้นของถนนบำรุงเมือง ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร สะพานช้างโรงสี เป็นสะพานที่สร้างข้ามคลองคูเมืองเดิม เชื่อมระหว่างถนนราชินี บริเวณหลังกระทรวงกลาโหม กับถนนอัษฎางค์ ด้านหน้ากระทรวงมหาดไทย ในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น สะพานช้างโรงสีเป็นสะพานที่สร้างสำหรับกองทัพช้างศึกที่กลับมาจากการทำศึกสงครามเดินข้ามเพื่อเข้าเขตราชธานี ซึ่งเดิมมีสะพานที่สร้างสำหรับช้างเดินข้ามมีทั้งสิ้น 3 สะพาน คือ สะพานช้างวังหน้า ซึ่งปัจจุบันคือ บริเวณเชิงลาดสะพานพระปิ่นเกล้า, สะพานข้ามคลองคูเมืองเดิมบริเวณปากคลองตลาด ซึ่งปัจจุบัน คือ สะพานเจริญรัช 31 และสะพานช้างโรงสีแห่งนี้ ซึ่งในอดีตตั้งอยู่ใกล้กับโรงสีข้าวของฉางหลวงแห่งพระนคร ผู้คนในสมัยนั้นจึงเรียกกันติดปากว่า "สะพานช้างโรงสี" และได้เป็นสะพานเพียงแห่งเดียวที่ยังคงใช้ชื่อเดิมอยู่ จนเมื่อสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ได้ทรงบูรณะจากเดิมที่เป็นสะพานไม้แผ่นหนาวางพาดเปลี่ยนเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก ราวสะพานทำเป็นลูกแก้วปูนหล่อ ช่วงปลายสะพานทั้งสี่มุมเป็นประติมากรรมปูนปั้นรูปหัวสุนัข มีจารึกคำว่า ศก ๑๒๙ อันหมายถึง ปีจอ และรัตนโกสินทร์ศก 129 (พ.ศ. 2453) ซึ่งเป็นทั้งปีนักษัตรประสูติของพระองค์และตรงกับปีที่บูรณะซ่อมแซมสะพานอีกด้ว.

ใหม่!!: เขตพระนครและสะพานช้างโรงสี · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระพุทธยอดฟ้า

มุมสูงของสะพานพระพุทธยอดฟ้าและสะพานพระปกเกล้า สะพานพระพุทธยอดฟ้า หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (Phra Phuttha Yodfa Bridge, Memorial Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่เชื่อมการคมนาคมติดต่อระหว่างฝั่งพระนครกับฝั่งธนบุรีของกรุงเทพมหานคร ที่ปลายถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กับปลายถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี ปัจจุบันสะพานแห่งนี้อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท.

ใหม่!!: เขตพระนครและสะพานพระพุทธยอดฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระราม 8

นพระราม 8 (Rama VIII Bridge) เป็นสะพานขึงแบบอสมมาตรเสาเดี่ยว ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งที่ 13 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีแนวสายทางเชื่อมต่อกับทางคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณโรงงานสุราบางยี่ขัน (สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และมูลนิธิชัยพัฒนาในปัจจุบัน) เขตบางพลัด บรรจบกับปลายถนนวิสุทธิกษัตริย์ ใกล้กับธนาคารแห่งประเทศไทย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและสะพานพระราม 8 · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระปกเกล้า

นพระปกเกล้า (Phra Pok Klao Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เชื่อมระหว่างถนนจักรเพชร ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร (ฝั่งพระนคร) กับถนนประชาธิปก ในพื้นที่แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน ฝั่งธนบุรี เป็นสะพานคู่ขาไปและขากลับ สร้างเคียงข้างขนานกันกับสะพานพระพุทธยอดฟ้า เนื่องจากการจราจรบริเวณนั้นถึงจุดวิกฤต รัฐบาลจึงเห็นว่าควรมีสะพานอีกแห่งหนึ่งเพื่อช่วยระบายการจราจร โดยได้เว้นที่ช่วงกลางสะพานไว้สำหรับก่อสร้างรถไฟฟ้าลาวาลินด้วย ปัจจุบันสะพานแห่งนี้อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท.

ใหม่!!: เขตพระนครและสะพานพระปกเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพิทยเสถียร

นพิทยเสถียร สะพานพิทยเสถียร เป็นหนึ่งในสะพานที่สร้างข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ในพื้นที่แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร โดยมีประวัติและที่มาควบคู่ไปกับสะพานดำรงสถิต หรือที่นิยมเรียกว่าสะพานเหล็ก ที่ข้ามคลองโอ่งอ่าง ในเขตพระนคร สะพานพิทยเสถียรตั้งอยู่บนถนนเจริญกรุงช่วงที่มาจากเขตบางรัก ในช่วงที่ตัดกับถนนมหาพฤฒาราม ที่มุ่งหน้ามาจากถนนพระราม 4 ใกล้กับแยกไมตรีจิตต์ ในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อโปรดให้ประกาศบอกบุญผู้ที่มีจิตศรัทธา ให้ช่วยกันสร้างสะพานข้ามคูคลองในพระนครนั้น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงค์ (ช่วง บุนนาค) ได้สร้างเป็นสะพานโครงเหล็กคู่กับสะพานดำรงสถิต เรียกว่า "สะพานเหล็กล่าง" (ในขณะที่สะพานดำรงสถิต เรียกว่า "สะพานเหล็กบน") พื้นสะพานข้างล่างมีล้อ และรางเหล็กสำหรับเปิดสะพานให้แยกจากกันได้ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 โปรดให้กรมโยธาธิการสร้างใหม่ในพุทธศักราช 2442 เป็นสะพานโครงเหล็กเปิดได้เช่นเดียวกันกับสะพานดำรงสถิต พระราชทานนามว่า "สะพานพิทยเสถียร" เพื่อเป็นเกียรติแก่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา ซึ่งมีวังที่ประทับอยู่ในบริเวณใกล้เคียง สร้างเสร็จในพุทธศักราช 2443 ในรัชกาลที่ 6 โปรดให้ปรับปรุงสะพานนี้ใหม่ ซึ่งคือสะพานที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน สภาพสะพานเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก มีสถาปัตยกรรมแบบเวนีเชียน มีคานล่างเป็นรูปโค้ง สะพานนี้มีลวดลายตกแต่งประณีตงดงามมาก โดยเฉพาะเสาลูกกรง เสาโคมไฟฟ้าทั้ง 8 ต้น ตลอดจนลายหัวสิงห์ที่ปลายรอดสะพาน ทั้งสะพานพิทยเสถียรและสะพานดำรงสถิต ได้ถูกขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยกรมศิลปากรตั้งแต่พุทธศักราช 2518.

ใหม่!!: เขตพระนครและสะพานพิทยเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

สะพานภาณุพันธุ์

นภาณุพันธุ์ ในกลางปี พ.ศ. 2557 สะพานภาณุพันธุ์ เป็นสะพานแห่งหนึ่ง ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นสะพานที่ข้ามคลองรอบกรุง ช่วงคลองโอ่งอ่างหรือคลองบางลำพู ตั้งอยู่ปลายสุดของถนนเยาวราชตัดกับถนนพีระพงษ์, ถนนจักรเพชรและถนนมหาไชย สะพานภาณุพันธุ์ สร้างขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและสะพานภาณุพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานมอญ (กรุงเทพมหานคร)

นมอญ เป็นสะพานข้ามคลองคูเมืองเดิม เชื่อมถนนเจริญกรุงในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวังและแขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สะพานมอญเดิมเป็นสะพานช้าง (คือสะพานที่สร้างขึ้นอย่างมั่นคงแข็งแรงพอที่ช้างจะเดินข้ามได้) ซึ่งมีลักษณะเป็นสะพานไม้ข้ามคลองคูเมืองเดิมหลังวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม บริเวณนี้เคยเป็นที่อยู่อาศัยของชาวมอญที่อพยพหนีภัยสงครามจากกรุงศรีอยุธยามาพร้อม ๆ กับชาวไทย ครั้งนั้นสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ชาวมอญกลุ่มนี้ตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณคลองคูเมืองเดิมใกล้ป้อมวิชัยประสิทธิ์ ต่อมาพระยาศรีสหเทพ (ทองเพ็ง) เป็นผู้นำรวบรวมแรงงานชาวมอญ ซึ่งก็เป็นบรรดาญาติ ๆ และข้าทาสบริวารทั้งหลายที่อาศัยอยู่บริเวณนั้นสร้างสะพานข้ามคลองขึ้น จึงได้เรียกกันต่อมาว่า สะพานมอญ ในชั้นแรกสร้างด้วยไม้ธรรมดา ต่อมาเกิดเหตุเพลิงไหม้จึงได้มีการก่อสร้างใหม่ก่อด้วยอิฐถือปูนดังในยุคปัจจุบัน ภายหลังทางการได้นำชื่อสะพานมาตั้งเป็นชื่อทางแยกบริเวณที่ถนนเจริญกรุงตัดกับถนนอัษฎางค์ ระหว่างถนนสนามไชยกับถนนบ้านหม้อ ติดกับคลองคูเมืองเดิม และอยู่ใกล้กับสวนสราญรม.

ใหม่!!: เขตพระนครและสะพานมอญ (กรุงเทพมหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สะพานมัฆวานรังสรรค์

นมัฆวานรังสรรค์ เป็นสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ที่สร้างขึ้นพร้อมกับการสร้างถนนราชดำเนินนอก ซึ่งเป็นถนนขนาดใหญ่ แบบที่เรียกว่า Avenue ของทวีปยุโรป อยู่ในพื้นที่เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ผู้ออกแบบคือนายการ์โล อัลเลกรี นายช่างชาวอิตาลี สร้างตามสถาปัตยกรรมอิตาลีและสเปน ใช้เวลา 3 ปี ลักษณะเป็นสะพานโครงสร้างคานเหล็กพื้นคอนกรีต ส่วนประดับคือรางสะพานที่เป็นเหล็กหล่อและดวงตรารูปช้างเอราวัณ ที่กลางสะพานมีเสาหินอ่อน มุมสะพานรองรับโคมไฟสำริด ผนังเชิงลาดสะพานประดับด้วยหินอ่อน สะพานแห่งนี้ได้ชื่อว่าเป็นสะพานที่สวยงามสะพานหนึ่งในกรุงเทพฯ รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดเมื่อ..

ใหม่!!: เขตพระนครและสะพานมัฆวานรังสรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานวิศุกรรมนฤมาณ

นวิศุกรรมนฤมาณ สะพานวิศุกรรมนฤมาณ หรือ สะพานวิศสุกรรมนฤมาณ สะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษมแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงบางขุนพรหม เขตพระนคร และแขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นสะพานเชื่อมระหว่างถนนนครราชสีมาและถนนประชาธิปไตย สะพานวิศุกรรมนฤมาณเป็นหนึ่งในห้าสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น และได้ชื่อที่คล้องจองกัน คือ สะพานเทเวศรนฤมิตร, สะพานวิศุกรรมนฤมาณ, สะพานมัฆวานรังสรรค์, สะพานเทวกรรมรังรักษ์ และสะพานจตุรภักตร์รังสฤษดิ์ โดยพระราชเลขานุการซึ่งเชี่ยวชาญภาษามคธ มีความหมายโดยรวมว่า "สะพานที่เทพยดาทรงสร้าง" ซึ่งในส่วนของสะพานวิศุกรรมนฤมาณนั้นมีความหมายว่า "สะพานที่พระวิสสุกรรมทรงสร้าง" สะพานวิศุกรรมนฤมาณ เดิมเป็นสะพานโครงเหล็กพื้นไม้ มีราวสะพานเป็นรูปกรงเหล็กหล่อ ต่อมาได้มีการปรับปรุงใหม่เป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กขนาดกว้างกว่าเดิม ลักษณะราวสะพานเป็นรูปกรงคอนกรีตโปร่ง มีโค้งออกด้านข้าง ได้รับการบูรณะในปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและสะพานวิศุกรรมนฤมาณ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานสมมตอมรมารค

นสมมตอมรมารค สะพานสมมตอมรมารค (/สมมดอะมอนมาก/) เป็นสะพานข้ามคลองรอบกรุงในส่วนของคลองบางลำพู ตั้งอยู่บนถนนบำรุงเมือง ในพื้นที่แขวงสำราญราษฎร์ เขตพระนคร และแขวงบ้านบาตร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นสะพานไม้ที่มีโครงเหล็กรองรับพื้นที่ชักเลื่อนออกจากกัน มีชื่อเรียกโดยผู้คนที่อาศัยอยู่แถบนี้ว่า "สะพานเหล็กประตูผี" เนื่องจากตั้งอยู่ด้านทิศตะวันตกของประตูพระบรมมหาราชวัง หรือที่นิยมเรียกกันว่า "ประตูผี" อันเป็นทางที่ใช้สำหรับขนถ่ายศพของผู้เสียชีวิตในพระบรมมหาราชวังออกมาปลงศพด้านนอก ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สะพานแห่งนี้มีความทรุดโทรมมาก จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้มีการบูรณะใหม่ พร้อม ๆ กับการสร้างถนนและสะพานอีกหลายแห่งเพื่อรองรับความเจริญของบ้านเมือง โดยเป็นสะพานปูนปั้นเสริมโครงเหล็กเหมือนแบบเก่า และพระราชทานชื่อให้ว่า "สะพานสมมตอมรมารค" เมื่อแล้วเสร็จเมื่อปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและสะพานสมมตอมรมารค · ดูเพิ่มเติม »

สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า

มุมมองแม่น้ำเจ้าพระยาจากสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า (Somdet Phra Pinklao Bridge) หรือที่นิยมเรียกกันว่า สะพานปิ่นเกล้า เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้าระหว่างเขตพระนคร (ฝั่งพระนคร) กับเขตบางกอกน้อย (ฝั่งธนบุรี) กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันอยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท สะพานพระปิ่นเกล้าเป็นสะพานแบบคอนกรีตอัดแรงชนิดต่อเนื่อง มีจำนวนช่องทางรถวิ่ง 6 ช่องทางจราจร ความกว้างของสะพาน 26.60 เมตร ความยาว 622 เมตร สร้างขึ้นเพื่อผ่อนคลายความคับคั่งของการจราจร โดยได้รับความร่วมมือจากรัฐบาลประเทศญี่ปุ่น ในการสำรวจออกแบบสะพาน และให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่รัฐบาลไทย โดยให้เงินกู้สมทบกับเงินงบประมาณของรัฐบาลไทย เริ่มลงมือก่อสร้างเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2514 และสร้างเสร็จทำพิธีเปิดการจราจรเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2516 โดยได้รับพระราชทานนามว่า "สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า" เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากพื้นที่ของสะพานทางฝั่งพระนครนั้นเคยเป็นเขตของพระราชวังบวรสถานมงคล.

ใหม่!!: เขตพระนครและสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

สะพานหก

ทความนี้หมายถึงสะพานหกในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวัง และแขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ในความหมายอื่น ดูที่: สะพานยก สะพานหก สะพานหก เป็นสะพานที่สร้างข้ามคลองคูเมืองเดิม หรือคลองหลอดวัดราชนัดดา ตั้งอยู่ในแขวงพระบรมมหาราชวังและแขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ชื่อสะพานเรียกตามลักษณะซึ่งนำแบบมาจากสะพานในเมืองวิลันดา ประเทศเนเธอร์แลนด์ สร้างครั้งรัชกาลที่ 4 ต่อเนื่องถึงรัชกาลที่ 5 มีลักษณะพิเศษ คือ สามารถยกหรือหกให้เรือผ่านได้ โดยมีสะพานลักษณะเช่นนี้ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์มากด้วยกันถึง 8 แห่ง ทั้งในฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี คือ.

ใหม่!!: เขตพระนครและสะพานหก · ดูเพิ่มเติม »

สะพานผ่านฟ้าลีลาศ

นผ่านฟ้าลีลาศ เป็นสะพานข้ามคลองรอบกรุง ตอนที่เรียกว่าคลองบางลำพู เชื่อมถนนราชดำเนินกลางและถนนราชดำเนินนอก บริเวณใกล้กับป้อมมหากาฬ ในพื้นที่เขตพระนครและเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร สะพานผ่านฟ้าลีลาศสร้างในปีใดไม่ปรากฏหลักฐาน แต่สันนิษฐานว่าน่าจะสร้างพร้อมกับถนน เดิมเป็นสะพานโครงเหล็ก ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานใหม่ให้มีลักษณะใหม่และงดงามขึ้น และพระราชทานนามว่าสะพานผ่านฟ้าลีลาศ แม้ในสมัยต่อมาจะมีการปรับปรุงขยายสะพานผ่านฟ้าลีลาศอีกหลายครั้ง เพื่อรองรับกับจำนวนยวดยานพาหนะที่สัญจรผ่านไปมา แต่ก็ยังรักษาลักษณะศิลปกรรมเดิมไว้ให้มากที่สุด สะพานผ่านฟ้าลีลาศเป็นสะพานที่สวยงาม ปลายสะพานทั้ง 2 ฝั่งมีเสาหินอ่อนประดับด้วยเครื่องสำริดและมีลวดลายสลักที่เสาหินอ่อน มีลักษณะงดงามมาก เดิมบริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศยังเคยเป็นที่ทำการสอนของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและสะพานผ่านฟ้าลีลาศ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานผ่านพิภพลีลา

นผ่านพิภพลีลา เป็นสะพานข้ามคลองคูเมืองเดิม เชื่อมระหว่างถนนราชดำเนินในและถนนราชดำเนินกลาง บริเวณใกล้สนามหลวง ในพื้นที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สะพานผ่านพิภพลีลาในอดีต สะพานผ่านพิภพลีลาเดิมเป็นสะพานโค้งมีโครงเหล็ก ใน..

ใหม่!!: เขตพระนครและสะพานผ่านพิภพลีลา · ดูเพิ่มเติม »

สะพานเหล็ก

นดำรงสถิตในปี พ.ศ. 2545 สะพานเหล็ก คือ สะพานเหล็กข้ามคลองรอบกรุง บริเวณคลองโอ่งอ่าง ของกรุงเทพมหานคร บนถนนเจริญกรุง ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร มีชื่อเรียกอย่างทางการว่า "สะพานดำรงสถิต" ในปีพุทธศักราช 2438 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ขยายถนนเจริญกรุงและรื้อสร้างสะพานเหล็กใหม่เป็นสะพานโครงเหล็กเปิดได้ การก่อสร้างสะพานเหล็กบนทำให้ต้องมีการย้ายประตูและกำแพงวังที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ริมถนนเจริญกรุงบางส่วน จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "สะพานดำรงสถิต" เพื่อเป็นเกียรติแด่สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ สำหรับสะพานเหล็กล่าง พระราชทานนามว่า "สะพานพิทยเสถียร" เพื่อเป็นเกียรติแก่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดาซึ่งมีวังที่ประทับตั้งอยู่ใกล้กับสะพาน โดยทั้ง 2 สะพานนี้ เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ในฐานะแม่กองจัดสร้าง สิ้นเงินไปทั้งสิ้น 23,200 บาท ในปีพุทธศักราช 2518 ทั้ง 2 สะพานได้ถูกขึ้นทะเบียนโดยกรมศิลปากรให้เป็นโบราณสถานของชาติ บริเวณเชิงสะพานเหล็ก และรวมไปถึงบริเวณใกล้เคียงคือ คลองถม เคยเป็นแหล่งค้าขายสินค้าที่คับคังมาก โดยเฉพาะในวันหยุดสัปดาห์ มีสินค้าหลากหลายประเภท เช่น วิดีโอเกม, โมเดลตุ๊กตา, เครื่องใช้ไฟฟ้า, ซีดี และสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์รวมถึงสื่อลามกอนาจารอีกจำนวนมาก จนกลายเป็นแหล่งการค้าที่เป็นที่รู้จักกันดี แต่ทว่าในช่วงกลางปีค่อนไปทางปลายปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและสะพานเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

สะพานเทเวศรนฤมิตร

นเทเวศรนฤมิตร เป็นสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ตั้งอยู่บนถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นสะพานที่สร้างขึ้นโดยพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสงค์สร้างสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษมทั้งหมดห้าสะพานและทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามให้มีชื่อคล้องจองกันทั้งหมด โดยทรงปรึกษากับพระราชเลขานุการที่เชี่ยวชาญภาษามคธ ได้นามเป็นมงคลคล้องจองกัน โดยมีความหมายโดยรวมว่า "สะพานที่เทวดานฤมิตร" คือ สะพานเทเศวรนฤมิตร, สะพานวิศสุกรรมนฤมาณ, สะพานมัฆวานรังสรรค์, สะพานเทวกรรมรังรักษ์ และสะพานจตุรภักตร์รังสฤษดิ์ โดยในส่วนของสะพานเทเวศรนฤมิตร นั้นมีความหมายถึง "สะพานที่เทวดาผู้เป็นใหญ่สร้าง" หรือ "สะพานที่พระอิศวรเป็นผู้สร้าง" เมื่อสร้างเสร็จแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: เขตพระนครและสะพานเทเวศรนฤมิตร · ดูเพิ่มเติม »

สะพานเฉลิมวันชาติ

นเฉลิมวันชาติ หรือที่นิยมเรียกกันว่า สะพานวันชาติ เป็นสะพานแห่งหนึ่งในพื้นที่แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นสะพานที่ข้ามคลองรอบกรุง ในส่วนของคลองบางลำพู สร้างขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและสะพานเฉลิมวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สามารถ ศรแดง

มารถ ศรแดง หรือนายสามารถ กล้าเชิงรบ (ชื่อเดิม นายบุญแต่ง ทองกระโทก) ชาวจังหวัดนครราชสีมา เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: เขตพระนครและสามารถ ศรแดง · ดูเพิ่มเติม »

สารคดี (นิตยสาร)

นิตยสารสารคดี เป็นนิตยสารของไทย ที่มุ่งเน้นบทความแนวสารคดีโดยเฉพาะ ครอบคลุมทั้งเรื่องธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ บุคคล ชีวิต ศิลปวัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยเริ่มวางแผงฉบับปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528 โดยอยู่ในเครือของ บริษัท วิริยะธุรกิจ จำกัด โดยมีจุดเริ่มต้นจาก คุณสุชาดา จักพิสุทธิ์ บรรณาธิการคนแรก คุณจำนงค์ ศรีนวล บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ คุณสกล เกษมพันธ์ ช่างภาพสารคดี คุณสุดารา สุจฉายา และคุณวันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์เป็นนักเขียนรุ่นบุกเบิก โดยมีความคิดทำหนังสือที่มีสาระความรู้หลากหลาย ให้ความสำคัญกับการถ่ายภาพและการออกแบบรูปเล่มเป็นพิเศษ ปัจจุบันมีคุณสุวัฒน์ อัศวไชยชาญ เป็นบรรณาธิการบริหาร สำนักงานนิตยสารสารคดีตั้งอยู่ที่ บริษัทวิริยะธุรกิจ 28,30 ซอยวัดปรินายก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ.

ใหม่!!: เขตพระนครและสารคดี (นิตยสาร) · ดูเพิ่มเติม »

สำราญราษฎร์

ำราญราษฎร์ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: เขตพระนครและสำราญราษฎร์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักพระราชวัง

ำนักพระราชวัง (Bureau of the Royal Household; BRH) เป็นหน่วยงานของทางราชการมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลและรับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชวัง ตลอดจนดูแลรักษาทรัพย์สินและผลประโยชน์ในองค์ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้บังคับบัญชาสำนักพระราชวัง และเลขาธิการพระราชวังเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชกิจราชการ.

ใหม่!!: เขตพระนครและสำนักพระราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

สำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน

ำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน เป็นหน่วยงานราชการในสังกัดกรมธนารักษ์ ที่เกิดจากการปรับโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของกรมธนารักษ์เมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยแบ่งแยกออกมาจาก “สำนักบริหารเงินตรา” เนื่องจากลักษณะและภารกิจในความดูแลรับผิดชอบที่แตกต่างกัน โดยสำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ การเก็บรักษา และจัดทำทะเบียนทรัพย์สิน การจัดแสดงและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน อาทิ เครื่องยศ ต้นเค้าเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตลอดจนสิ่งของเครื่องใช้ที่เกี่ยวเนื่องในองค์พระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ ขุนนาง หรือข้าราชการระดับสูง ซึ่งถือเป็นทรัพย์สินที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติที่ตกทอดมาแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งจำหน่ายเหรียญและผลิตภัณฑ์เหรียญ เพื่อส่งเสริมการสะสมเงินตร.

ใหม่!!: เขตพระนครและสำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย

ำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย เป็นส่วนราชการที่มิได้มีฐานะเป็นกรมเพราะไม่มีกฎหมายบัญญัติให้เป็นกรม อยู่ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย เดิมมีชื่อว่า "สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรี" ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2476 เมื่อครั้งก่อตั้งกระทรวงมหาดไทย มีการจัดตั้ง "กองมหาดไทยกลาง" ทำหน้าที่ทั่วไปซึ่งมิใช่งานของกรมใดกรมหนึ่งในกระทรวง หรือเปรียบเสมือนกับสำนักงานรัฐมนตรี และสำนักงานปลัดกระทรวงในปัจจุบัน จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: เขตพระนครและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (Office of the Council of State) เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการกฤษฎีกา สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี โดยเป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: เขตพระนครและสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานระดับกรม สังกัดกระทรวงมหาดไทย ดำเนินงานเกี่ยวกับราชการประจำทั่วไปของกระทรวง ที่ไม่เป็นหน้าที่ของกรมใดกรมหนึ่ง กำกับ เร่งรัด การปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวงให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวง จัดทำแผนแม่บท งานการข่าว งานประชาสัมพันธ์ การพัฒนาระบบงานและบุคลากร การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงงานในสังกัดกระทรวง งานงบประมาณ การตรวจราชการและเรื่องราวร้องทุกข์ งานดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง การทำนิติกรรม สัญญา งานคดี งานการต่างประเทศและกิจการผู้อพยพ งานการสื่อสาร และงานประสานราชการ.

ใหม่!!: เขตพระนครและสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง

ำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง (Central Dharma Testing Service Headquarters of Thailand.) คู่กับสำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวงของคณะสงฆ์ไทย เป็นหน่วยงานภายใต้การดูแลของมหาเถรสมาคมซึ่งอยู่ในความอุปถัมภ์ของรัฐบาลไทย มีหน้าที่หลักคือดำเนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษา ชั้นตรี โท เอกของชาติ และจัดให้มีการสอบไล่วัดผลประจำปีตามหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษาที่เปิดสอนไปทั่วราชอาณาจักรไทยและต่างประเท.

ใหม่!!: เขตพระนครและสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สำเพ็ง

ตลาดสำเพ็งในปัจจุบัน แผนที่ของเขตสัมพันธวงศ์ (สำเพ็งปรากฏอยู่ในชื่อ Wanit 1 Road หรือ Sampheng Road ซึ่งเริ่มมาจากย่านตลาดน้อย ในขณะที่ส่วนที่เป็นย่านการค้าที่คึกคัก จะเริ่มต้นจากบริเวณถนนราชวงศ์ไปจนสิ้นสุดที่ฝั่งถนนจักรเพชร ในเขตพระนคร) สำเพ็ง หรือ สามเพ็ง (อักษรโรมัน: Sampheng) เป็นย่านการค้าแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในแขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ อยู่ใกล้กับย่านเยาวราช, ถนนราชวงศ์ และต่อเนื่องไปถึงสะพานหัน, พาหุรัดและวังบูรพา ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร ทั้งนี้สำเพ็งในปัจจุบัน รู้จักกันดีในชื่ออย่างเป็นทางการว่า ซอยวานิช 1 และในช่วงระหว่างสะพานหันถึงถนนจักรวรรดิเรียกว่า ตรอกหัวเม็ด สำเพ็งเริ่มต้นจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช องค์ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ผู้ทรงสถาปนาสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นที่ฝั่งขวาของแม่น้ำเจ้าพระยา ให้เป็นราชธานีแห่งใหม่แทนที่กรุงธนบุรี ในปี.ศ 2325 โดยมีพระบรมมหาราชวังตั้งขึ้นในพื้นที่ ๆ แต่เดิมเป็นที่ตั้งของชุมชนชาวจีน และโปรดให้ย้ายชุมชนชาวจีนออกไปตั้งถิ่นฐานใหม่นอกประตูพระนครทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ขนานไปกับลำน้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่คลองวัดสามปลื้ม (วัดจักรวรรดิราชาวาส) ไปจนถึงคลองสามเพ็ง หรือสำเพ็ง ที่มาของชื่อ "สำเพ็ง" นั้นไม่มีใครทราบว่ามีความหมายว่ากระไร หรือมาจากคำว่าอะไร ได้มีผู้สันนิษฐานไปต่าง ๆ นานา บ้างก็ว่ามาจากคำว่า "สามแพร่ง" หรือมาคำจีนแต้จิ๋วว่า "สามเผง" (อักษรจีน: 三聘; จีนกลางออกเสียง ซั้นผิ่ง) แปลตรงตัวได้ว่า "ศานติทั้งสาม" ซึ่งก็ไม่มีใครทราบความหมายหรือคำแปลที่แท้จริง หรือบ้างก็ว่ามาจากคำว่า "สามปลื้ม" ก็มี ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว กิจการค้าของชาวจีนที่ได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในย่านสำเพ็งเติบโตขึ้นเป็นลำดับ ชาวตะวันตกที่เข้ามาติดต่อการค้ากับสยามประเทศ เรียกขานย่านสำเพ็งว่า "ตลาดจีน" หรือ "Chinese Bazaar" ในบันทึกของมิชชันนารีที่ได้เข้ามาเยี่ยมดูย่านสำเพ็งในปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและสำเพ็ง · ดูเพิ่มเติม »

สืบสุด ดุริยประณีต

ืบสุด ดุริยประณีต เป็นบุตรชายของ นายศุข และนางแถม ดุริยประณีต เกิดเมื่อวันที่ 15 มกราคม..

ใหม่!!: เขตพระนครและสืบสุด ดุริยประณีต · ดูเพิ่มเติม »

สุจาริณี วิวัชรวงศ์

ริณี วิวัชรวงศ์ (ชื่อเล่น: เบ๊นซ์; 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2505) หรือเดิมคือ พันตรีหญิง หม่อมสุจาริณี มหิดล ณ อยุธยา เคยเป็นหม่อมในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ขณะดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร และเป็นอดีตนักแสดงชาวไทย มีชื่อแรกเกิดคือ ยุวธิดา ผลประเสริฐ และเคยใช้ชื่อในการแสดงว่า ยุวธิดา สุรัสวดี มีผลงานการแสดงภาพยนตร์และละครจำนวนหนึ่งช่วงปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและสุจาริณี วิวัชรวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุจินต์ จินายน

ตราจารย์ ดร.สุจินต์ จินายน ศาสตราจารย์ สุจินต์ จินายน (12 เมษายน พ.ศ. 2478 -) ศาสตราจารย์สาขาพันธุศาสตร์ และการปรับปรุงพันธุ์พืช ได้รับการคัดเลือกให้เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเกษตรศาสตร์ และชีววิทยา เมื่อปี พ.ศ. 2533 เคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและสุจินต์ จินายน · ดูเพิ่มเติม »

สี่กั๊กพระยาศรี

ี่กั๊กพระยาศรี หรืออาจเรียกว่า สี่กั๊ก เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนเจริญกรุง ถนนเฟื่องนคร และถนนบ้านหม้อ ในสมัยรัชกาลที่ 4 บริเวณบ้านของพระยาศรีสหเทพ (ทองเพ็ง) อยู่เชิงสะพานมอญ สี่กั๊กพระยาศรีในสมัยรัชกาลที่ 5 สี่แยกนี้ได้ชื่อมาจากคำว่า กั๊ก (角; จีนกลางออกเสียงว่า เจียว) ซึ่งแปลว่า แยก หรือ มุม ในภาษาจีนฮกเกี้ยนและแต้จิ๋ว เจ๊กลากรถในสมัยนั้นจะเรียกสามแยกว่า ซากั๊ก และสี่แยกว่า สี่กั๊ก และเมื่อเรียกรถมาบริเวณนี้จึงเรียกว่าไป สี่กั๊กบ้านพระยาศรี มาจนถึงปัจจุบัน สี่กั๊กพระยาศรี ยังเป็นสถานที่ตั้งของร้านกาแฟแห่งแรกในประเทศไทยอีกด้วย ชื่อร้าน "Red Cross Tea Room" โดย แหม่มโคล (เอ็ดนา เอส. โคล์) ผู้ก่อตั้งโรงเรียนวังหลัง (โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย) โดยเปิดขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: เขตพระนครและสี่กั๊กพระยาศรี · ดูเพิ่มเติม »

สี่กั๊กเสาชิงช้า

ี่กั๊กเสาชิงช้า เป็นสี่แยกหนึ่งในพื้นที่แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดกันระหว่างถนนตะนาว, ถนนบำรุงเมือง และถนนเฟื่องนคร โดยเป็นจุดเริ่มของถนนตะนาว และอยู่ใกล้กับแพร่งภูธร ซึ่งบริเวณนี้จะสามารถมองเห็นเสาชิงช้าได้อย่างชัดเจนจากทางด้านถนนบำรุงเมือง ชื่อ "สี่กั๊ก" นั้นมาจากภาษาแต้จิ๋วจากคำที่ออกเสียงว่า ซี้กั๊ก (อักษรจีน: 四角; จีนกลางออกเสียง ซื่อเจี่ยว) มีความหมายถึง "สี่แยก" โดยเป็นคำเรียกขานของชาวจีนที่ลากรถเจ๊กในอดีต ใช้เรียกสถานที่แห่งนี้เมื่อลากรถผ่าน เช่นเดียวกับสี่กั๊กพระยาศรี ที่อยู่ใกล้เคียงออกไปทางถนนเฟื่องนคร ทางทิศใต้ ซึ่งจนถึงปัจจุบันทางแยกที่ยังคงเรียกว่า "สี่กั๊ก" เหลือเพียงแค่สองที่นี้เท่านั้น ในอดีต ที่ยังคงมีพระราชพิธีตรียัมปวาย หรือพิธีโล้ชิงช้า ที่เสาชิงช้า ขบวนของพิธีก็ตั้งต้นขึ้นที่นี่ อาคารบ้านเรือนของบริเวณสี่กั๊กเสาชิงช้า โดยเฉพาะที่ถนนบำรุงเมืองนั้นจะเป็นอาคารพาณิชย์ 2 ชั้น ที่มีสถาปัตยกรรมแบบจีน-โปรตุเกส โดยลอกแบบมาจากประเทศสิงคโปร์ ตั้งแต่รัชสมัยรัชกาลที่ 6 มีความสวยงาม และมีจุดเด่นคือ ไม่มีบาทวิถี หรือฟุตบาท เหมือนเช่นถนนอื่น ๆ ส่วนบริเวณสี่กั๊กเสาชิงช้านั้น จะมีลักษณะเป็นวงเวียน ตัวอาคารที่อยู่ที่นี่จึงถูกออกแบบให้มีความโค้งตามไปด้วยเช่นกัน ปัจจุบัน บริเวณสี่กั๊กเสาชิงช้าเป็นแหล่งรวมของร้านค้าเครื่องสังฆภัณฑ์ ตลอดจนพระพุทธรูปและเทวรูปต่าง ๆ ซึ่งเปิดกันมาอย่างยาวนานตั้งแต่ในอดีต และยังมีร้านอาหาร, ตัวแทนจำหน่ายนาฬิกาโรเล็กซ์ และเป็นบริเวณด้านหลังของกระทรวงมหาดไทย รวมถึงร้านจำหน่ายชาที่นำเข้าจากประเทศจีนอีกด้ว.

ใหม่!!: เขตพระนครและสี่กั๊กเสาชิงช้า · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ

ตราสัญลักษณ์ สพร. สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.) (อังกฤษ: The National Discovery Museum Institute - NDMI) ตั้งอยู่ที่อาคารกระทรวงพาณิชย์ (เดิม) ตั้งอยู่บนถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยู่ภายใต้สังกัดสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) (Office of Knowledge Management and Development) หรือ OKMD อันเป็นองค์การมหาชนที่การสนับสนุนจากรัฐบาลในสมั.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร สพร.

ใหม่!!: เขตพระนครและสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ันภาษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหน่วยงานภายในของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่มีสถานะเทียบเท่าคณะ ตั้งขึ้นเพื่อให้การศึกษา ฝึกอบรม ค้นคว้า วิจัยและให้บริการด้านภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ.

ใหม่!!: เขตพระนครและสถาบันภาษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ันทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สทม.) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2524 เป็นสถาบันในกลุ่มวิจัยเฉพาะด้านและฝึกอบรมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีบทบาท ภาระหน้าที่ ในการดำเนินการวิจัย การฝึกอบรม สัมมนา เผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการ และผลงานวิจัย รวมทั้ง การให้บริการด้านการให้คำปรึกษาแนะนำแก่หน่วยงานต่าง ๆ โดยเน้นถึงปัญหาทางด้านทรัพยากรมนุษย์ ผู้อำนวยการสถาบันคนปัจจุบัน คือ ร.ดร.ไตรรัตน์ โภคพลากรณ.

ใหม่!!: เขตพระนครและสถาบันทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเกอเธ่

ันเกอเธ่ (Goethe-Institut) เป็นองค์กรทางด้านวัฒนธรรมที่ไม่แสวงหาผลกำไรของเยอรมนีที่มีสำนักงานอยู่ทั่วโลก มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาเยอรมัน สนับสนุนกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรม และยังเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประเทศเยอรมนีทั้งทางด้วยวัฒนธรรม สังคม และการเมืองhttp://www.goethe.de/ins/th/ban/uun/thindex.htm.

ใหม่!!: เขตพระนครและสถาบันเกอเธ่ · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอ

หาสน์ที่ต่อเติมมุขด้านหน้าจากเล่ม 4 ของ "หนังสือสี่เล่มเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม" (I Quattro Libri dell'Architettura) ที่พิมพ์ในลอนดอนในปี ค.ศ. 1736 อาคารกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นอาคารในรูปแบบปัลลาดีโอ สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอ (Palladian architecture) หมายถึงลักษณะของสถาปัตยกรรมตะวันตกที่มาจากการออกแบบโดยอันเดรอา ปัลลาดีโอ (ค.ศ. 1508-1580) สถาปนิกชาวเวนิส คำว่า "แบบปัลลาดีโอ" โดยทั่วไปแล้วมักจะหมายถึงลักษณะของสิ่งก่อสร้างที่ได้รับอิทธิพลมาจากการออกแบบของปัลลาดีโอเอง สิ่งก่อสร้างในปัจจุบันที่จัดอยู่ในกลุ่มสถาปัตยกรรมลักษณะนี้วิวัฒนาการมาจากปรัชญาการออกแบบของปัลลาดีโอ งานของปัลลาดีโอมีพื้นฐานมาจากความสมมาตร ความมีทัศนมิติ และคุณค่าของสถาปัตยกรรมการก่อสร้างวัดของกรีกและโรมันโบราณ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 การตีความหมายของสถาปัตยกรรมคลาสสิกกลายมาเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่เรียกว่า "คตินิยมปัลลาดีโอ" (Palladianism) ลักษณะนี้วิวัฒนาการต่อมาจนกระทั่งถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 "คตินิยมปัลลาดีโอ" กลายเป็นนิยมกันอยู่ระยะหนึ่งในบริเตนระหว่างกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 เมื่อมาถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ลักษณะนี้ก็หวนกลับมาเป็นที่นิยมไม่แต่ในอังกฤษแต่ยังในหลายประเทศทางตอนเหนือของยุโรปด้วย ต่อมาก็ลดความนิยมลงในยุโรป แต่ไปนิยมกันในทวีปอเมริกาเหนือโดยเฉพาะในสิ่งก่อสร้างที่ออกแบบโดยทอมัส เจฟเฟอร์สัน สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอยังคงเป็นที่นิยมกันทั่วไปในยุโรปตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 มักจะในการออกแบบสิ่งก่อสร้างทางราชการหรือทางสารธารณะ ตั้งแต่ครึ่งหลังของ คริสต์ศตวรรษที่ 19 ก็มีสถาปัตยกรรมการฟื้นฟูกอทิกเข้ามาเป็นคู่แข่ง ลักษณะหลังนี้สนับสนุนโดยสถาปนิกเช่นออกัสตัส พิวจิน (Augustus Pugin) ที่คำนึงถึงที่มาจากวัดโบราณที่ถือว่าเป็นลักษณะ "นอกศาสนา" เกินไปสำหรับผู้นับถือโปรเตสแตนต์และแองโกล-คาทอลิก แต่กระนั้นสถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอก็ยังคงเป็นที่นิยมและวิวัฒนาการตลอดมา ซึ่งจะเห็นได้จากการการออกแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในปัจจุบันในลักษณะหน้าจั่ว ความสมมาตร และความได้สัดส่วน สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอมีลักษณะหนา ดูทึบทึม อาคารหลายแห่งในประเทศไทยที่มีสถาปัตยกรรมรูปแบบนี้ ได้แก่ กระทรวงกลาโหม, หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน, อาคารศุลกสถาน เป็นต้น.

ใหม่!!: เขตพระนครและสถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสามยอด

นีสามยอด (Sam Yot Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีในระบบใต้ดินที่อยู่ภายในอาณาบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์รอบนอก ในแนวถนนเจริญกรุงตัดกับถนนมหาไชยที่แยกสามยอด จนถึงถนนเจริญกรุงตัดกับถนนอุณากรรณและถนนบูรพาที่แยกอุณากรรณ ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและสถานีสามยอด · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสนามหลวง (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)

นีสนามหลวง เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการวางแผนและออกแบบ โดยจะเป็นสถานีระบบใต้ดิน มีแนวเส้นทางผ่านใจกลางพื้นที่อนุรักษ์เกาะกรุงรัตนโกสินทร์ ในกรุงเทพมหานครก่อนลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณท่าช้างวังหน้าไปยังฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: เขตพระนครและสถานีสนามหลวง (รถไฟฟ้าสายสีส้ม) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสนามไชย

นีสนามไชย เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีในระบบใต้ดินที่อยู่ใจกลางพื้นที่อนุรักษ์เกาะรัตนโกสินทร์ ในแนวถนนสนามไชย กรุงเทพมหานคร บริเวณวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นส่วนต่อขยายของเส้นทางรถไฟฟ้าใต้ดินจากสถานีหัวลำโพง ผ่านพื้นที่เมืองเก่าก่อนลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณปากคลองตลาด ไปยังฝั่งธนบุรี และยกระดับขึ้นสู่สถานีท่าพระต่อไป.

ใหม่!!: เขตพระนครและสถานีสนามไชย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมมหาดไทย

นีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมมหาดไทย เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดามเทียม ของกระทรวงมหาดไทย จัดตั้งขึ้นในสมัยที่นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เพื่อเป็นช่องทางในการสื่อสารกับประชาชนทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค เริ่มออกอากาศครั้งแรก เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: เขตพระนครและสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมมหาดไทย · ดูเพิ่มเติม »

หมู่พระมหาปราสาท

หมู่พระมหาปราสาท เป็นหมู่พระที่นั่งภายในพระบรมมหาราชวัง โดยก่อสร้างลักษณะสถาปัตยกรรมไทยแท้ มีทั้งองค์พระมหาปราสาท พระราชมณเฑียร พระปรัศว์ เรือนจันทร์ครบถ้วน ฝีมือก่อสร้างประณีตวิจิตรงดงาม เป็นสิ่งก่อสร้างที่ล้ำค่าอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติ หมู่พระมหาปราสาทนี้ มีประวัติศาสตร์ที่แดงขนบธรรมเนียมประเพณี เกี่ยวกับองค์สมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้ายาวนาน.

ใหม่!!: เขตพระนครและหมู่พระมหาปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นหมู่พระที่นั่งที่อยู่ระหว่างพระมหามณเฑียรและหมู่พระมหาปราสาทภายในพระบรมมหาราชวัง ทอดตัวจากทิศเหนือไปทิศใต้ ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นกลางและเขตพระราชฐานชั้นใน สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อใช้เป็นสถานที่ออกว่าราชการและเป็นที่ประทับส่วนพระองค์ เดิมประกอบด้วยหมู่พระที่นั่ง 11 องค์ แต่เนื่องจากพระที่นั่งบางองค์ทรุดโทรมจนยากต่อการบูรณะจึงได้ทำการรื้อลง ปัจจุบัน หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ประกอบด้วย พระที่นั่ง 5 องค์ ได้แก่ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นพระที่นั่งองค์เดียวในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทที่สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 พระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์ พระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร และพระที่นั่งเทวารัณยสถาน เป็นพระที่นั่งที่รื้อลงและสร้างขึ้นใหม่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: เขตพระนครและหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงชูชาติ กำภู

หม่อมหลวงชูชาติ กำภู (4 มกราคม พ.ศ. 2448-13 เมษายน พ.ศ. 2512) ผู้ก่อตั้งโรงเรียนชลประทานวิทยา และวิทยาลัยการชลประทาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีจนถึงแก่อนิจกรรมในขณะดำรงตำแหน่ง ในวันคล้ายวันเกิดของหม่อมหลวงชูชาติ โรงเรียนชลประทานวิทยาและวิทยาลัยการชลประทานได้กำหนดให้วันที่ 4 มกราคมของทุกปี เป็นวันงานพิธีไหว้ครู เพื่อระลึกถึงพระคุณของครู และพระคุณของหม่อมหลวงชูชาติ ผู้ก่อตั้งโรงเรียน.

ใหม่!!: เขตพระนครและหม่อมหลวงชูชาติ กำภู · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงเสรี ปราโมช

หม่อมหลวงเสรี ปราโมช อดีตนักการเมืองและนักดนตรีชาวไท.

ใหม่!!: เขตพระนครและหม่อมหลวงเสรี ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้านิกรเทวัญ เทวกุล

หม่อมเจ้านิกรเทวัญ เทวกุล (16 มกราคม พ.ศ. 2440 - 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2519) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการกับหม่อมพุก เทวกุล ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เขตพระนครและหม่อมเจ้านิกรเทวัญ เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน

อาคารหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน หรือ หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง เป็นหน่วยงานขึ้นในสังกัดกองทัพบก เดิมใช้ชื่อว่า กรมการรักษาดินแดน (ร.ด.) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน · ดูเพิ่มเติม »

ห้างไนติงเกล

ห้างไนติงเกล-โอลิมปิก ในปี พ.ศ. 2554 ห้างไนติงเกล หรือชื่อเต็ม ไนติงเกล-โอลิมปิก เป็นห้างสรรพสินค้าที่มีอายุยาวนานที่สุด ที่ยังเปิดดำเนินกิจการอยู่ในประเทศไทย ตัวอาคารมีทั้งหมด 3 คูหา 7 ชั้น ตั้งอยู่ที่บริเวณแยกพาหุรัด แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร เริ่มเปิดกิจการตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและห้างไนติงเกล · ดูเพิ่มเติม »

อรรถ วิสูตรโยธาภิบาล

นายอรรถ วิสูตรโยธาภิบาล อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 2 และอดีตอธิบดีกรมที่ดิน คนที่ 19 กระทรวงมหาดไทย รวมถึงอดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหนองคาย เป็นผู้คิดวิธีออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.3ก.) โดยใช้รูปถ่ายทางอากาศเป็นระวาง และยังได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นกรรมการร่างกฎหมาย คณะกรรมการกฤษฎีกาถึง 5 ครั้ง.

ใหม่!!: เขตพระนครและอรรถ วิสูตรโยธาภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

อรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์

นางสาวอรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: เขตพระนครและอรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ออมทรัพย์ แหลมฟ้าผ่า

ออมทรัพย์ แหลมฟ้าผ่า หรือนายออมทรัพย์ จันทรีย์ เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: เขตพระนครและออมทรัพย์ แหลมฟ้าผ่า · ดูเพิ่มเติม »

อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2538

หตุการณ์ครั้งนี้ อุทกภัยในประเทศไท..

ใหม่!!: เขตพระนครและอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

องค์การพิทักษ์สยาม

ลเอก บุญเลิศ แก้วประสิทธิ์ ในการชุมนุมใหญ่ขององค์การพิทักษ์สยามครั้งแรกที่สนามม้านางเลิ้ง เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2555 องค์การพิทักษ์สยาม (ชื่อย่อ: อพส.; Protect Siam Organization, Pitak Siam group) เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวของการเมืองภาคประชาชนที่รวมตัวกัน มีจุดมุ่งหมายเพื่อขับไล่รัฐบาลยิ่งลักษณ์ ในปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและองค์การพิทักษ์สยาม · ดูเพิ่มเติม »

องค์การตลาด

องค์การตลาด (Marketing Organization) เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2496 เพื่อดำเนินการจัดระเบียบการค้าของพ่อค้าแม่ค้าบริเวณข้างวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม และพัฒนาต่อเนื่องจนเป็นตลาดปากคลองตลาด ปัจจุบันมีตลาดสาขาอยู่ในจังหวัดลำพูน ฉะเชิงเทรา ลพบุรี และกรุงเทพมหานคร รวมจำนวนทั้งสิ้น 5 แห่ง.

ใหม่!!: เขตพระนครและองค์การตลาด · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นอนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่กึ่งกลางวงเวียนระหว่างถนนราชดำเนินกลางกับถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเป็นที่ระลึกถึงเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย การก่อสร้างอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเริ่มขึ้นในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 และทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483 ในสมัยจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเป็นผลงานการออกแบบของหม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล อันเป็นแบบที่ชนะการประกวดการออกแบบอนุสาวรีย์แห่งนี้ การออกแบบได้นำสถาปัตยกรรมแบบไทยมาผสมผสาน ตรงกลางเป็นสมุดไทยที่สื่อถึงรัฐธรรมนูญประดิษฐานบนพานแว่นฟ้า นอกจากการเป็นสัญลักษณ์เพื่อระลึกถึงประชาธิปไตยนั้น อนุสาวรีย์แห่งนี้ ยังเป็นหลักกิโลเมตรที่ศูนย์ของกรุงเทพมหานครและประเทศไทยอีกด้วย อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยได้ใช้เป็นพื้นที่สำคัญของการชุมนุมทางการเมืองหลายครั้ง อาทิ การชุมนุมของประชาชนและนักศึกษาใน เหตุการณ์ 14 ตุลา, การชุมนุมของประชาชนในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553, การชุมนุมคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ พ.ศ. 2556 เป็นต้น.

ใหม่!!: เขตพระนครและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ผัดไทย

ผัดไทย (ผัดไท เป็นตัวสะกดผิดที่พบได้บ่อย) เป็นอาหารไทยที่สามารถหารับประทานได้ทั่วประเทศไทย โดยเฉพาะในภาคกลาง และอาจพบได้ในร้านอาหารไทยในต่างประเทศบางแห่ง.

ใหม่!!: เขตพระนครและผัดไทย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนคร

รถรางในจังหวัดพระนครก่อนที่จะถูกยกเลิกไป อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยในอดีต ตราประจำจังหวัดพระนคร จังหวัดพระนคร เป็นจังหวัดในอดีตของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา มีขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: เขตพระนครและจังหวัดพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสิงห์บุรี

ังหวัดสิงห์บุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไท.

ใหม่!!: เขตพระนครและจังหวัดสิงห์บุรี · ดูเพิ่มเติม »

จำเริญ ทรงกิตรัตน์

ำเริญ ทรงกิตรัตน์ (ซ้าย) ชกชิงแชมป์ท่ามกลางสายฝนกับจิมมี่ คาร์รัทเธอร์ จำเริญ ทรงกิตรัตน์ มีชื่อจริงว่า ร้อยตำรวจเอก สำเริง ศรีมาดี เป็นชาวจังหวัดนครพนม เป็นนักมวยสากลชาวไทยคนแรกที่ได้ชิงแชมป์โลก และเป็นแชมป์สหพันธ์มวยภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิก (OPBF) คนแรกของประเทศไทย มีฉายาว่า "จิ้งเหลนไฟ".

ใหม่!!: เขตพระนครและจำเริญ ทรงกิตรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

จิ๊ด เศรษฐบุตร

thumb ศาสตราจารย์จิ๊ด เศรษฐบุตร (18 มกราคม 2449 — 19 มกราคม 2538) เป็นตุลาการ นักนิติศาสตร์ และนักการทูตชาวไท.

ใหม่!!: เขตพระนครและจิ๊ด เศรษฐบุตร · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: เขตพระนครและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ธราวุธ นพจินดา

ราวุธ นพจินดา (ชื่อเล่น: หนู; นามปากกา: น้องหนู) อดีตผู้บรรยายการแข่งขันกีฬาทางโทรทัศน์, อดีตผู้ประกาศข่าวกีฬา ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5.

ใหม่!!: เขตพระนครและธราวุธ นพจินดา · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารแห่งประเทศไทย

นาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand) เป็นธนาคารกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไท..

ใหม่!!: เขตพระนครและธนาคารแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารไทยพาณิชย์

นาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (The Siam Commercial Bank Public Company Limited ชื่อย่อ: SCB) เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งแรกและเป็นหนึ่งในห้าธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งโดยพระบรมราชานุญาต ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2449 ปัจจุบันมีสาขาทั้งสิ้น 1,070.

ใหม่!!: เขตพระนครและธนาคารไทยพาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ถวิล ไพรสณฑ์

วิล ไพรสณฑ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลชวน หลีกภัย (1) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและถวิล ไพรสณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนบูรพา

นนบูรพา (Thanon Burapha) เป็นถนนสั้น ๆ สายหนึ่งในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นถนนที่เชื่อมระหว่างถนนพาหุรัด กับถนนเจริญกรุง ถนนบูรพา เดิมมีชื่อว่า "ถนนบุรพา" แต่ต่อมาได้เรียกเพี้ยนเป็น "ถนนบูรพา" เช่นปัจจุบัน โดยเรียกตามวังบูรพาภิรมย์ วังที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช สมเด็จพระอนุชาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ถนนเส้นนี้ตัดผ่านบริเวณด้านหลัง เป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้มีการตัดถนนขึ้นเพื่อรองรับความเจริญทางการค้าที่กำลังเฟื่องฟูในย่านพาหุรัด ทำให้ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติมีเส้นทางคมนาคมที่สะดวกยิ่งขึ้น ปัจจุบัน บริเวณรอบ ๆ ถนนบูรพาเป็นที่ตั้งของร้านจำหน่ายอาวุธปืนเป็นจำนวนมาก เช่นเดียวกับถนนสายอื่น ๆ ที่อยู่รอบด้าน และยังเป็นฟากหนึ่งของห้างสรรพสินค้าดิโอลด์สยามพลาซ่าอีกด้ว.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนบูรพา · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระพิพิธ

นนพระพิพิธ เป็นถนนสายสั้น ๆ เส้นหนึ่งในพื้นที่แขวงพระราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นจากถนนสนามไชย ผ่านด่านข้างโรงเรียนวัดราชบพิธ, สนามยิงปืน หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง และกรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย ไปสิ้นสุดที่ถนนพระพิทักษ์ เชิงสะพานอุบลรัตน์ อันเป็นจุดตัดระหว่างถนนพระพิพิธ, ถนนพระพิทักษ์, ถนนราชินี และถนนอัษฎางค์ โดยชื่อ "พระพิพิธ" นั้นได้มาจากพระนามของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งทรงเคยมีวังที่ประทับในบริเวณนี้ คือ วังท้ายหับเผ.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนพระพิพิธ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระพิทักษ์

นมอญ ถนนพระพิทักษ์ เป็นถนนสายสั้น ๆ ในท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีลักษณะเป็นถนน 2 ช่องทางจราจร (เดินรถทางเดียว) ระยะทาง 100 เมตร เริ่มต้นที่เชิงสะพานอุบลรัตน์ด้านทิศตะวันออก (ใกล้ศาลเจ้าพ่อหอกลองและสำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร หลังปากคลองตลาด) ไปทางทิศตะวันออก ตัดกับถนนอัษฎางค์ที่ทางแยกพระพิทักษ์ และไปสิ้นสุดที่ทางแยกบ้านหม้อซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนบ้านหม้อและถนนพาหุรัด ชื่อ "พระพิทักษ์" มาจากพระนามของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โดยทรงเคยมีวังที่ประทับใกล้กับบริเวณนี้ คือ วังท้ายหับเผ.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนพระพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระสุเมรุ

ป้ายชื่อถนนบริเวณป้อมพระสุเมรุ ถนนพระสุเมรุ (Thanon Phra Sumen) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่แขวงชนะสงคราม และแขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยชื่อถนนมาจากป้อมพระสุเมรุ ป้อมปราการป้องกันพระนครป้อมแรกรอบเกาะรัตนโกสินทร์ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้น เป็นถนนสายสั้น ๆ ที่มีจุดเริ่มต้นที่บริเวณข้างป้อมพระสุเมรุ ซึ่งเป็นจุดสิ้นสุดของถนนพระอาทิตย์ ในย่านบางลำพู ทอดผ่านแยกบางลำพู ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนจักรพงษ์และถนนสามเสน จากนั้นทอดผ่านวงเวียนสิบสามห้างเลียบไปกับวัดบวรนิเวศวิหาร ไปยังแยกสะพานวันชาติ อันเป็นจุดตัดกับถนนดินสอและถนนประชาธิปไตย จากนั้นเป็นเส้นทางโค้งไปสิ้นสุดลงที่แยกป้อมมหากาฬ อันเป็นจุดตัดกับถนนราชดำเนินกลาง บริเวณป้อมมหากาฬ และเชิงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ บริเวณถนนพระสุเมรุ เป็นที่ตั้งของร้านอาหาร, ร้านกาแฟ และร้านหนังสือต่าง ๆ เหมือนกับถนนพระอาทิตย์ที่อยู่ใกล้กัน โดยร้านค้าและอาคารบ้านเรือนบางส่วนยังคงเป็นอาคารเก่าแก่ที่สร้างด้วยสถาปัยกรรมแบบโคโลเนียล รวมถึงยังคงเหลือซากกำแพงพระนครและป้อมปราการรอบพระนคร อันได้แก่ วังริมป้อมพระสุเมรุ และป้อมยุคนธร ป้อมสุดท้ายของเกาะรัตนโกสินทร.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนพระสุเมรุ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระอาทิตย์

ป้ายชื่อถนนพระอาทิตย์บริเวณป้อมพระสุเมรุ ถนนพระอาทิตย์ (Thanon Phra Athit) เป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจร ในท้องที่แขวงพระบรมมหาราชวังและแขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ มีระยะทางระหว่างประตูมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เลียบฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ จนถึงบริเวณป้อมพระสุเมรุ ถนนพระสุเมรุ ชื่อของถนนพระอาทิตย์นำมาจากป้อมพระอาทิตย์ซึ่งเป็นป้อมปราการ 1 ใน 14 ป้อม ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อสถาปนากรุงเทพฯ เป็นราชธานี ปัจจุบันป้อมพระอาทิตย์ถูกรื้อไปแล้ว.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนพระอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระจันทร์

นนพระจันทร์ ถนนพระจันทร์ (Thanon Phra Chan) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นตั้งต้นจากถนนหน้าพระธาตุไปสิ้นสุดลงที่ท่าพระจันทร์ ถนนพระจันทร์เป็นถนนที่มีมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช แต่มีลักษณะเป็นถนนพูนดินให้สูงขึ้นยังไม่เป็นลักษณะของการปูอิฐหรือมีทางระบายน้ำ ซึ่งลักษณะเช่นนี้เริ่มสร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถนนพระจันทร์เป็นถนนเลียบกำแพงพระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหน้าด้านทิศใต้ เริ่มต้นจากปลายถนนหน้าวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์บริเวณหน้าพระราชวังบวรสถานมงคลเลียบพระราชวังไปสู่แม่น้ำเจ้าพระยาด้านป้อมพระจันทร์ ชื่อถนนพระจันทร์มาจากชื่อป้อมพระจันทร์บนกำแพงเมืองด้านริมแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งต่อมาได้ถูกรื้อไป ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ขยายถนนเดิมให้กว้างขึ้น ทรงเริ่มสร้างถนนใหม่รอบพระบรมมหาราชวัง และถนนเลียบกำแพงพระนครด้านในจนเชื่อมถึงกัน เริ่มจากถนนเดิมคือ ถนนพระจันทร์ไปถนนพระอาทิตย์ ถนนพระสุเมรุ ถนนมหาไชย ถนนจักรเพชร และถนนมหาราช ซึ่งชื่อถนนเหล่านี้มาจากชื่อป้อมบนกำแพงพระนครทั้งสิ้น ถนนพระจันทร์ เป็นถนนสายเล็ก ๆ ขนาบไปกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ด้านท้องสนามหลวงกับกำแพงวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ริมสองฟากถนนเป็นแหล่งรวมของการเช่าขายพระเครื่อง และวัตถุมงคลต่าง ๆ ในแบบแบกะดิน รวมถึงหมอดูด้ว.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนพระจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพหลโยธิน

นนพหลโยธิน (Thanon Phahon Yothin) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 สายกรุงเทพมหานคร−แม่สาย (เขตแดน) เป็นถนนสายหลักในกรุงเทพมหานคร และเป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย (ประกอบด้วยถนนพหลโยธิน ถนนมิตรภาพ ถนนสุขุมวิท และถนนเพชรเกษม) สายทางเริ่มต้นที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ผ่านภาคกลาง และมุ่งเข้าสู่ภาคเหนือของประเทศไทย สิ้นสุดที่ด่านพรมแดนแม่สาย อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย บริเวณชายแดนประเทศพม่า รวมระยะทางยาว 994.749 กิโลเมตร บางช่วงของถนนพหลโยธินอยู่ในโครงข่ายทางหลวงเอเชีย ได้แก่ ช่วงบ้านหินกองถึงอำเภอบางปะอินเป็นทางหลวงเอเชียสาย 1, ช่วงแยกหลวงพ่อโอ (เส้นแบ่งเขตจังหวัดชัยนาทกับจังหวัดนครสวรรค์) ถึงอำเภอเมืองตาก เป็นทั้งทางหลวงเอเชียสาย 1 และสาย 2 และช่วงอำเภอเมืองสระบุรีถึงบ้านหินกองเป็นทางหลวงเอเชียสาย 12 นอกจากนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ ถนนพหลโยธินช่วงตั้งแต่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เส้นทางของถนนจะเบี่ยงไปทิศตะวันออก ผ่านจังหวัดสระบุรีและจังหวัดลพบุรี แล้ววกกลับมายังจังหวัดชัยนาท เนื่องจากในสมัยก่อนต้องการให้ทางหลวงสายหลักผ่านที่ตั้งของกองทหารสำคัญของประเท.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนพหลโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพาหุรัด

นนพาหุรัด คุรุดวาราศรีคุรุสิงห์สภา ถนนพาหุรัด (Thanon Phahurat) เป็นถนนในท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนบ้านหม้อ (สี่แยกบ้านหม้อ) ไปทางทิศตะวันออก ตัดกับถนนตรีเพชร (สี่แยกพาหุรัด) จนถึงถนนจักรเพชร ถนนพาหุรัดเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นโดยทรงใช้ทรัพย์ส่วนพระองค์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์ พระราชธิดาซึ่งประสูติจากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และสิ้นพระชนม์ขณะพระชันษา 10 ปี จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างถนนขึ้นเพื่ออุทิศส่วนกุศลพระราชทานและพระราชทานนามถนนว่า "ถนนพาหุรัด" ทุกวันนี้ถนนพาหุรัด เป็นย่านที่มีสินค้าที่มีให้เลือกสรรอย่างมากมายและหลากหลายทั้งผ้าตัด อุปกรณ์ตัดเย็บ รวมไปถึงเสื้อผ้าสำเร็จรูปสารพัดชาติ ทั้งชุดไทย-การแสดงนาฏศิลป์ ชุดจีน โดยเฉพาะส่าหรี นอกจากนี้พาหุรัดยังมีชุมชนเล็กๆที่ยังคงดำเนินวิถีแบบภารตะอยู่ จนทำให้หลายๆคน ขนานนามย่านพาหุรัด ว่าเป็น “ลิตเติ้ล อินเดีย”เมืองไทย สถานที่สำคัญในบริเวณนั้น มีวัดคุรุดวาราศรีคุรุสิงห์สภา(วัดซิกข์) เป็นวัดซิกข์แห่งแรกของไทย และยังมีห้างดิโอลด์สยามพลาซ่า ห้างไชน่า เวิลด์ (เดิมชื่อห้างเซ็นทรัลวังบูรพา)และ ห้างอินเดีย เอ็มโพเรียม (เดิมชือห้างเอทีเอ็ม).

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนพาหุรัด · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกรุงเกษม

นนกรุงเกษมช่วงโบ๊เบ๊ ถนนกรุงเกษม (Thanon Krung Kasem) เป็นถนนเลียบคลองผดุงกรุงเกษมฝั่งใต้ เริ่มจากบริเวณท่าเรือเทเวศร์ในพื้นที่แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดกับถนนสามเสน (แยกเทเวศร์) เข้าสู่พื้นที่แขวงบางขุนพรหม จากนั้นตัดกับถนนประชาธิปไตย (แยกประชาเกษม) และตัดกับถนนราชดำเนินนอก (แยกมัฆวานรังสรรค์) เข้าสู่พื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ตัดกับถนนนครสวรรค์ (แยกเทวกรรม) ถนนหลานหลวง (แยกสะพานขาว) เข้าสู่พื้นที่แขวงคลองมหานาค จากนั้นโค้งลงมาทางทิศใต้ตัดกับถนนบำรุงเมือง และถนนพระรามที่ 1 (แยกกษัตริย์ศึก) เข้าสู่พื้นที่แขวงวัดเทพศิรินทร์ และตัดกับถนนหลวง (แยกนพวงศ์-โรงเรียนเทพศิรินทร์) เข้าสู่พื้นที่แขวงป้อมปราบ จนกระทั่งไปสิ้นสุดที่ถนนพระรามที่ 4 (แยกไมตรีจิตต์) ถนนกรุงเกษมเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นประมาณปี พ.ศ. 2435 แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2441 มีความยาวตลอดสาย 4.5 กิโลเมตร ตั้งต้นจากปากคลองผดุงกรุงเกษมทางด้านเหนือเลียบริมคลองมาจนถึงเชิงสะพานพิทยเสถียรซึ่งจะข้ามไปหัวลำโพง ถนนเส้นนี้เป็นตัวอย่างหนึ่งของการขุดคลอง และสร้างถนนขนาบข้าง และโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "ถนนกรุงเกษม".

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนกรุงเกษม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกัลยาณไมตรี

อาคารกระทรวงกลาโหม ด้านถนนกัลยาณไมตรี ถนนกัลยาณไมตรี (Thanon Kanlayanamaitri) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร เป็นถนนสายสั้น ๆ เชื่อมระหว่างถนนสนามไชยบริเวณแยกกัลยาณไมตรี กับถนนอัษฎางค์และถนนบำรุงเมือง ที่สะพานช้างโรงสีบริเวณแยกสะพานช้างโรงสี ถนนกัลยาณไมตรี เป็นถนนที่อยู่ระหว่างอาคารกระทรวงกลาโหม กับกรมแผนที่ทหาร ตั้งชื่อเป็นเป็นเกียรติแก่พระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บี. แซร์) ชาวอเมริกันที่เข้ามารับราชการในประเทศไทย และมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเดิมวังสราญรมย์ที่อยู่ใกล้เคียง เคยเป็นที่ตั้งของกระทรวงการต่างประเทศ นอกจากนี้แล้ว ตัวอาคารของกระทรวงกลาโหมที่อยู่ข้างถนนกัลยาณไมตรี ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอมีความสวยงาม โดดเด่นด้วยตัวอาคารสีเหลือง มีหน้าต่างเป็นจำนวนนับร้อยบาน จึงนิยมใช้เป็นสถานที่ถ่ายรูป หรือใช้สำหรับถ่ายทำโฆษณาหรือภาพยนตร์ต่าง.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนกัลยาณไมตรี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนมหรรณพ

นนมหรรณพ (Thanon Mahannop) เป็นถนนสายหนึ่งในเขตพระนคร ถนนมหรรณพเป็นถนนที่เชื่อมถนนตะนาวกับถนนดินสอไว้ด้วยกัน เป็นถนนสายสั้น ๆ โดยมีจุดเริ่มต้นที่ถนนดินสอบริเวณศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ไปสิ้นสุดที่ศาลเจ้าพ่อเสือ พระนคร เป็นถนนที่สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนมหรรณพ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนมหาราช

รถตุ๊กตุ๊กจอดอยู่บริเวณหน้าตลาดท่าเตียน ริมถนนมหาราช ถนนมหาราช (Thanon Maha Rat) เป็นถนนรอบพระนครด้านริมแม่น้ำเจ้าพระยา อยู่ต่อจากถนนจักรเพชรที่สะพานเจริญรัชในย่านปากคลองตลาด ไปจดถนนพระจันทร์ที่ย่านท่าพระจันทร์ ในท้องที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ถนนมหาราช เป็นถนนดั้งเดิมที่มีมาตั้งแต่แรกสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เดิมเป็นถนนข้างกำแพงพระราชวังหลวงด้านตะวันตก เป็นถนนที่ตัดล้อมพระราชวังเช่นเดียวกับถนนหน้าพระลาน, ถนนท้ายวัง และถนนสนามไชย เดิมเป็นทางเดินแคบ ๆ ที่ปูด้วยอิฐรูแผ่นใหญ่ ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ตัดถนนในแนวดังกล่าว เป็นถนนเลียบกำแพงพระบรมมหาราชวังด้านทิศตะวันตก เริ่มตั้งแต่ปากคลองตลาดเป็นจุดบรรจบของถนน 3 สาย คือ ถนนมหาราช, ถนนราชินี และถนนมหาไชย แล้วพระราชทานนามว่า "ถนนมหาราช" โดยชื่อถนนนั้นมีผู้สันนิษฐานว่ามาจากส่วนหนึ่งของคำว่าพระบรมมหาราชวัง.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

ถนนมหาไชย

นนมหาไชยช่วงใกล้กับสามแยกเรือนจำ ถนนมหาไชย (Thanon Maha Chai) เป็นถนนสายหนึ่งในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนราชดำเนินกลางที่สี่แยกป้อมมหากาฬ ในท้องที่แขวงวัดบวรนิเวศ ไปทางทิศใต้ ข้ามคลองหลอดวัดราชนัดดาเข้าสู่ท้องที่แขวงสำราญราษฎร์ ผ่านวัดเทพธิดาราม ตัดกับถนนบำรุงเมือง (สี่แยกสำราญราษฎร์) และถนนหลวง (สามแยกเรือนจำ) ข้ามคลองหลอดวัดราชบพิธเข้าสู่ท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ ตัดกับถนนเจริญกรุง (สี่แยกสามยอด) จนกระทั่งไปบรรจบกับถนนพีระพงษ์ ถนนเยาวราช และถนนจักรเพชร (สี่แยกวังบูรพา) ถนนมหาไชยเป็นถนนที่ได้นามมาจากชื่อป้อมปราการที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อทรงสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานี นับเป็น 1 ใน 14 ป้อมปราการที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ต่อมาเมื่อบ้านเมืองเจริญขึ้นความจำเป็นในการมีป้อมปราการไว้ป้องกันพระนครก็หมดไป ป้อมมหาไชยจึงถูกรื้อถอน และปัจจุบันชื่อป้อมมหาไชยได้กลายมาเป็นชื่อถนนมหาไชย เนื่องจากเป็นถนนที่ตัดผ่านบริเวณที่เป็นป้อมมห.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนมหาไชย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)

นนราชดำเนินกลางและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน (Thanon Ratchadamnoen) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยถนน 3 สาย ได้แก.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชดำเนิน (แก้ความกำกวม)

นนราชดำเนิน อาจหมายถึง ในประเทศไท.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนราชดำเนิน (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ถนนรามบุตรี

นนรามบุตรี ช่วงข้างวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร ถนนรามบุตรี หรือ ซอยรามบุตรี (Thanon Ram Buttri, Soi Ram Buttri) เป็นถนนขนาดเล็กสายหนึ่งลักษณะเป็นซอย ในย่านบางลำพู พื้นที่แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นถนนที่แบ่งออกเป็น 2 ช่วง ช่วงแรกเชื่อมระหว่างถนนสิบสามห้าง กับถนนจักรพงษ์ และช่วงที่ 2 จากถนนจักรพงษ์บริเวณข้างวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร เลี้ยวไปออกถนนเจ้าฟ้า บริเวณเชิงสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า และตรงข้ามกับโรงละครแห่งชาติ ถนนรามบุตรี มีที่มาจากสะพานข้ามคลองวัดชนะสงคราม หรือคลองบางลำพูที่ชื่อ "สะพานรามบุตรี" ซึ่งเป็นสะพานที่หม่อมเจ้าหญิงเป้า สุริยกุล พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยา กรมพระรามอิศเรศ มีดำริให้มีการสร้างขึ้นโดยการบริจาคทรัพย์ เพื่อเป็นการถวายเป็นบำเพ็ญพระกุศลถวายแด่พระบิดา แล้วสร้างแล้วเสร็จ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระราชทานนามให้ว่า สะพานรามบุตรี อันมีความหมายว่า "สะพานที่บุตรีของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยา กรมพระรามอิศเรศ เป็นผู้สร้าง" และได้ทรงเสด็จเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม..

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนรามบุตรี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนวิสุทธิกษัตริย์

นนวิสุทธิกษัตริย์ (Thanon Wisut Kasat) เริ่มต้นตั้งแต่ถนนราชดำเนินนอก (สี่แยก จ.ป.ร.) ในท้องที่แขวงบางขุนพรหมและแขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนประชาธิปไตย (สี่แยกวิสุทธิกษัตริย์) และถนนสามเสน (สี่แยกบางขุนพรหม) จนถึงท่าเรือสะพานพระราม 8 (บางขุนพรหม) ในท้องที่แขวงวัดสามพระยา ถนนวิสุทธิกษัตริย์เป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ สร้างขึ้นเพื่ออุทิศส่วนกุศล พระราชทานสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทรมณฑล กรมหลวงวิสุทธิกษัตริย์ พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี และเป็นพระขนิษฐาร่วมพระชนนีเดียวกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งสิ้นพระชนม์ขณะพระชันษา 9 ปี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อถนนว่า ถนนวิสุทธิกษัตริย์ การตัดถนนวิสุทธิกษัตริย์นี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริว่า แต่เดิมการสร้างถนนต้องใช้พระราชทรัพย์ในการก่อสร้าง รวมทั้งการดูแลรักษา การตัดถนนในกรุงเทพฯ มักผ่านไปในเขตที่มีเจ้าของถือที่ดินอยู่ ถนนผ่านไปในที่ใดเจ้าของที่ดินย่อมได้รับประโยชน์เรื่องราคาที่ดินที่เพิ่มสูงขึ้น จึงสมควรให้เจ้าของที่ดิน ซึ่งถือครองที่ดินอยู่ตามแนวถนนซึ่งจะตัดผ่านช่วยกันออกทุนในการทำถนน เว้นแต่ผู้ที่ต้องเสียที่ดินทั้งหมดจนไม่ได้รับประโยชน์ในการตัดถนน ควรได้รับประโยชน์ราคาที่ดินของตนเป็นค่าเสียหาย โดยโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติสร้างถนนหลวงภายในบริเวณกรุงเทพฯ ขึ้นใน พ.ศ. 2447 (ร.ศ. 123) สำหรับการสร้างถนนวิสุทธิกษัตริย์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ “ประกาศการสร้างถนนวิสุทธิ์กระษัตริย์” ว่า ที่ดินตำบลบางขุนพรหมและหลังวัดมกุฏกษัตริย์ สมควรจะตัดเป็นถนนใหญ่ให้เดินไปมาติดต่อกันได้ ตั้งแต่วงเวียนบางขุนพรหม ตัดตรงไปทางหลังวัดมกุฏกษัตริยาราม ออกถนนราชดำเนินนอก ต่อมาใน พ.ศ. 2471 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ตัดถนนจากวิสุทธิกษัตริย์ต่อจากที่ตัดไว้แต่เดิม ตั้งแต่แม่น้ำเจ้าพระยา มาบรรจบถนนสามเสน ตำบลบางขุนพรหม โดยตัดผ่านเข้าไปในตำบลบางขุนพรหม บริเวณถนนวิสุทธิ์กษัตริย์จนถึงสี่แยกวิสุทธิ์กษัตริย์ถือได้ว่าเป็นย่านที่ขึ้นชื่ออย่างมากในการประกวดนางงามในช่วงเทศกาลสงกรานต์ของทุกปี ที่รู้จักกันดีในชื่อ "เทพีสงกรานต์วิสุทธิ์กษัตริย์" ซึ่งจัดโดยชาวชุมชนท้องถิ่นและใกล้เคียง โดยจัดมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนวิสุทธิกษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนศิริพงษ์

อาคารพาณิชย์ริมถนนศิริพงษ์ ช่วงตัดกับถนนบำรุงเมือง ถนนศิริพงษ์ (Thanon Siri Phong) เป็นถนนสายสั้น ๆ สายหนึ่งในพื้นที่แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นจากด้านข้างศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ทอดผ่านจุดตัดระหว่างถนนบำรุงเมือง และขนานไปกับถนนอุณากรรณ เลียบข้างวัดสุทัศนเทพวราราม ทอดผ่านโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เข้าพื้นที่แขวงสำราญราษฎร์ ผ่านหน้าโรงเรียนภารตวิทยาลัยและสมาคมฮินดูสมาช, สวนรมณีนาถ ไปสิ้นสุดที่จุดบรรจบกับถนนอุณากรรณ ที่มาจากแยกอุณากรรณ โดยชื่อ "ศิริพงษ์" มาจากการแปลงพระนามของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนมรุพงศ์ศิริพัฒน์ พระโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาบัว ซึ่งทรงเคยมีวังที่ประทับ ณ ที่ ๆ เป็นที่ตั้งของโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปัจจุบันนี้.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนศิริพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสามเสน

แผนที่เขตดุสิต ถนนสามเสนอยู่บริเวณซ้ายบน ใกล้กับแม่น้ำเจ้าพระยา ถนนสามเสน (Thanon Sam Sen) เป็นถนนสายสำคัญในพื้นที่เขตพระนครและเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนสามเสน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสิบสามห้าง

แผนที่เขตพระนคร ถนนพระนครอยู่ใกล้กับวัดบวรนิเวศวิหาร (Wat Bowonniwett) ในชื่อ Sip Sam Hang Road ถนนสิบสามห้าง (Thanon Sip Sam Hang) เป็นถนนสายเล็ก ๆ ตั้งอยู่ในย่านบางลำพู แขวงตลาดยอด เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นถนนที่สร้างขึ้นมาตั้งแต่รัชสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมีที่มาจากกลุ่มพ่อค้ากลุ่มหนึ่งในมณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีน ซึ่งเริ่มต้นมีห้างร้านอยู่ทั้งสิ้น 13 ห้าง ได้รวมตัวกันเพื่อเข้าช่วยเหลือซึ่งกันและกันในด้านการค้าและอื่น ๆ มีตึกทำการอยู่ที่มณฑลกวางตุ้ง ต่อมาเมื่อชาวจีนเข้ามาจับจองทำกิจการค้าที่บางลำพู ได้นำวิธีการนี้มาใช้ และได้สร้างอาคารซึ่งมีลักษณะเหมือนอาคารที่ทำการสมาคมเช่นเดียวกันนี้ขึ้นที่บางลำพู แม้ภายหลังเมื่ออาคารดังกล่าวจะถูกรื้อถอน แต่ชื่อสิบสามห้างยังคงอยู่ และได้กลายเป็นชื่อถนนที่เคยเป็นที่ตั้งอาคารสมาคม นอกจากนี้แล้ว ถนนสิบสามห้างในช่วงกึ่งพุทธกาล (พ.ศ. 2500) เป็นแหล่งชุมนุมของวัยรุ่นเช่นเดียวกับสยามสแควร์ในปัจจุบัน เพราะเป็นแหล่งของร้านอาหารจำนวนมาก ที่เปิดกันจนถึงช่วงดึก และยังมีร้านไอศกรีมซึ่งเป็นสิ่งที่หารับประทานยากในสมัยนั้น รวมถึงยังมีบริการโทรทัศน์เปิดให้กับลูกค้าได้ดูอีกด้วย ซึ่งนับว่าเป็นนวัตกรรมใหม่อีกอย่างหนึ่ง ถนนสิบสามห้างได้รับการกล่าวถึงในภาพยนตร์เรื่อง 2499 อันธพาลครองเมือง ภาพยนตร์ไทยในปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนสิบสามห้าง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสนามไชย

นนสนามไชย ถนนสนามไชย (Thanon Sanam Chai) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นถนนที่ตั้งของสถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่น กระทรวงกลาโหม, กรมอัยการสูงสุด, พระบรมมหาราชวัง, พระราชวังสราญรมย์, หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน ถนนสนามไชย มีจุดเริ่มต้นที่ถนนหน้าพระลานตัดกับถนนราชดำเนินใน ที่บริเวณแยกป้อมเผด็จ สิ้นสุดลงที่ถนนราชินี บริเวณปากคลองตลาด มีความยาวประมาณ 1.1 กิโลเมตร เดิมเป็นถนนที่มีชื่อเรียกว่า "ถนนหน้าจักรวรรดิวังหลวง" เป็นลักษณะเป็นลานกว้าง ๆ มีความสำคัญตั้งแต่ยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์เนื่องด้วยเป็นเส้นทางที่ใช้สำหรับพระราชพิธีหรือกระบวนแห่ต่าง ๆ โดยชื่อ "สนามไชย" มาจากท้องสนามไชย ซึ่งเป็นลานอยู่ข้างท้องสนามหลวง เป็นสถานที่ ๆ ให้ข้าราชบริพารตลอดจนประชาชนใช้สำหรับเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในแต่ละรัชกาล ครั้นทรงเสด็จออก ณ พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท เนื่องในวโรกาสสำคัญต่าง ๆ โดยชื่อถนนสนามไชย เป็นชื่อพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนสนามไชย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนหลวง

250px ถนนหลวง (Thanon Luang) เป็นถนนเส้นหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนมหาไชย (สามแยกเรือนจำ) ในท้องที่แขวงสำราญราษฎร์ เขตพระนคร ข้ามคลองรอบกรุง (คลองโอ่งอ่าง) เข้าสู่ท้องที่แขวงบ้านบาตร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย จากนั้นตัดกับถนนวรจักร (สี่แยกวรจักร) ถนนยุคล 2 (สี่แยกโรงพยาบาลกลาง) และถนนพลับพลาไชย (ห้าแยกพลับพลาไชย) โดยเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงป้อมปราบกับแขวงวัดเทพศิรินทร์ จนกระทั่งไปจรดถนนกรุงเกษมที่ห้าแยกนพวงศ์ ถนนหลวงเป็นถนนที่สร้างในปี พ.ศ. 2436 โดยพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิธาดา เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการได้กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า ควรจะตัดถนนใหม่ระหว่างถนนเจริญกรุง ถนนบำรุงเมือง ตั้งต้นตั้งแต่ป้อมเสือทยานไปบรรจบถนนริมคลองผดุงกรุงเกษมโดยข้ามคลองคูพระนคร ตรงไปออกถนนหน้าวัดเทพศิรินทราวาส ถึงสถานีรถไฟหัวลำโพง ตั้งชื่อว่าถนนหลวง อันมีควาหมายว่า "ถนนของพระเจ้าแผ่นดิน" ทรงให้เหตุผลในการตัดถนนสายนี้ว่า เพื่อสำหรับผู้ที่จะไปขึ้นรถไฟ เพื่อเดินทางไปนครราชสีมาได้สะดวก และเป็นที่งดงามและแสดงถึงความเจริญของบ้านเมืองด้วย โดยสร้างเป็นถนนสำหรับคนเดินและรถม้า ระหว่างการก่อสร้างถนนหลวงใน พ.ศ. 2440 ปรากฏว่ามีผู้ขัดขวางการสร้างถนน โดยทำร้ายกุลีชาวจีนที่ก่อสร้างจนไม่สามารถก่อสร้างได้ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิธาดา เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการได้มีหนังสือกราบทูลพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นนเรศร์วรฤทธิ์ เสนาบดีกระทรวงนครบาล โดยทรงต่อว่ากระทรวงนครบาลซึ่งส่งมอบที่ดินให้กระทรวงโยธาธิการ เข้าใจว่าทรงจัดการเรื่องการเวนคืนที่ดินเรียบร้อยแล้ว และถือว่าเป็นหน้าที่ของกระทรวงนครบาลที่จะป้องกันระงับการทะเลาะวิวาท แต่ปรากฏว่ากระทรวงนครบาลไม่ได้อารักขาการสร้างถนน ทำให้เกิดเหตุขึ้นและปล่อยให้เรื่องล่าช้าจนหมดเขตฟ้องร้อง ต้องจ่ายพระราชทรัพย์ทำขวัญกุลี ในการก่อสร้างถนนหลวงนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานนพวงศ์ขึ้นด้วย โดยมีพระราชปรารภให้เปิดสะพานทันวันเฉลิมพระชนมพรรษาในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2440 ซึ่งเป็นวันที่มีพระชนมพรรษาเท่าพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส (พระองค์เจ้านพวงศ์) จึงต้องเร่งดำเนินการสร้างถนนหลวง ให้เสร็จทันเวลาที่จะเสด็จพระราชดำเนินเปิดสะพานนพวง.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนหน้าพระลาน

ถนนหน้าพระลาน(ช่วงที่ผ่านมหาวิทยาลัยศิลปากร) ตึกแถวริมถนนหน้าพระลาน ถนนหน้าพระลาน (Thanon Na Phra Lan) เป็นถนนในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ตั้งต้นจากปลายถนนราชดำเนินในต่อถนนสนามไชยที่มุมป้อมเผด็จดัสกร ไปตามกำแพงพระบรมมหาราชวัง ตัดกับถนนมหาราช ไปสุดที่ท่าช้างวังหลวง ถนนหน้าพระลานเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น โดยขยายจากถนนเดิมที่มีอยู่ก่อนแล้วตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช แต่เป็นถนนนูนดินสูง เหตุที่ชื่อถนนหน้าพระลานเพราะเป็นถนนที่อยู่หน้าพระลานพระบรมมหาราชวัง ỒỒ หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ถนนในเขตพระนคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนหน้าพระลาน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนหน้าพระธาตุ

นนหน้าพระธาตุ ถนนหน้าพระธาตุ (Thanon Na Phra That) เป็นถนนในท้องที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ตั้งต้นจากถนนหน้าพระลาน เลียบสนามหลวงด้านตะวันตก ไปทางทิศเหนือจนถึงถนนราชินี มีความยาวทั้งสิ้น 750 เมตร ถนนหน้าพระธาตุเป็นถนนที่มีมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช แต่เป็นถนนในลักษณะพูนดินให้สูง เป็นถนนเชื่อมระหว่างพระราชวังหลวงกับพระราชวังหน้า ใช้เป็นเส้นทางเสด็จของกรมพระราชวังบวรสถานมงคลไปยังพระบรมมหาราชวัง ผ่านวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ จึงได้ชื่อว่าถนนหน้าพระธาตุ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีการปรับปรุงให้กว้างขวางขึ้นกว่าเดิม สถานที่สำคัญที่ตั้วอยู่ถนนหน้าพระธาตุ ได้แก่ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์, กรมศิลปากร, หอสมุดพระวชิรญาน, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นต้น.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนหน้าพระธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนอัษฎางค์

นมอญ ถนนอัษฎางค์ (Thanon Atsadang) ถนนสายหนึ่งในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ ให้ตัดขึ้นในแบบตะวันตก หลังจากเสด็จประพาสชวา โดยทรงให้สร้างถนนริมกำแพงรอบพระนครใหม่ ซึ่งแต่เดิมเป็นทางเดินเล็ก ๆ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อแล้วเสร็จจึงพระราชทานนามว่า "ถนนอัษฎางค์" เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติของ สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ถนนอัษฎางค์ เป็นถนนที่เชื่อมระหว่างถนนราชดำเนินใน ด้านสนามหลวง กับถนนจักรเพชร ด้านปากคลองตลาด โดยขนานไปกับคลองรอบกรุง หรือคลองหลอดวัดราชบพิธ และถนนราชินี ที่อยู่ฝั่งตรงกันข้าม ผ่านสถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่น กระทรวงมหาดไทย, กระทรวงกลาโหม, สุสานหลวงวัดราชบพิธ, วัดบุรณศิริมาตยาราม เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว อาคารบ้านเรือนตลอดจนห้องแถวริมถนนอัษฎางค์ มีความสวยงามและควรค่าแก่การอนุรักษ์ ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน โดยเป็นสถาปัตยกรรมแบบจีน-โปรตุเก.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนอัษฎางค์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนอุทยาน

นนอุทยาน ในปี พ.ศ. 2549 ถนนอุทยาน (Thanon Utthayan) หรือที่นิยมเรียกในชื่อเดิมว่า ถนนอักษะ เป็นถนนเชื่อมระหว่างถนนพุทธมณฑลสาย 3 ในเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ถึงถนนพุทธมณฑลสาย 4 ในอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม มีระยะทาง 3.98 กิโลเมตร ความกว้าง 90 เมตร พร้อมด้วยทัศนียภาพที่สวยงาม มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น คือ เสาโคมไฟรูปหงส์เรียงราง 2 ข้างทาง ที่มากถึง 979 ต้น และคูน้ำคั่นกลางความกว้าง 30 เมตร ที่มีน้ำพุเล่นระดับ 3 แห่ง จนได้ชื่อว่าเป็นถนนที่สวยที่สุดในประเทศไทย ถนนอุทยานหรือเดิมชื่อถนนอักษะ เป็นถนนที่สร้างมุ่งไปพุทธมณฑลซึ่งได้เริ่มก่อสร้างใน พ.ศ. 2498 สมัยที่จอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรีเพื่อเฉลิมฉลอง 25 พุทธศตวรรษ (พ.ศ. 2500) โดยเริ่มดำเนินการเวนคืนที่ดินของราษฎรเพื่อสร้างถนนตั้งแต่ พ.ศ. 2494 แต่การก่อสร้างพุทธมณฑลและถนนอักษะได้หยุดชะงักไปเมื่อจอมพล ป.พิบูลสงคราม ถูกจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ก่อรัฐประหารยึดอำนาจใน พ.ศ. 2500 ต่อมาในสมัยพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้เริ่มรื้อฟื้นโครการพุทธมณฑลขึ้นเนื่องจากใกล้การเฉลิมฉลองโอกาสที่สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปีใน พ.ศ. 2525 และเสร็จสมบูรณ์ในสมัยที่พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ส่วนถนนอักษะได้รับอนุมัติให้ลงมือก่อสร้างในสมัยที่นายบรรหาร ศิลปอาชา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โครงการก่อสร้างถนนอักษะเป็นโครงการหนึ่งที่กรุงเทพมหานครดำเนินการเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ใน พ.ศ. 2539 เพื่อเป็นการเสริมสร้างความสง่างามแก่พุทธมณฑลซึ่งเป็นสถานที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา เป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์ และอำนวยความสะดวกในพระราชพิธีที่พุทธมณฑล ใช้งบประมาณการก่อสร้าง 1,068,987,571 บาท (ถือเป็นถนนที่ใช้งบประมาณในการสร้างสูงที่สุดในประเทศไทยด้วยกรุงเทพมหานคร, แฟนพันธุ์แท้. เกมโชว์ทางช่อง 5: ศุกร์ที่ 5 เมษายน 2545) และเสร็จสมบูรณ์เปิดให้ประชาชนใช้ได้ในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 สำหรับชื่อถนนอักษะซึ่งมาจากภาษาอังกฤษว่า "Axis" แปลว่า "แกนกลาง" นั้นเป็นคำที่ใช้เรียกหมายถึงประเทศฝ่ายอักษะ คือ เยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น ซึ่งทำสงครามกับฝ่ายพันธมิตร คือ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ในสงครามโลกครั้งที่ 2 และรัฐบาลในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ประกาศเข้าร่วมสงครามกับฝ่ายอักษะ เมื่อสร้างถนนเสร็จแล้ว กรุงเทพมหานครได้ประสานงานกับกรมศิลปากรในเรื่องชื่อถนนอักษะ ซึ่งกรมศิลปากรได้แนะนำให้ใช้ชื่อว่า ถนนอักษะ ซึ่งแปลว่าแกนกลาง เนื่องจากเป็นถนนเชื่อมระหว่างถนนพุทธมณฑลสาย 3 กับถนนพุทธมณฑลสาย 4 ต่อมากรุงเทพมหานครได้ประสานงานกับกรมศิลปากรเพื่อขอพระราชทานชื่อถนนจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อถนนว่า "ถนนอุทยาน" ซึ่งเป็นชื่อที่สัมพันธ์กับพุทธมณฑล ในเทศกาลสงกรานต์สมัยปัจจุบัน ถนนอุทยานรวมถึงถนนเลียบคลองทวีวัฒนาที่อยู่ใกล้เคียงกัน นิยมใช้เป็นสถานที่จัดกิจกรรมและเล่นสาดน้ำเช่นเดียวกับถนนข้าวสารในเขตพระนครและถนนสีลมในเขตบางรัก แต่ในปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนอุทยาน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนอุณากรรณ

นนอุณากรรณ (Thanon Unakan) เป็นถนนสายสั้น ๆ สายหนึ่งในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีลักษณะเป็นถนนขนาด 3–4 ช่องทางจราจร ไม่มีเกาะกลาง เขตถนนกว้าง 19.50 เมตร ระยะทางยาว 446 เมตร เริ่มต้นจากทางแยกอุณากรรณ (จุดตัดกับถนนเจริญกรุง) ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ มุ่งไปทางทิศเหนือ ตัดกับถนนศิริพงษ์ ข้ามคลองหลอดวัดราชบพิธเข้าพื้นที่แขวงวัดราชบพิธ ตัดกับถนนลงท่า ตรงไปทางทิศเดิมโดยขนานไปกับถนนศิริพงษ์และเลียบกำแพงวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร ไปสิ้นสุดที่ทางแยกเสาชิงช้า (จุดตัดกับถนนบำรุงเมือง) ชื่อถนนอุณากรรณมีที่มาจากพระนามของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชย พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเจ้าจอมมารดาเปี่ยม โดยเจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยมได้อุทิศเงินจำนวน 100 ชั่งของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชย ให้นำไปสร้างถาวรวัตถุที่เป็นสาธารณประโยชน์ เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้พระองค์ซึ่งสิ้นพระชนม์ขณะมีพระชันษา 18 ปี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้กรมโยธาธิการสร้างถนนสายสั้น ๆ ขนาดถนนข้าวสาร โดยโปรดเกล้าฯ ให้จัดสรรงบประมาณมาสมทบด้วยกนกวลี ชูชั.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนอุณากรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนจักรพงษ์

นนจักรพงษ์ในปี พ.ศ. 2559 ถนนจักรพงษ์ (Thanon Chakrabongse) เริ่มตั้งแต่ถนนเจ้าฟ้าถึงสะพานนรรัตน์สถาน (สะพานข้ามคลองรอบกรุง) เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงชนะสงครามกับแขวงตลาดยอด เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ถนนจักรพงษ์เป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น โดยทรงใช้วิธีการให้เจ้าของที่ดินริมถนนที่จะตัดขึ้นใหม่ออกเงินตัดถนนเอง แล้วพระราชทานนามว่า ถนนจักรพงษ์ ซึ่งมาจากพระนามของจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ต้นราชสกุลจักรพงษ์ พระราชโอรสซึ่งประสูติจากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง ถนนจักรพงษ์เป็นถนนที่ตัดผ่านย่านการค้าสำคัญของกรุงเทพมหานครคือย่านบางลำพู.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนจักรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนจักรเพชร

นนจักรเพชร (Thanon Chak Phet) เป็นถนนในท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มจากถนนเยาวราชตรงข้ามกับถนนมหาไชย ตามแนวขนานคลองรอบกรุง (คลองโอ่งอ่าง) แยกเลี้ยวตรงไปปากคลองตลาด ช่วงหัวเลี้ยวเป็นเชิงสะพานพระปกเกล้า ตัดผ่านถนนตรีเพชร ผ่านปลายถนนบ้านหม้อถึงเชิงสะพานเจริญรัช 31 มีความยาวทั้งสิ้น 1,120 เมตร ถนนจักรเพชรสร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2441 โปรดเกล้าฯ ให้กรมโยธาธิการก่อสร้างถนนมีทางเดินสองข้างจากป้อมจักรเพชร หน้าวัดราชบุรณราชวรวิหาร (วัดเลียบ) ไปถึงปากคลองตลาด ต่อมาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างถนนต่ออีกช่วงหนึ่ง จากถนนเยาวราชมาตามแนวถนนกับกำแพงพระนครจนถึงป้อมจักรเพชร แล้วพระราชทานชื่อว่า "ถนนจักรเพชร" ตามชื่อป้อมจักรเพชรที่ถนนสายนี้ตัดผ่าน ทั้งนี้บริเวณรอบ ๆ ถนนจักรเพชรยังมีสิ่งก่อสร้างที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และมีความเก่าแก่สวยงามหลายแห่ง เช่น พระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ณ เชิงสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ หรือสะพานพุทธ, อาคารพาณิชย์ตามแนวปากคลองตลาด เป็นต้น.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนจักรเพชร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนข้าวสาร

นนข้าวสาร ถนนข้าวสาร (Thanon Khao San) เป็นถนนในท้องที่แขวงตลาดยอด เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีระยะทางเริ่มตั้งแต่ถนนจักรพงษ์หน้าวัดชนะสงคราม ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงถนนตะนาวใกล้สี่แยกคอกวัว.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนข้าวสาร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนดินสอ

ลาว่าการกรุงเทพมหานคร ถนนดินสอ (Thanon Dinso) ถนนเส้นหนึ่งในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นที่วงเวียนเสาชิงช้าที่ถนนบำรุงเมือง บริเวณหน้าเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ และทอดยาวออกไปยังถนนราชดำเนินกลางผ่านอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ไปสิ้นสุดลงที่แยกสะพานวันชาติ เชิงสะพานเฉลิมวันชาติ โดยเป็นถนนที่เป็นเส้นตรงตลอดทั้งสาย มีความยาวทั้งสิ้น 850 เมตร ถนนดินสอ เป็นถนนที่สร้างขึ้นในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 เหตุที่ได้ชื่อว่า "ดินสอ" เนื่องจากแถบนี้ในช่วงกรุงศรีอยุธยา ผู้คนที่อาศัยอยู่ที่นี่มีอาชีพทำดินสอและกระดาษ จนได้ชื่อว่า "ย่านป่าดินสอ" ปรากฏเป็นหลักฐานในเอกสารจากหอหลวง เรื่องคำให้การขุนหลวงวัดประดู่ ความว่า "ย่านป่าดินสอ ริมวัดพระงาม มีร้ายขายดินสอศิลาอ่อนแก่ แลดินสอขาวเหลือง ดินสอดำ ชื่อตลาดบ้านดินสอ" จนล่วงมาถึงยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ อาชีพทำดินสอของผู้คนแถบนี้ก็ยังคงอยู่ และถูกเรียกว่า "ย่านดินสอ" หรือ "บ้านดินสอ" ต่อมามีการสร้างถนนขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนดินสอ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนตรีเพชร

นนตรีเพชร ช่วงแยกเฉลิมกรุง หน้าศาลาเฉลิมกรุง ถนนตรีเพชร (Thanon Tri Phet) เป็นถนนในท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนเจริญกรุง (แยกเฉลิมกรุง ตรงข้ามถนนตีทอง) ไปทางทิศใต้ ตัดกับถนนพาหุรัดที่แยกพาหุรัด แล้วตรงไปถึงเชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า ซึ่งถนนจักรเพชรตัดผ่าน ถนนตรีเพชรเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพชรุตม์ธำรง พระราชโอรสซึ่งประสูติจากสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ และสิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2430 ขณะพระชันษา 7 ปี และพระราชทานชื่อถนนว่า "ถนนตรีเพชร" เดิมนั้นถนนตรีเพชรเริ่มต้นตั้งแต่ถนนเจริญกรุงจดถนนพาหุรัด ต่อมาใน พ.ศ. 2441 โปรดเกล้าฯ ให้ตัดถนนตรีเพชรต่อจากถนนพาหุรัดถึงถนนจักรเพชร และใน พ.ศ. 2475 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีงานฉลองพระนคร 150 ปี พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานพระพุทธยอดฟ้าขึ้นในแนวตรงจากถนนตรีเพชร จึงให้ขยายถนนตรีเพชรตั้งแต่ช่วงจดถนนพาหุรัดถึงช่วงจดถนนจักรเพชร ปัจจุบันถนนตรีเพชรมีระยะทางรวม 650 เมตร โดยผ่านสถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่น วัดราชบุรณราชวรวิหาร, ห้างไนติงเกล, ดิโอลด์สยามพลาซ่า และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นต้น ตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน..

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนตรีเพชร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนตะนาว

นนตะนาวช่วงบางลำพู ใกล้ถนนข้าวสาร ถนนตะนาว (Thanon Tanao) เป็นถนนในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนบำรุงเมืองที่สี่กั๊กเสาชิงช้า ตรงไปทางทิศเหนือ เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงศาลเจ้าพ่อเสือกับแขวงเสาชิงช้า ข้ามคลองหลอดวัดราชนัดดาเข้าสู่ท้องที่แขวงวัดบวรนิเวศ จากนั้นตัดข้ามถนนราชดำเนินกลางที่สี่แยกคอกวัว และเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงวัดบวรนิเวศกับแขวงตลาดยอด จนไปจดแยกที่ถนนบวรนิเวศน์ ถนนสิบสามห้าง และถนนตานีบรรจบกัน แต่เดิมถนนตะนาวเป็นส่วนหนึ่งของถนนเฟื่องนครที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2406-2407 มีการสันนิษฐานว่าชื่อถนนตะนาวน่าจะตั้งตามชาวตะนาวศรีที่พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯ ให้มาตั้งถิ่นฐาน เรียกกันว่า ถนนบ้านตะนาวศรี ถนนบ้านตะนาวหรือถนนตะนาว ปัจจุบัน ถนนตะนาวเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะที่เป็นที่ตั้งของศาลเจ้าพ่อเสือ พระนคร ศาลเจ้าจีนที่มีชื่อเสียงโด่งดัง และยังได้รับความนับถือแม้กระทั่งจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ และยังเป็นแหล่งของร้านอาหารอร่อยที่ขึ้นชื่ออีกจำนวนมากเช่นเดียวกับถนนมหรรณพ, แพร่งภูธร และแพร่งนรา ที่อยู่ใกล้เคียง เช่น ก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลาและเย็นตาโฟ, ราดหน้าและหมูสะเต๊ะ, เผือกทอด, กวยจั๊บ บางร้านยังเป็นร้านที่ได้รับการแนะนำหรือบีบกูร์ม็องจากมิชลินไกด์อีกด้ว.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนตะนาว · ดูเพิ่มเติม »

ถนนตีทอง

นนตีทอง (Thanon Ti Thong) เป็นถนนในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนบำรุงเมือง (แยกเสาชิงช้า) ท้องที่แขวงวัดราชบพิธ ไปทางทิศใต้ ข้ามคลองหลอดวัดราชบพิธเข้าสู่ท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ ไปจนถึงถนนเจริญกรุง (แยกเฉลิมกรุง) ถนนตีทองสร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นถนนสายสั้น ๆ เชื่อมระหว่างถนนเจริญกรุงกับถนนบำรุงเมือง ซึ่งเป็นถนนที่สร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถนนสายนี้ตัดผ่านย่านของชุมชนที่มีอาชีพทำทองคำเปลว จึงเรียกว่า "ถนนตีทอง" โดยบรรพบุรุษของชาวชุมชนนั้นเป็นชาวลาวที่อพยพมาจากเวียงจันทร์และหลวงพระบาง ตั้งแต่ยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ถนนตีทองมีความยาว 525 เมตร ต้นถนนจดถนนบำรุงเมืองก่อนถึงลานเสาชิงช้า หัวมุมถนนด้านตะวันออกเป็นที่ตั้งของวัดสุทัศนเทพวราราม ฟากตะวันตกของถนนมีซอย ซึ่งยังเหลือชื่อว่าเป็นแหล่งทำทองคือ "ซอยเฟื่องทอง" และปัจจุบันเป็นแหล่งรวมร้านค้าเสื้อผ้าเครื่องแบบและยศประดับของข้าราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะทหาร และตำรวจ รวมถึงถ้วยรางวัลต่าง ๆ อีกด้ว.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนตีทอง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนประชาธิปก

นนประชาธิปก ถนนประชาธิปก (Thanon Prajadhipok) เป็นถนนสายสำคัญในพื้นที่เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยมีจุดเริ่มต้นจากวงเวียนใหญ่ ตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือในพื้นที่แขวงหิรัญรูจี ผ่านทางแยกบ้านแขก (ตัดกับถนนอิสรภาพ) และเข้าพื้นที่แขวงวัดกัลยาณ์ ข้ามคลองสมเด็จเจ้าพระยา ผ่านวงเวียนเล็ก (ตัดกับถนนอรุณอมรินทร์และถนนสมเด็จเจ้าพระยา) หลังจากนั้นถนนจะแยกออกเป็นสามทาง ทางแรกมุ่งหน้าข้ามสะพานพระปกเกล้า เชื่อมกับถนนจักรเพชรในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร และทางที่สองมุ่งหน้าข้ามสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ เชื่อมกับถนนตรีเพชรในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร และทางที่สามมุ่งวัดประยุรวงศาวาส ไปสิ้นสุดที่ใต้สะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ โดยมีแนวถนนที่ต่อเนื่องไปคือถนนพญาไม้ในพื้นที่แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน ระยะทางจากวงเวียนใหญ่ถึงสะพานพระปกเกล้ายาวประมาณ 900 เมตร และยังเป็นเส้นแบ่งระหว่างเขตธนบุรี (ฝั่งขาเข้าเมือง) กับเขตคลองสาน (ฝั่งขาออกเมือง) อีกด้วย ถนนประชาธิปกเป็น "ถนนสายที่ 1" ในโครงการตัดและขยายถนน 11 สายในจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนครเพื่อรองรับการก่อสร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (สะพานพระพุทธยอดฟ้า) เมื่อปี พ.ศ. 2472 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น เพื่อตัดและขยายถนนฝั่งจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร พ.ศ. 2473 ได้กำหนดแนวเส้นทางถนนสายที่ 1 ไว้ตั้งแต่เชิงสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ ตัดกับถนนสายที่ 2 (ปัจจุบันคือถนนอรุณอมรินทร์และถนนสมเด็จเจ้าพระยา) ถนนสายที่ 3 (ปัจจุบันคือถนนอิสรภาพ) และถนนสายที่ 4 (ปัจจุบันคือถนนอินทรพิทักษ์และถนนลาดหญ้า) ไปจนถึงคลองดาวคะนอง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเสนอชื่อถนนสายที่ 1 ของโครงการนี้ถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า "ถนนพระปกเกล้า" และ "ถนนประชาธิปก" เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระนามเดิมคือสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์) ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาและสร้างถนนเชื่อมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนคร เมื่อพระองค์มีพระบรมราชวินิจฉัยแล้วได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อถนนสายนี้ว่า ถนนประชาธิปกกนกวลี ชูชั.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนประชาธิปก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเฟื่องนคร

นนเฟื่องนคร (Thanon Fueang Nakhon) เป็นถนนในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนบำรุงเมือง (สี่กั๊กเสาชิงช้า) ในท้องที่แขวงวัดราชบพิธ ไปทางทิศใต้ ข้ามคลองหลอดวัดราชบพิธ เข้าสู่ท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ จนถึงถนนเจริญกรุง (สี่กั๊กพระยาศรี) รวมระยะทางประมาณ 0.5 กิโลเมตร ถนนเฟื่องนครเป็นถนนที่สร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นถนนรุ่นแรกที่ใช้เทคนิคการสร้างตามแบบตะวันตก โดยเริ่มตั้งแต่กำแพงเมืองด้านใต้ คือใต้ปากคลองตลาด ผ่านบ้านหม้อ บ้านญวนตัดกับถนนเจริญกรุงเป็นสี่แพร่งหรือสี่กั๊กพระยาศรี และตัดกับถนนบำรุงเมืองเป็นสี่แพร่งหรือสี่กั๊กเสาชิงช้า ผ่านวัดมหรรณพาราม โรงเลี้ยงวัวหลวง หรือบ้านท้าวประดู่ในวรรณกรรมระเด่นลันได ซึ่งปัจจุบันนี้คือ สี่แยกคอกวัว สวนหลวง ไปจนถึงกำแพงเมืองด้านเหนือที่ข้างวัดบวรนิเวศวิหาร โดยเริ่มทำพร้อมถนนบำรุงเมืองใน พ.ศ. 2406 และสร้างเสร็จใน พ.ศ. 2407 จากนั้นได้พระราชทานนามว่า "ถนนเฟื่องนคร" ซึ่งมีความหมายเกี่ยวกับความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง อันสอดคล้องกับชื่อถนนเจริญกรุง และถนนบำรุงเมือง.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนเฟื่องนคร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเพชรเกษม

นนเพชรเกษม (Thanon Phet Kasem) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 สายกรุงเทพมหานคร–จุดผ่านแดนถาวรสะเดา (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานของประเทศไทย ที่มีเส้นทางมุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย มีระยะทาง 1277.512 กิโลเมตร นับเป็นทางหลวงหรือถนนสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย ถนนเพชรเกษมมีเส้นทางเริ่มต้นที่สะพานเนาวจำเนียร (ข้ามคลองบางกอกใหญ่) ตั้งอยู่บนเส้นแบ่งการปกครองระหว่างเขตบางกอกใหญ่กับเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร สิ้นสุดที่จุดผ่านแดนถาวรสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา บริเวณเขตแดนประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย เชื่อมต่อกับทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ ที่เมืองบูกิตกายูฮีตัม รัฐเกดะห์ ประเทศมาเลเซีย บางช่วงของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 123.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนเพชรเกษม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเยาวราช

รรยายกาศของเยาวราชยามค่ำคืนและร้านอาหารริมทาง ถนนเยาวราช (Thanon Yaowarat; 耀華力路) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ระยะทางความยาวตลอดเส้นทางประมาณ 1.5 กิโลเมตร ได้รับการกล่าวขานและขนานนามว่าเป็น "ถนนมังกร" โดยมีจุดเริ่มต้นของหัวมังกรที่ซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษาบริเวณวงเวียนโอเดียน ท้องมังกรอยู่ที่บริเวณตลาดเก่าเยาวราชและสิ้นสุดปลายหางมังกรที่บริเวณปลายสุดของถนน สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใช้ระยะเวลาในการตัดถนน 8 ปี ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2434 - พ.ศ. 2443 เพื่อให้เยาวราชกลายเป็นสถานที่สำหรับส่งเสริมการค้าขาย เดิมทีชื่อ "ถนนยุพราช" และได้โปรดเกล้าพระราชทานนามใหม่ว่า "ถนนเยาวราช" ถนนเยาวราชประกอบไปด้วยจุดสำคัญหลายจุดเช่น วงเวียนโอเดียน, ถนนเจริญกรุง ซึ่งอยู่ในท้องที่แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของถนนเยาวราชตัดกับถนนทรงสวัสดิ์ (สี่แยกเฉลิมบุรี), ถนนราชวงศ์ (สี่แยกราชวงศ์) และถนนจักรวรรดิ (สี่แยกวัดตึก) ข้ามคลองรอบกรุง (สะพานภาณุพันธุ์) เข้าสู่ท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร สิ้นสุดที่แยกถนนพีระพงษ์ตัดกับถนนมหาไชยและถนนจักรเพชร บริเวณถนนเยาวราชเป็นแหล่งชุมชนชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีนเป็นจำนวนมาก จัดเป็นย่านธุรกิจการค้า, การเงิน การธนาคาร, ร้านทอง, ภัตตาคาร ร้านอาหาร, ร้านค้า ฯลฯ รวมทั้งแหล่งท่องเที่ยวสำคัญแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานครโดยได้รับการขนานนามว่าเป็น "ไชนาทาวน์แห่งกรุงเทพมหานคร" จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และถือว่าเป็นไชนาทาวน์หรือชุมชนชาวจีนที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนเยาวราช · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเจริญกรุง

นนเจริญกรุงในสมัยรัชกาลที่ 5 ถนนเจริญกรุงในกลางปี พ.ศ. 2559 ช่วงเชิงสะพานพิทยเสถียร (สะพานเหล็กล่าง) ย่านตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ ถนนเจริญกรุง (Thanon Charoen Krung) ถนนสายสำคัญสายหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นตั้งแต่ถนนสนามไชยบริเวณวงเวียน รด. หน้าหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน สิ้นสุดที่แม่น้ำเจ้าพระยาที่ถนนตก บริเวณโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ และการไฟฟ้านครหลวง เขตยานวานา เป็นถนนรุ่นแรกที่ใช้เทคนิคการสร้างแบบตะวันตก ผ่านพื้นที่เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตสัมพันธวงศ์, เขตบางรัก, เขตสาทร และเขตบางคอแหลม และเป็นเส้นแบ่งของเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย (ด้านซ้าย) กับเขตสัมพันธวงศ์ (ด้านขวา) ตั้งแต่ช่วงคลองถมไปจนถึงบริเวณแยกหมอมี ถนนเจริญกรุงเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2405 แล้วเสร็จใน พ.ศ. 2407 มีความยาวจากถนนสนามไชยถึงดาวคะนอง 8,575 เมตร การก่อสร้างถนนเจริญกรุงนั้นเนื่องจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีชาวต่างประเทศเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯ มากขึ้น และมีพวกกงสุลได้เข้าชื่อกันขอให้สร้างถนนสายยาวสำหรับขี่ม้าหรือนั่งรถม้าตากอากาศและอ้างว่า “เข้ามาอยู่ที่กรุงเทพมหานครไม่มีถนนหนทางที่จะขี่รถม้าไปเที่ยว พากันเจ็บไข้เนือง ๆ” ในปีระกา พ.ศ. 2404 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค ต่อมาคือ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ที่สมุหพระกลาโหมเป็นแม่กอง พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมืองเป็นนายงาน รับผิดชอบในการก่อสร้างถนนช่วงตั้งแต่คูเมืองชั้นในถึงถนนตกริมแม่น้ำเจ้าพระยาที่ตำบลบางคอแหลม เรียกว่าถนนเจริญกรุงตอนใต้ (แต่ชาวบ้านมักเรียกว่าเจริญกรุงตอนล่าง) กว้าง 5 วา 4 ศอก (ประมาณ 10 เมตร หรือเทียบได้กับถนน 4 เลน) โดยมีนายเฮนรี อาลาบาศเตอร์ (ต้นสกุลเศวตศิลา) เป็นผู้สำรวจแนวถนนและเขียนแผนผังถนน และในปีจอ พ.ศ. 2405 โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) เป็นแม่กอง พระยาบรรหารบริรักษ์ (สุ่น) เป็นนายงาน รับผิดชอบการก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนใน คือช่วงระยะทางตั้งแต่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ์) ถึงสะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็กบน) กว้าง 4 วา โดยสร้างเป็นถนนดินอัด เอาอิฐเรียงตะแคงปูให้ชิดกัน ตรงกลางนูนสูง เมื่อถูกฝนไม่กี่ปีก็ชำรุด การก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนในนี้เดิมกำหนดให้ตัดตรงจากสะพานดำรงสถิต ถึงกำแพงเมืองด้านถนนสนามไชย แต่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทักท้วงว่าการสร้างถนนตรงมาสู่พระบรมมหาราชวังอาจเป็นชัยภูมิให้ข้าศึกใช้ตั้งปืนใหญ่ยิงทำลายกำแพงเมืองได้ จึงต้องเปลี่ยนแนวถนนมาหักมุมเลี้ยวตรงเชิงสะพานดำรงสถิต เมื่อสร้างถนนเจริญกรุงเสร็จใหม่ ๆ นั้น ยังไม่ได้พระราชทานนาม จึงเรียกกันทั่วไปว่า ถนนใหม่ และชาวยุโรปเรียกว่า นิวโรด (New Road) ชาวจีนเรียกตามสำเนียงแต้จิ๋วว่า ซิงพะโล่ว (新打路) แปลว่าถนนตัดใหม่ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนว่า "ถนนเจริญกรุง" ซึ่งมีความหมายถึงความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง เช่นเดียวกับชื่อถนนบำรุงเมืองและถนนเฟื่องนคร ที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในคราวเดียวกัน.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนเจริญกรุง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเจ้าฟ้า

นนเจ้าฟ้า (Thanon Chao Fa) เป็นถนนสายสั้น ๆ สายหนึ่ง ในแขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นที่ถนนพระอาทิตย์ ริมแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณเชิงสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้าและท่าช้างวังหน้า ทอดผ่านตรอกโรงไหม, ซอยรามบุตรี และไปสิ้นสุดที่บริเวณจุดตัดกับถนนจักรพงษ์, ถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้า และถนนราชดำเนินกลาง รวมระยะทาง 570 เมตร โดยชื่อถนนนั้นมาจากพระนามพระอิสริยยศ ของพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศราพงศ์ พระโอรสในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ กับพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดาราวดี เนื่องจากในยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ บริเวณท่าช้าง หรือวังหน้า อันเป็นจุดเริ่มต้นของถนน เคยเป็นที่ตั้งวังประทับของพระองค์มาก่อน.

ใหม่!!: เขตพระนครและถนนเจ้าฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบองคมนตรี

ทำเนียบองคมนตรี เป็นสถานที่ทำงานของคณะองคมนตรี ตั้งอยู่ในบริเวณพระราชอุทยานสราญรมย์ ถนนสราญรมย์ ตรงกันข้ามกับพระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท พระบรมมหาราชวัง เดิมคณะองคมนตรี ใช้สถานที่ทำงานอยู่ในบริเวณสำนักราชเลขาธิการ ซึ่งคับแคบไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงานของคณะองคมนตรีซึ่งมีจำนวนถึง 19 คน และต้องใช้ห้องทำงานรวมกัน ไม่มีห้องทำงานเป็นสัดส่วน จึงได้ก่อสร้างที่ทำการของคณะองคมนตรี ในบริเวณพระราชอุทยานสราญรมย์ เมื่อ..

ใหม่!!: เขตพระนครและทำเนียบองคมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดในประเทศไทย

ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.

ใหม่!!: เขตพระนครและที่สุดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ท่าช้างวังหลวง

ท่าช้างวังหลวง หรือที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า ท่าช้าง เป็นท่าเรือริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่บริเวณสุดถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและท่าช้างวังหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าพระจันทร์

ท่าพระจันทร์ในยุคปัจจุบัน ท่าพระจันทร์ เป็นท่าเรือริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่บริเวณสุดถนนพระจันทร์ ข้างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ให้บริการเฉพาะเรือข้ามฟากในเส้นทางท่าพระจันทร์-วังหลัง และท่าพระจันทร์-พระปิ่นเกล้า บริเวณท่าเรือแห่งนี้เคยเป็นที่ตั้งของป้อมพระจันทร์ ซึ่งเป็นป้อมแห่งหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นตามแนวกำแพงพระนครด้านตะวันตก ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ใช้บริเวณพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นท้องสนามหลวง ถนนหน้าพระธาตุ ป้อมต่าง ๆ รอบกำแพงพระราชวังบวรสถานมงคลถูกรื้อลงหมดรวมถึงป้อมพระจันทร์ด้วย ถนนที่ตัดตรงสู่บริเวณที่เคยเป็นที่ตั้งของป้อมพระจันทร์จึงมีชื่อว่า "ถนนพระจันทร์" และท่าน้ำในบริเวณที่เคยเป็นที่ตั้งของป้อมพระจันทร์จึงเรียกว่า "ท่าพระจันทร์" มาจนถึงปัจจุบัน ใช้เป็นท่าเรือโดยสารซึ่งมีบริษัทเอกชนเป็นผู้ดำเนินกิจการเดินเรือข้ามฟากที่ประมูลมาจากกรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน บริเวณท่าพระจันทร์เป็นแหล่งการค้าที่คึกคักมาก โดยเฉพาะในช่วงเวลาเย็น โดยเป็นที่รู้จักกันดีของการเป็นตลาดพระเครื่องและวัตถุมงคลต่าง ๆ รวมถึงร้านค้า, ร้านอาหาร, ร้านหนังสือต่าง ๆ อีกด้ว.

ใหม่!!: เขตพระนครและท่าพระจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าราชวรดิฐ

250px ท่าราชวรดิฐ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ด้านหน้าพระที่นั่งราชกิจวินิจฉัย ถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ท่าราชวรดิฐเป็นท่าเทียบเรือพระทีนั่ง ตั้งอยู่ทางด้านตะวันตกของพระบรมมหาราชวัง เดิมเป็นที่ตั้งของพระตำหนักน้ำซึ่งสร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นตำหนักปักเสาลงในน้ำ ทอดคานเหมือนเรือนแพ มีหลังคามุงกระเบื้อง ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้รื้อตำหนักของเดิมเสีย แล้วลงเขื่อนถมที่ขึ้นเสมอพื้นดิน และสร้างพระที่นั่งขึ้นหมู่หนึ่งเป็นพลับพลาสูงตรงกลางองค์หนึ่ง พระราชทานนามว่า พระที่นั่งชลังคพิมานต่อพลับพลาสูงเข้าไปทางด้านตะวันออก มีพระที่นั่งสูงเป็นที่ประทับองค์หนึ่ง พระราชทานนามว่า พระที่นั่งทิพยสถานเทพสถิต พระที่นั่งข้างเหนือลดพื้นต่ำลงมาเป็นท้องพระโรงฝ่ายหน้าองค์หนึ่ง พระราชทานนามว่า พระที่นั่งราชกิจวินิจฉัย มีพระที่นั่งข้างใต้เหมือนกันกับองค์ข้างเหนือเป็นที่พักฝ่ายใน พระราชทานนามว่าพระที่นั่งอนงค์ในสราญรมย์ ส่วนตรงหน้าพระที่นั่งชลังคพิมานใต้ท่าเสด็จลงเรือ โปรดเกล้าฯ ให้ก่อเขื่อนทำสระเป็นที่สรงสระหนึ่งก่อกำแพงเป็นบริเวณข้างในทั้ง 3 ด้านมีป้อมริมน้ำปลายแนวกำแพงด้านเหนือ พระราชทานนามว่าป้อมพรหมอำนวยศิลป์ ป้อมข้างใต้ตรงชื่อ ป้อมอินทร์อำนวยศร และโปรดเกล้าฯ ให้เรียกรวมกันทั้งบริเวณว่า ท่าราชวรดิฐ แปลว่า ท่าอันประเสริฐของพระราชา ข้างเหนือขึ้นไปทำท่าสำหรับเรือข้าราชการอีกท่าหนึ่ง โปรดเกล้าฯ ให้เรียกว่า ท่านิเวศน์วรดิฐ ซึ่งปัจจุบันเป็นท่าเรือรับส่งข้าราชการทหารเรือและประชาชนทั่วไปข้ามฟากแม่น้ำเจ้าพระยาจากฝั่งพระนครไปยังฝั่งธนบุรีขึ้นตรงท่าของกรมอู่ทหารเรือ ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระที่นั่งในบริเวณท่าราชวรดิฐชำรุดจึงโปรดเกล้าฯ ให้ซ่อมรักษาพระที่นั่งราชกิจวินิจฉัยไว้ นอกนั้นให้รื้อเสีย ปัจจุบันท่าราชวรดิฐยังเป็นที่เสด็จประทับในการเสด็จโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมาร.

ใหม่!!: เขตพระนครและท่าราชวรดิฐ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าเตียน

ประชาชนทั่วไปและนักท่องเที่ยวลงเรือด่วนเจ้าพระยา ร้านค้าและอาคารพาณิชย์ทางเข้าตลาดท่าเตียน หลังการปรับปรุง ท่าเตียน เป็นท่าเรือและตลาดแห่งหนึ่ง ในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บนถนนมหาราช ด้านตะวันตกติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา ท่าเตียน มีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนานตั้งแต่ยุคเริ่มต้นสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ โดยอยู่บริเวณด้านหลังพระบรมมหาราชวัง และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม โดยที่ชื่อ "ท่าเตียน" มีที่มาต่าง ๆ กันไป บ้างก็ว่าเกิดจากในรัชสมัยรัชกาลที่ 4 ที่แถบนี้เคยเกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ จนราบเรียบเหี้ยนเตียน หรือเชื่อว่ามาจาก "ฮาเตียน" เมืองท่าแห่งหนึ่งในตอนใต้ของประเทศเวียดนาม (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดเกียนซาง ในต้นกรุงรัตนโกสินทร์เป็นดินแดนของไทย ในชื่อ บันทายมาศ หรือ พุทไธมาศ) เนื่องจากแถบนี้ในอดีตเคยเป็นที่อยู่อาศัยของชาวญวนอพยพหนีภัยสงครามจากเว้ ตั้งแต่ยุคกรุงธนบุรี ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และชาวญวนเหล่านี้ได้เรียกชื่อถิ่นฐานนี้ว่าฮาเตียน เนื่องจากมีภูมิทัศน์คล้ายกับฮาเตียนเพื่อคลายความคิดถึงถิ่นฐานตนเอง และได้เรียกเพี้ยนมาเป็นท่าเตียนในที่สุด แต่ทั้งนี้ท่าเตียนปรากฏมาตั้งแต่อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา โดยปรากฏหลักฐานเป็นนิราศของหม่อมพิมเสนเรียกว่า "บางจีน" สันนิษฐานว่าอาจเคยเป็นถิ่นที่อยู่ของชาวจีนด้วย และยังมีตำนานเมืองที่โด่งดังมาก คือ เรื่องของยักษ์เฝ้าประตูวัดสองฟากต่อสู้กัน คือ ยักษ์วัดแจ้ง จากฝั่งธนบุรี ต่อสู้กับ ยักษ์วัดโพธิ์ แห่งฝั่งพระนคร เนื่องจากผิดใจกันเรื่องการขอยืมเงินกัน จนในที่สุดที่บริเวณนี้เหี้ยนเตียนราบเรียบไปหมด ซึ่งในบางตำนานก็มีการเสริมเติมแต่งเข้าไปอีกว่า ที่ยักษ์ทั้งสองตนนั้นหยุดสู้กันเพราะมีโยคีหรือฤๅษีมาห้าม บ้างก็ว่าเป็นยักษ์วัดพระแก้วเข้ามาห้าม ปัจจุบัน ท่าเตียนเป็นทั้งตลาดและสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและได้รับความนิยม มีร้านอาหารและร้านกาแฟเป็นจำนวนมาก ในส่วนของตลาด เป็นตลาดที่นับว่าใหญ่ที่สุดของกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น เป็นตลาดที่มีสินค้าหลากหลายประเภทขายทั้งสินค้าทางการเกษตรหรือข้าวของเครื่องใช้ เนื่องจากเป็นท่าจอดเรือที่มีชัยภูมิเหมาะสม โดยในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์มีชื่อเรียกว่า "ตลาดท้ายวัง" หรือ "ตลาดท้ายสนม" กินอาณาบริเวณตั้งแต่ถนนท้ายวังจนถึงตลาดท่าเตียนในปัจจุบัน เป็นตลาดที่บรรดานางในหรือนางสนมจะออกจากกำแพงพระบรมมหาราชวังมาจับจ่ายซื้อข้าวของต่าง ๆ โดยสินค้าที่นิยมมากที่สุด คือ ดอกไม้ ต่อมาได้รวมเป็นตลาดเดียวกับตลาดท่าเตียน จนกระทั่งถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 5 จึงเริ่มมีการสร้างอาคารขึ้นมาอย่างเป็นรูปร่าง โดยวางแนวเป็นรูปตัวยู ด้วยสถาปัตยกรรมแบบนีโอคลาสสิก และมีสินค้าที่หลากหลายมากขึ้น และกลายมาเป็นแหล่งค้าส่งแห่งแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ เช่น วัสดุก่อสร้าง, เครื่องตัดหญ้า, อะไหล่รถยนต์, ผักและผลไม้, น้ำตาล, ลูกอมหรือท็อฟฟี่ รวมถึงอาหารทะเลแห้ง เป็นต้นในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 ท่าเตียนมีสถานะเป็นตำบลชื่อ "ตำบลท่าเตียน" ขึ้นอยู่กับอำเภอพระราชวัง (เขตพระนครในปัจจุบัน) ปัจจุบันอาคารพาณิชย์ตลอดจนบ้านเรือนต่าง ๆ ได้รับการบูรณะปรับปรุงโดยสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและท่าเตียน · ดูเพิ่มเติม »

ท้องสนามหลวง

ท้องสนามหลวง ท้องสนามหลวง หรือ สนามหลวง เป็นสนามขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ด้านหน้าวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 74 ไร่ 63 ตารางวา ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติ ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 94 ตอนที่ 126 ลงวันที่ 13 ธันวาคม..

ใหม่!!: เขตพระนครและท้องสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ขุนด่านเจ้าพ่อเสือ บางหว้า

นด่านเจ้าพ่อเสือ บางหว้า ขุนด่านเจ้าพ่อเสือ บางหว้า หรือที่นิยมเรียกว่า ศาลเจ้าพ่อเสือ บางหว้า หรือ ศาลเจ้าพ่อเสือ ภาษีเจริญ เป็นศาลเจ้าจีนตั้งอยู่ริมถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ ศาลเจ้าพ่อเสือ บางหว้า แห่งนี้ก่อสร้างขึ้นในยุคที่มีจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นยุคที่มีการตัดถนนและเส้นทางคมนาคมต่าง ๆ มากมาย เดิมที ศาลแห่งนี้เป็นเพียงศาลเพียงตาเล็ก ๆ ริมถนน ต่อมาได้มีการขยายถนนให้ใหญ่ขึ้น ศาลเพียงตาจึงถูกดินที่ขุดขึ้นมาฝังกลบจนมิด ต่อมาได้มีผู้ที่อาศัยอยู่บริเวณนั้น คือนายประเสริฐ ธรรมมา อดีตผู้ก่อตั้งศาลฝันเห็นมีนักรบโบราณ บอกให้นำศาลที่ฝังดินนั้นขึ้นมา เมื่อตื่นขึ้นจึงได้ขุดศาลขึ้นมาและบูรณะจนกลายมาเป็นศาลเจ้าเช่นในปัจจุบัน ในอดีตเป็นที่เล่าลือกันว่า มีผู้พบเห็นเสือโคร่งตัวใหญ่วนเวียนอยู่บริเวณนั้น จึงเป็นที่มาของศาล ส่วนองค์ประธานในศาล คือ "ตั่วเหล่าเอี๊ย" หรือ เจ้าพ่อเสือ เช่นเดียวกับศาลเจ้าพ่อเสือ พระนคร ในเขตพระนคร และเจ้าพ่อขุนด่าน ที่เชื่อว่าคือ นักรบโบราณผู้นั้น เป็นเจ้าเมืองหน้าด่านกรุงธนบุรี หนึ่งในทหารเสือในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชยุคธนบุรี ศาลเจ้าพ่อเสือ บางหว้า ได้รับการบูรณะครั้งใหญ่จากผู้มีจิตศัทธรา ขึ้นชื่ออย่างมากในเรื่องความศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งในปัจจุบันด้านข้างของศาล มีลานสำหรับฉายภาพยนตร์แก้บนอย่างถาวร สำหรับผู้ที่มาบนบานต่าง ๆ แล้วได้ตามที่บนบานไว้ มีการฉายทุกวัน วันละ 3 เรื่อง เริ่มตั้งแต่พระอาทิตย์ตกดิน และผู้ที่ขับขี่พาหนะผ่านไปมา มักจะแสดงความเคารพด้วยการยกมือไหว้หรือกดแตรเสียงดัง และในงานเทศกาลต่าง ๆ เช่น ตรุษจีน, สารทจีน ทางกรรมการศาลเจ้าจะมีการอัญเชิญเทวรูปองค์เจ้าพ่อมาให้สักการะบริเวณด้านหน้าศาลอีกด้วย ส่วนงานประจำปีของศาลจะอยู่ในช่วงต้นเดือนมีนาคมของทุกปี.

ใหม่!!: เขตพระนครและขุนด่านเจ้าพ่อเสือ บางหว้า · ดูเพิ่มเติม »

ณิชารีย์ โชคประจักษ์ชัด

ณิชารีย์ โชคประจักษ์ชัด (เกิด 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2534) ชื่อเล่น วาววา เป็นนักแสดงและนางแบบชาวไทยเชื้อสายจีน มีผลงานที่เป็นที่รู้จักจากละครเรื่อง The Sixth Sense สื่อรักสัมผัสหัวใจ และ บางระจัน.

ใหม่!!: เขตพระนครและณิชารีย์ โชคประจักษ์ชัด · ดูเพิ่มเติม »

ดาวทอง สิงหพัลลภ

วทอง สิงหพัลลภ หรือนายเปรม ถนอมวงศ์ เกิดเมื่อ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2477 ที่ จังหวัดระยอง สถิติการชก 7 ครั้ง ชนะ 4 (น็อค 3) แพ้ 3.

ใหม่!!: เขตพระนครและดาวทอง สิงหพัลลภ · ดูเพิ่มเติม »

ดิโอลด์สยามพลาซ่า

อลด์สยามพลาซ่า (The Old Siam Plaza) เป็นห้างสรรพสินค้าและศูนย์การค้า เป็นการร่วมทุนระหว่างธนาคารไทยพาณิชย์กับบริษัทแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บนเนื้อที่ 14 ไร่ ซึ่งเป็นที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตั้งอยู่ที่แยกพาหุรัด ด้านถนนพาหุรัดตัดกับถนนบูรพา ตลอดแนวจนถึงถนนตีทอง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บริเวณใกล้เคียงมีศาลาเฉลิมกรุง, ห้างไนติงเกล และตลาดพาหุรัด เดิมเป็นที่ตั้งของตลาดมิ่งเมือง ซึ่งเป็นแหล่งจำหน่ายเสื้อผ้าสำเร็จรูป และร้านรับตัดเย็บเสื้อผ้า จนกระทั่ง บริษัท สยามพาณิชย์พัฒนาอุตสาหกรรม จำกัด เข้าปรับปรุงพื้นที่ โดยสร้างอาคาร 4 ชั้นขึ้นใหม่ ตามรูปแบบสถาปัตยกรรมโบราณของย่านนั้น เพื่อเปิดเป็นห้างสรรพสินค้าดิโอลด์สยามพลาซ่า มีงานเปิดตัวอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: เขตพระนครและดิโอลด์สยามพลาซ่า · ดูเพิ่มเติม »

คลองโอ่งอ่าง

ลองโอ่งอ่าง คลองโอ่งอ่าง คือส่วนหนึ่งของคลองรอบกรุงที่ต่อจากคลองบางลำพู ตรงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ ปลายคลองไปออกแม่น้ำเจ้าพระยาใกล้วัดบพิตรพิมุข เป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างเขตพระนครกับเขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและคลองโอ่งอ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ความจริงวันนี้

วามจริงวันนี้ (Truth Today หรือ Today Fact) เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทความเห็นทางการเมืองของประเทศไทย ที่ออกอากาศในระหว่างวันที่ 21 กรกฎาคม-10 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 22.15-23.00 น. และวันอาทิตย์ เวลา 22.00-23.00 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (เอ็นบีที) ผลิตรายการโดย บริษัท เพื่อนพ้องน้องพี่ จำกัด มีนายวีระ มุสิกพงศ์ เป็นผู้ดำเนินรายการ ร่วมด้วย นายจตุพร พรหมพันธุ์ และ นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ เป็นผู้ร่วมรายการ ต่อมารายการได้กลับมาออกอากาศอีกครั้ง ทางสถานีประชาธิปไตย (ดี-สเตชัน) โดยเริ่มครั้งแรกเมื่อวันจันทร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2552 ซึ่งในช่วงนี้ ได้มีพิธีกรเสริมทดแทน กรณีที่พิธีกรชุดเดิมคนใดคนหนึ่ง ไม่สามารถมาดำเนินรายการได้ อีก 3 คน คือ นายก่อแก้ว พิกุลทอง, นายสมหวัง อัสราษี และนางสาวนารีรัตน์ นานเนิ้น แต่เนื่องจาก ดี-สเตชัน ถูกสั่งระงับออกอากาศ รายการจึงจำเป็นต้องยุติไปอีกครั้ง แต่ในวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2552 นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ กล่าวบนเวทีปราศรัยของกลุ่มคนเสื้อแดงในงานแดงทั้งแผ่นดินสัญจรว่ารายการจะกลับมาออกอากาศอีกครั้ง ทางสถานีประชาชน (พีเพิลแชแนล) ฉายอีกครั้งวันที่ 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เขตพระนครและความจริงวันนี้ · ดูเพิ่มเติม »

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับ 2 ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2481 ภายในการนำของหลวงดำริอิสรานุวรรตน์ ในระยะเริ่มแรกได้ก่อตั้งเป็น “แผนกวิชาการบัญชี” โดยเปิดสอน 2 หลักสูตร คือ.

ใหม่!!: เขตพระนครและคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)

ณะกรรมการกฤษฎีกา (Council of State) เป็นคณะกรรมการกฤษฎีกาแห่งประเทศไทย ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ตรวจพิจารณาร่างกฎหมายและยกร่างกฎหมาย กับทั้งให้ความเห็นทางกฎหมายแก่รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ คณะกรรมการกฤษฎีกามีสำนักงานเลขานุการคือ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

ใหม่!!: เขตพระนครและคณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Political Science, Thammasat University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ จัดเป็น 1 ใน 4 คณะวิชาก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นคณะวิชาลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: เขตพระนครและคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะที่เปิดสอนด้านวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน แห่งแรกของประเทศไทย หรือที่เรียกทั่วไปภายหลังเรียกว่า "นิเทศศาสตร์" ทั้งยังเป็นที่ตั้งของสมาคมวารสารศาสตร์แห่งประเทศไทยด้วย โดยปัจจุบันเป็นสถาบันชั้นนำของประเทศ ที่ผลิตบุคลากร แถวหน้าเพื่อยกระดับวิชาชีพและวิชาการด้านสื่อสารมวลชน.

ใหม่!!: เขตพระนครและคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับ 5 ของมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2497 เปิดสอนในหลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต.

ใหม่!!: เขตพระนครและคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ คป. เป็นคณะบุคคล อันประกอบด้วย กลุ่มทหาร ตำรวจ และ พลเรือน ซึ่งมีพลเอก สนธิ บุญยรัตกลินเป็นหัวหน้า ได้เข้ายึดอำนาจการปกครองราชอาณาจักรไทยไว้ได้ เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 มีที่ตั้ง ณ กองบัญชาการกองทัพบก ถนนราชดำเนินนอก เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะนิติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

ใหม่!!: เขตพระนครและคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นหนึ่งในสี่ของมหาวิทยาลัยภายหลังที่ได้ยกเลิกระบบการสอนแบบธรรมศาสตร์บัณฑิต และนับเป็นคณะเศรษฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไท.

ใหม่!!: เขตพระนครและคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราสัญลักษณ์งานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

ตราสัญลักษณ์งานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549 ตราสัญลักษณ์ งานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานตราสัญลักษณ์ สำหรับงานเฉลิมฉลองอันเป็นมหามงคลยิ่งนี้ จากการทูลเกล้าทูลกระหม่อม ถวายแบบ โดยรัฐบาล เพื่อทรงเลือกแบบที่เหมาะสมดังกล่าว ตราสัญลักษณ์นี้ ออกแบบโดย นายสมชาย ศุภลักษณ์อำไพพร.

ใหม่!!: เขตพระนครและตราสัญลักษณ์งานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี · ดูเพิ่มเติม »

ตึกโดม

ตึกโดม หรือ แม่โดม (ชื่อที่นิยมเรียกอย่างเคารพของบุคคลภายในมหาวิทยาลัย) แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือชื่ออย่างเป็นทางการเดิม อาคารโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอาคารทรงโดมยอดแหลม วางซ้อนตัวกัน 2 ชั้น ได้รับการออกแบบโดย นายจิตรเสน (หมิว) อภัยวงศ์ ด้วยการเชื่อมต่ออาคารทั้ง 4 หลัง ที่เป็นของกองพันทหารราบที่ 4 เดิม เข้าเป็นตึกเดียวกัน โดยจุดเชื่อมตรงกลางระหว่างอาคารที่ 2 และ 3 ได้ออกแบบให้มีลักษณะโดนเด่น ซึ่งศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ ผู้ประศาสน์การ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองได้ให้แนวคิด เพื่อให้เป็นสถาปัตยกรรม ที่มีลักษณะที่โดดเด่น ไม่ได้เลียนแบบชาติอื่นแต่อย่างใด ตึกโดมในปัจจุบัน คงเหลือเพียงอาคาร 2 และ 3 เดิม เท่านั้น เนื่องได้มีการทุบตึกฝั่งเหนือและใต้ออกเพื่อสร้างตึกคณะเศรษฐศาสตร์ สำนักหอสมุด (หอสมุดปรีดี พนมยงค์) และอาคารเอนกประสงค์ ตัวหลังคาตึกโดมเป็นรูปทรงกรวยยอดแหลม 2 ชั้น มีความหมายดังนี้.

ใหม่!!: เขตพระนครและตึกโดม · ดูเพิ่มเติม »

ประพัฒน์ กฤษณจันทร์

ลเรือเอก ประพัฒน์ กฤษณจันทร์ (11 มกราคม พ.ศ. 2473 - 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ และอดีตรองหัวหน้าคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาต.

ใหม่!!: เขตพระนครและประพัฒน์ กฤษณจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปากคลองตลาด

ตลาดดอกไม้ ปากคลองตลาด (Pak Khlong Talat) เป็นตลาดสดขนาดใหญ่ บริเวณถนนจักรเพชร ยาวจนไปถึงถนนมหาราช ตั้งโอบล้อมวัดราชบูรณะ โรงเรียนราชินีและโรงเรียนสวนกุหลาบ ประกอบไปด้วยตลาดใหญ่ถึง 4 แห่งตั้งติด ๆ กัน ปัจจุบันเน้นขายสินค้าเกษตรกรรมที่เน้นการค้าส่งผัก ผลไม้และดอกไม้สด ปากคลองตลาดติดอันดับที่ 4 (จากการจัดอันดับ 1 ใน 10 ของตลาดดอกไม้ทั่วโลก) ยังเป็นตลาดกล้วยไม้ที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลกอีกด้ว.

ใหม่!!: เขตพระนครและปากคลองตลาด · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมพระสุเมรุ

ป้อมพระสุเมรุ เป็นป้อมปราการที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1 ในสมัยนั้นได้มีการสร้างป้อมปราการ 14 แห่งเพื่อป้องกันพระนคร แต่เมื่อเวลาผ่านไป ป้อมปราการหมดความจำเป็น จึงถูกรื้อถอนไป ป้อมพระสุเมรุเป็น 1 ใน 2 ป้อมที่ยังคงเหลืออยู่ อีกป้อมหนึ่งคือป้อมมหากาฬ ชื่อป้อมพระสุเมรุได้นำมาตั้งเป็นชื่อถนนพระสุเมรุ ป้อมพระสุเมรุซึ่งสร้างมาแต่รัชกาลที่ 1 มีลักษณะสวยงามและเป็นประโยชน์ใช้สอยมากมาย มีเชิงเทิน ช่องยิงปืน ห้องเก็บกระสุนดินดำ และอาวุธยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ แต่ก็ชำรุดทรุดโทรมเป็นธรรมดา จนถึง พ.ศ. 2524 กรมศิลปากรได้ซ่อมแซมบูรณะตามรูปแบบเดิมจากภาพถ่ายในสมัยรัชกาลที่ 5 จนแลดูสง่างามเหมือนเดิม และยังปรับปรุงบริเวณโดยรอบให้เป็นสวนสาธารณะอีกด้วย โดยให้ชื่อว่า "สวนสันติชัยปราการ" มีพลับพลา ชื่อว่า "พระที่นั่งสันติชัยปราการ" ชุมชนโดยรอบป้อมพระสุเมรุ คือชุมชนถนนพระอาทิตย์ มีความเข้มแข็งด้านการมีส่วนร่วมสูงเช่นเดียวกับชุมชนป้อมมหากาฬ แต่มีความหลากหลายสูงกว่า ในสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อ..

ใหม่!!: เขตพระนครและป้อมพระสุเมรุ · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมมหากาฬ

ป้อมมหากาฬ ตั้งอยู่บริเวณเชิงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ ติดกับถนนมหาไชย แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ทางด้านหลังมีกำแพงเมืองพระนครหลงเหลืออยู่ ป้อมมหากาฬสร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ในปี พ.ศ. 2326 เป็นป้อม 1 ใน 14 ป้อมที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อป้องกันรักษาพระนคร มีลักษณะรูปแปดเหลี่ยม มีกำแพงล้อมรอบ 2 ชั้น เป็นป้อมประจำพระนครด้านตะวันออก ปัจจุบันป้อมมหากาฬเป็น 1 ใน 2 ป้อมที่ยังคงเหลืออยู่ในกรุงเทพมหานคร อีกป้อมหนึ่งคือป้อมพระสุเมร ทางกรุงเทพมหานคร และกรมศิลปากรได้บูรณะซ่อมแซมป้อมมหากาฬเมื่อคราวพระราชพิธีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี ในปี พ.ศ. 2525 และได้มีการบูรณะเรื่อยมาจนมีสภาพที่เห็นในปัจจุบัน ที่ตั้งด้านหนึ่งของป้อมเป็นที่อยู่ของชุมชนที่มีชื่อเสียงด้านลิเกโบราณ ผู้ที่ศึกษาด้านการมีส่วนร่วมของชุมชนทั้งชาวไทยและต่างประเทศมักจะมาสำรวจและทำวิจัยเรื่องการมีส่วนร่วมฯ ณ ชุมชนแห่งนี้ โดยมีประวัติการชุมนุมและต่อสู้มายาวนานกว่าสองทศวรรษ ในสมัยรัชกาลที่ 1-4 เป็นบ้านพักขุนนางชั้นสูงหลายท่าน เช่น เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) เสนาบดีกรมเวียง (กรมเมือง) ฯลฯ เป็นต้น ภายหลังได้มีการรื้อบ้านที่อยู่ติดกับป้อมมหากาฬ คงเหลือไว้แค่บ้านที่จะอนุรักษ์ต่อไป บริเวณที่ได้มีการรื้อบ้าน จะเป็นสวนสาธารณะต่อไป.

ใหม่!!: เขตพระนครและป้อมมหากาฬ · ดูเพิ่มเติม »

นิวส์วัน (เอเอสทีวี)

นิวส์วัน (ชื่อเดิม เอเอสทีวี) เป็นสถานีข่าว 24 ชั่วโมงแห่งที่สองของประเทศไทย (แห่งแรกของประเทศไทยคือ เนชั่น แชนแนล) เดิมมีชื่อว่า 11NEWS1 ดำเนินการโดย บริษัท ไทยเดย์ดอตคอม จำกัด โดยเดิมออกอากาศทางยูบีซี 9 ปัจจุบันแพร่ภาพออกอากาศทางดาวเทียม เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมที่มีบริษัท เอเชียไทม์ออนไลน์ จำกัด เขตปกครองพิเศษฮ่องกง เป็นเจ้าของ บริษัท ผู้จัดการ 360 จำกัด ประเทศไท.

ใหม่!!: เขตพระนครและนิวส์วัน (เอเอสทีวี) · ดูเพิ่มเติม »

แยกบางลำพู

แยกบางลำพู (Bang Lamphu Intersection) เป็นทางแยกในลักษณะสี่แยกในพื้นที่บางลำพู แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดกันของถนนพระสุเมรุ, ถนนสามเสน และถนนจักรพงษ์ โดยถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของถนนสามเสนและถนนจักรพงษ์ ในอดีต บริเวณทางแยกทางฝั่งถนนพระสุเมรุนี้เป็นที่ตั้งห้างนิวเวิลด์ ห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ที่เปิดดำเนินกิจการมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและแยกบางลำพู · ดูเพิ่มเติม »

แยกบ้านหม้อ

แยกบ้านหม้อ (Ban Mo Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนพระพิทักษ์, ถนนบ้านหม้อ และถนนพาหุรัด ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ใจกลางพระนคร เป็นย่านค้าขายอะไหล่เครื่องใช้ไฟฟ้า, วิทยุสื่อสาร, ลำโพง และเครื่องเสียง รวมถึงเครื่องประดับมีค่า จำพวกทองคำ และเพชร ปัจจุบันสี่แยกบ้านหม้อมีการจัดการจราจรแบบทิศทางเดียวทั้ง 4 ด้าน เส้นทางเข้าสู่ทางแยกได้แก่ถนนพระพิทักษ์และถนนบ้านหม้อ (จากปากคลองตลาด) เส้นทางออกจากทางแยกได้แก่ถนนบ้านหม้อ (ไปสี่กั๊กพระยาศรี) และถนนพาหุรัด สถานที่สำคัญบริเวณแยก คือ ตลาดบ้านหม้อ ในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นตลาดที่คึกคัก ปัจจุบันที่บริเวณเหนือประตูทางเข้ายังคงปรากฏสถาปัตยกรรมรูปหม้อ บ่งบอกถึงชื่อของสถานที่ ซึ่งอาชีพปั้นหม้อดินเผา เป็นอาชีพแต่ดั้งเดิมของชาวชุมชนบริเวณนี้ ซึ่งเป็นชาวมอญ และเป็นที่มาของชื่อถนนรวมถึงสี่แยก รวมถึงยังมีศาลเจ้าบ้านหม้อเล่าปึงเถ่ากง (本頭公廟) ศาลเจ้าจีนเก่าแก่ของชาวแต้จิ๋ว ที่สร้างมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและแยกบ้านหม้อ · ดูเพิ่มเติม »

แยกพาหุรัด

แยกพาหุรัด (Phahurat Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดถนนตรีเพชร และถนนพาหุรัด ในพื้นที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ใจกลางย่านการค้าพาหุรัด แหล่งค้าขายเสื้อผ้าสำเร็จรูปแหล่งใหญ่ และเป็นพื้นที่ต่อเนื่องกับตลาดบ้านหม้อ ซึ่งเป็นย่านค้าขายอะไหล่เครื่องใช้ไฟฟ้า ลำโพงและเครื่องเสียง รวมไปถึงร้านขายเครื่องเพชร อัญมณีและเครื่องประดับ นอกจากนี้บริเวณแยกพาหุรัดยังเป็นย่านการค้าที่เก่าแก่อีกแห่งหนึ่งของกรุงเทพฯ ในอดีตเคยมีตลาดมิ่งเมืองเป็นแหล่งค้าผ้าและอุปกรณ์ตัดเย็บที่มีชื่อเสียง ปัจจุบันได้กลายเป็นศูนย์การค้าดิโอลด์สยาม ซึ่งเป็นศูนย์การค้าสมัยใหม่ที่ยังคงเอกลักษณ์ความเป็นย่านเก่าของกรุงเทพฯ และยังมีห้างไนติงเกล ห้างสรรพสินค้ายุคเก่าที่ยังคงเปิดให้บริการจนถึงปัจจุบันอยู่ที่แยกพาหุรั.

ใหม่!!: เขตพระนครและแยกพาหุรัด · ดูเพิ่มเติม »

แยกวัดตึก

แยกวัดตึก (Wat Tuek Intersection) เป็นทางแยกแห่งหนึ่ง ในแขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เป็นสี่แยกตัดกันระหว่างถนนเยาวราชกับถนนจักรวรรดิ ถือได้ว่าเป็นส่วนปลายของถนนเยาวราช ชื่อ "วัดตึก" ของทางแยกได้มาจากชื่อของวัดชัยชนะสงคราม หรือที่เคยเรียกกันว่า วัดตึก ซึ่งเดิมเคยเป็นบ้านของเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ซึ่งตัวอาคารเดิมนั้นส่วนใหญ่เป็นตึก เมื่อถวายที่ให้สร้างเป็นวัด ผู้คนจึงนิยมเรียกขานกันว่า วัดตึก ซึ่งตั้งอยู่ใกล้กับทางแยก ถนนจักรวรรดิจากแยกวัดตึก เป็นการจราจรแบบทางเดียวไปสิ้นสุดที่เชิงสะพานพระปกเกล้าที่ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาไปยังฝั่งธนบุรี และเป็นจุดตัดระหว่างพื้นที่แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ กับพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร อีกด้วย ปัจจุบัน บริเวณแยกวัดตึกเป็นที่ตั้งของร้านขายยาสมุนไพรทั้งแผนจีนและแผนไทย ที่มีประวัติเก่าแก่ยาวนานมากกว่า 100 ปี และบริเวณเวิ้งนาครเขษมด้านถนนเยาวราช ที่มุ่งหน้าไปยังสะพานภาณุพันธ์ ยังปรากฏป้ายรถรางป้ายสุดท้ายของกรุงเทพมหานคร และของประเทศไทยหลงเหลืออยู่ด้ว.

ใหม่!!: เขตพระนครและแยกวัดตึก · ดูเพิ่มเติม »

แยกวงเวียน รด. และแยกท้ายวัง

แยกวงเวียน ร. และ แยกท้ายวัง เป็นวงเวียนจุดตัดถนนสนามไชย, ถนนเจริญกรุง และถนนท้ายวัง ในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ซึ่งทางแยกทั้ง 2 แห่งอยู่ที่จุดเดียวกัน แต่แนวถนนเจริญกรุงและถนนท้ายวังจะเยื้องกันเล็กน้อย จึงมีการจัดการจราจรเป็นรูปแบบวงเวียน โดยไม่มีสัญญาณไฟจราจร วงเวียนแห่งนี้เป็นเพียงเครื่องกั้นทางชั่วคราวที่สามารถย้ายออกได้เมื่อมีพระราชพิธีต่าง ๆ ซึ่งต้องใช้พื้นที่บนถนนสนามไชย เช่น พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นต้น บริเวณทางแยกนี้มีสถานที่สำคัญตั้งอยู่ทั้ง 4 มุมถนน ได้แก่ หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน (สวนเจ้าเชตุ) ซึ่งในอดีตใช้ชื่อกรมการรักษาดินแดน มีชื่อย่อว่า ร. เป็นที่มาของชื่อทางแยก เยื้องกันเป็นพระบรมมหาราชวัง ด้านท้ายวัง (พระตำหนักสวนกุหลาบ) และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) ซึ่งมีถนนท้ายวังแบ่งเขตวัดกับวัง และมีสวนสราญรมย์อยู่อีกด้านหนึ่งของทางแยก.

ใหม่!!: เขตพระนครและแยกวงเวียน รด. และแยกท้ายวัง · ดูเพิ่มเติม »

แยกสามยอด

แยกสามยอด เป็นทางแยกแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เป็นสี่แยกในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร เป็นทางตัดระหว่างถนนเจริญกรุงและถนนมหาไชย โดยชื่อ "สามยอด" นั้นมาจาก "ประตูสามยอด" อันเป็นส่วนหนึ่งของประตูพระบรมมหาราชวังรอบนอก สร้างขึ้นในรัชสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อครั้งสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เดิมเป็นประตูไม้ ต่อมาในรัชสมัยรัชกาลที่ 3 ได้มีการสร้างเพิ่มเติมเป็นก่ออิฐถือปูนบานไม้ ด้านบนเป็นหอรบ ในรัชสมัยรัชกาลที่ 4 มีการตัดถนนเจริญกรุงขึ้น และวางแนวถนนผ่านประตูนี้เข้าในเขตกำแพงเมือง จนรัชสมัยรัชกาลที่ 5 การจราจรที่ผ่านประตูมีความคับคั่ง เกิดอุบัติเหตุรถม้าชนกันเป็นประจำทุกวัน จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างประตูเป็นสามช่อง ช่องซ้ายสำหรับรถรางผ่าน อีกสองช่องสำหรับรถม้า, รถลาก และผู้คนสัญจรไปมา แต่ละช่องจะมียอดแหลมขึ้นไปจึงเรียกกันว่า "ประตูสามยอด" จึงทำให้ย่านนั้นถูกเรียกว่า "สามยอด" ไปด้วย โดยเป็นย่านที่มีความคึกคักมากเนื่องจากใกล้กับแหล่งการค้า เช่น สำเพ็ง, เยาวราช, สะพานหัน และยังเป็นที่ตั้งของโรงหวย ก ข รวมถึงมีสถานที่สำคัญ คือ วังบูรพาภิรมย์ และทำให้มีฐานะเป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพระนคร จนกระทั่งมาถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 7 จึงลดฐานะลงเป็นเพียงตำบล และกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของแขวงวังบูรพาภิรมย์ในปัจจุบัน ประตูสามยอด ถูกรื้อถอนออกในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อ..

ใหม่!!: เขตพระนครและแยกสามยอด · ดูเพิ่มเติม »

แยกสำราญราษฎร์

แยกสำราญราษฎร์ (Samran Rat Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดถนนบำรุงเมืองและถนนมหาไชย ในพื้นที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ซึ่งสำราญราษฎร์เป็นชื่อที่ทางการตั้งให้แทนชื่อย่านที่เรียกดั้งเดิมว่า ประตูผี.

ใหม่!!: เขตพระนครและแยกสำราญราษฎร์ · ดูเพิ่มเติม »

แยกอุณากรรณ

แยกอุณากรรณ (Unakan Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดถนนเจริญกรุง, ถนนอุณากรรณ และถนนบูรพา ในพื้นที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยู่ใกล้เคียงกับแยกเฉลิมกรุง ที่ตั้งของโรงภาพยนตร์ศาลาเฉลิมกรุง, ย่านการค้าเก่าแก่วังบูรพา และย่านการค้าพาหุรัด แหล่งค้าขายเสื้อผ้าสำเร็จรูปแห่งใหญ่ นอกจากนี้ บริเวณแยกอุณากรรณยังเป็นย่านร้านค้าอาวุธปืนที่มีชื่อเสียง เนื่องจากมีร้านจำหน่ายปืนรวมไปถึงอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับกีฬายิงปืนเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: เขตพระนครและแยกอุณากรรณ · ดูเพิ่มเติม »

แยกคอกวัว

แยกคอกวัว (อังกฤษ: Khok Wua Intersection) เป็นสี่แยกที่เป็นจุดตัดระหว่างถนนราชดำเนินกลางกับถนนตะนาว ตั้งอยู่ในแขวงบวรนิเวศ และแขวงตลาดยอด เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและแยกคอกวัว · ดูเพิ่มเติม »

แยกเฉลิมกรุง

แยกเฉลิมกรุง (Chaloem Krung Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดถนนตรีเพชร, ถนนตีทอง และถนนเจริญกรุง ในพื้นที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยู่ใกล้เคียงกับย่านการค้าพาหุรัด แหล่งค้าขายเสื้อผ้าสำเร็จรูปแหล่งใหญ่ และย่านบ้านหม้อ ย่านค้าขายอะไหล่เครื่องใช้ไฟฟ้า ลำโพงและเครื่องเสียง รวมไปถึงร้านขายเครื่องเพชร อัญมณีและเครื่องประดับ บริเวณแยกเฉลิมกรุงเป็นที่ตั้งของศาลาเฉลิมกรุง โรงภาพยนตร์เก่าแก่ที่สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 7 ในงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี พุทธศักราช 2475 ซึ่งเป็นที่มาของชื่อทางแยก และอยู่ถัดจากศูนย์การค้าดิโอลด์สยาม ศูนย์การค้าสมัยใหม่ที่พยายามคงเอกลักษณ์ความเป็นย่านเก่าไว้.

ใหม่!!: เขตพระนครและแยกเฉลิมกรุง · ดูเพิ่มเติม »

แสวง ธีระสวัสดิ์

ลตำรวจเอก แสวง ธีระสวัสดิ์ (27 ตุลาคม พ.ศ. 2474 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ คนที่ 21.

ใหม่!!: เขตพระนครและแสวง ธีระสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

แขวง

แขวง เป็นชื่อเรียกของเขตการปกครอง โดยในประเทศลาวและประเทศพม่านั้น "แขวง" จะมีอำนาจปกครองในระดับเดียวกับจังหวัดของประเทศไท.

ใหม่!!: เขตพระนครและแขวง · ดูเพิ่มเติม »

แขวงอรุณอมรินทร์

อรุณอมรินทร์ เป็นแขวงแขวงหนึ่งในเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร สภาพทั่วไปเป็นย่านการค้าและเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางถึงหนาแน่นมาก ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: เขตพระนครและแขวงอรุณอมรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงละครแห่งชาติ (ประเทศไทย)

รงละครแห่งชาติ (ประเทศไทย) โรงละครแห่งชาติ (The National Theatre) เป็นโรงละครแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในบริเวณพระราชวังบวรสถานมงคลหรือ พระบวรราชวัง (เดิม) ข้างสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและโรงละครแห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

โรงแรมรัตนโกสินทร์

รงแรมรัตนโกสินทร์ หรือ รอยัลรัตนโกสินทร์ (Royal Rattanakosin Hotel) เป็นโรงแรมเก่าแก่ตั้งอยู่บริเวณถนนราชดำเนิน เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2485 และได้เปิดอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2486 โดยมีจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นประธานเปิด มีผู้จัดการคนแรกคือ นายยี่ทวน กาญจนนัค (สุรพงศ์ กาญจนนัค) โรงแรมรัตนโกสินทร์ได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในโรงแรมที่สวยที่สุดและทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่งในสมัยนั้น ด้วยการขึ้นชื่อว่าเป็นโรงแรม 5 ดาว มีห้องพักถึง 45 ห้อง โดยแต่ละห้องตกแต่งด้วยเฟอร์นิเจอร์ลวดลายกนกทองที่สวยงาม, พลังจิต.วันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: เขตพระนครและโรงแรมรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

รงเรียนบาลีสาธิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เดิมมีชื่อว่า "แผนกบาลีมัธยมศึกษา" พระเดชพระคุณพระพิมลธรรม (อาจ อาสภมหาเถร) หรือ "สมเด็จพระพุฒาจารย์" อธิบดีสงฆ์วัดมหาธาตุ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร และสภานายกมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นองค์ก่อตั้งแผนกบาลีมัธยมศึกษาตอนต้นขึ้น เมื่อปีการศึกษ..

ใหม่!!: เขตพระนครและโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

รงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในความดูแลของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ตั้งอยู่ที่ อาคารสังฆิกเสนาสน์ราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษาฯ เปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรกในปี พ.ศ. 2492 และได้จัดตั้งเป็นโรงเรียนปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาในปี พ.ศ. 2515 ซึ่งเป็นปีแรกที่มีการจัดตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาขึ้นในประเทศไทย ปัจจุบัน โรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษาฯ อยู่ในสังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เปิดทำการสอนเฉพาะช่วงชั้นที่ 4 (ม.4 - 6) จำนวน 7 ห้องเรียน แผนการเรียน ภาษาและสังคมศาสตร์ โดยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ทำการเรียนการสอนที่ อาคารมหาธาตุวิทยาลัย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 - 6 ทำการเรียนการสอนที่ อาคารสังฆิกเสนาสน์ราชวิทยาลัย (ตึกถาวรวัตถุ).

ใหม่!!: เขตพระนครและโรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ

รงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ตั้งอยู่บริเวณท้ายพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ จัดตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพระปริยัติธรรม

รงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เป็นศาสนศึกษาแผนกสามัญศึกษา อยู่ในความผิดชอบของ กองพุทธศาสนศึกษา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ดำเนินการจัดการศึกษาทางวิชาการพระพุทธศาสนา แผนกนักธรรม-ภาษาบาลี และหลักสูตรการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-ม.3) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-ม.6) ให้แก่พระภิกษุสามเณร.

ใหม่!!: เขตพระนครและโรงเรียนพระปริยัติธรรม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์

รงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์ (Mathayom Wat Makutkasat School) เป็นโรงเรียนสหศึกษา (เดิมชื่อโรงเรียนวัดมกุฏกษัตริย์ เป็นโรงเรียนชายล้วน) เปิดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตั้งอยู่บนพื้นที่ของวัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2494 โดยกระทรวงศึกษาธิการกำหนดสถานที่ตั้งไว้ที่บริเวณหน้าวัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหาร หน่วยแนะแนวการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการจัดนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่หาที่เรียนไม่ได้มาเข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์ ตั้งอยู่เลขที่ 330/3 ถนนกรุงเกษม แขวงบางขุนพรหม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10200 ใช้พื้นที่ของวัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหาร รวมพื้นที่ทั้งหมด 3 ไร่ 1 งาน 86.66 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารต่าง ๆ ทั้งหมด 5 อาคาร.

ใหม่!!: เขตพระนครและโรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชินี

รงเรียนราชินี เป็นโรงเรียนเก่าแก่แห่งหนึ่ง ตั้งอยู่เลขที่ 444 ถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ผู้ทรงให้กำเนิดโรงเรียนคือ สมเด็จพระศรีพัชรินทรา พระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2447 ณ ตึกแถวมุมถนนอัษฎางค์และถนนจักรเพชร ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ตึกริมแม่น้ำเจ้าพระยาใกล้ปากคลองตลาด และมีการเปิดรับนักเรียนกินนอนขึ้นใน..

ใหม่!!: เขตพระนครและโรงเรียนราชินี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดบวรนิเวศ

รงเรียนวัดบวรนิเวศ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทชายล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาทั้งตอนต้นและตอนปลายเป็นโรงเรียนชายล้วน มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณวัดบวรนิเวศวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โรงเรียนนี้ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2436 ตามพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เพื่อจัดการศึกษาเล่าเรียนแก่พระภิกษุสามเณรในคณะธรรมยุติกนิกาย ต่อมาในปี พ.ศ. 2442 การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนวัดบวรนิเวศได้ก็กลายเป็นต้นแบบของการจัดการศึกษาในโรงเรียนต่างๆ ทั่วประเทศ ตามพระราชประสงค์ที่จะขยายโอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โรงเรียนแห่งนี้ในปัจจุบันมีองค์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกเป็นองค์อุปถัม.

ใหม่!!: เขตพระนครและโรงเรียนวัดบวรนิเวศ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดราชบพิธ

รงเรียนวัดร.

ใหม่!!: เขตพระนครและโรงเรียนวัดราชบพิธ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (อักษรย่อ: ส.ก./S.K.) เป็นโรงเรียนชายล้วนในระดับชั้น มัธยมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 88 ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 7 หลัง ห้องเรียนทั้งหมด 78 ห้อง นอกจากนี้โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยยังโดดเด่นในเรื่องคุณภาพมาตรฐานของศิษย์เก่าที่จบไปโดยเฉพาะด้านวิชาการ ภาษา และความเป็นผู้นำ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็น 1 ในกลุ่มโรงเรียนจตุรมิตรสามัคคี ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมของทั้ง 4 โรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้าภาพในทุกๆ 2 ปี นอกจากการแข่งขันฟุตบอล ยังมี การแปรอักษร ของทั้ง 4 โรงเรียน ซึ่งเป็นอีกสัญลักษณ์สำคัญของงาน โดยกีฬาจตุรมิตรสามัคคีจะจัดขึ้นในทุกๆ 4 ปี ที่ สนามศุภชลาศัย นอกจากนี้ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ยังมีงานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ และงานชุมนุมลูกเสือสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนใน เครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นประจำทุกปี โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้.

ใหม่!!: เขตพระนครและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีวิทยา

รงเรียนสตรีวิทยา (อักษรย่อ: ส.ว.; อังกฤษ: Satri Wittaya School) หรือเรียกอย่างย่อ ว่า สตรีวิท เป็นโรงเรียนรัฐบาลมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทโรงเรียนสตรีล้วน ตั้งอยู่ที่ถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้น ม.1 ถึง ม.6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 (กรุงเทพมหานคร).

ใหม่!!: เขตพระนครและโรงเรียนสตรีวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนตะละภัฏศึกษา

อาคารโรงเรียนตะละภัฏศึกษา อาคารที่ตั้งเดิมของโรงละครปรีดาลัย ปัจจุบันปิดทำการแล้ว โรงเรียนตะละภัฏศึกษา เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 63 ถนนแพร่งนรา แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นตำหนักไม้เก่าหลังเล็ก 2 ชั้น เดิมเคยใช้เป็นโรงละครปรีดาลัย โรงละครที่จัดแสดงละครร้องโดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ซึ่งได้รับความนิยมอย่างยิ่งในรัสมัยรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 มีบทละครที่ทรงประพันธ์เสร็จ ณ ที่นี่หลายเรื่อง รวมถึงเปิดแสดงด้วย เช่น สาวเครือฟ้า ที่ดัดแปลงมาจากบทอุปรากรเรื่อง Madame Butterfly ของคีตกวีชาวอิตาลี จาโกโม ปุชชีนี หรือ อีนากพระโขนง ที่ต่อเติมมาจากตำนานเมืองอันโด่งดังของแม่นากพระโขนง (สำหรับเรื่องนี้เมื่อทรงประพันธ์ ทรงใช้นามแฝงว่า "หมากพญา") ที่ประสบความสำเร็จอย่างมากเมื่อจัดแสดง ถึงกับมีการแสดงซ้ำต่อเนื่องกันถึง 24 คืน เป็นต้น โดยแต่เดิมโรงละครปรีดาลัย เป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งของวังวรวรรณ วังที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ พื้นที่ส่วนใหญ่ของวังวรวรรณ ถูกเวนคืนเพื่อนำพื้นที่มาสร้างเป็นถนน และอาคารพาณิชย์ตั้งแต่รัชสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งปัจจุบันนี้คือ ถนนแพร่งนรา คงเหลือแต่อาคารโรงเรียนตะละภัฏศึกษา ประวัติของโรงเรียนตะละภัฏศึกษา เริ่มต้นหลังจากพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ได้ปลีกวิเวกไปใช้พระชนม์ชีพบั้นปลายที่อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี จนกระทั่งสิ้นพระชนม์ที่นั่น เมื่อปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและโรงเรียนตะละภัฏศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เขตพระนครและโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบญจมราชูทิศ

อกสารการพระราชทานชื่อ "เบญจมราชูทิศ" ของมณฑลนครศรีธรรมราช โรงเรียนเบญจมราชูทิศ เป็นชื่อโรงเรียนในระดับมัธยมศึกษา ซึ่งจัดตั้งตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) โดยชื่อโรงเรียนเป็นนามที่ได้รับพระราชทานมาจาก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) โดยชื่อ "เบญจมราชูทิศ" มีความหมายว่า สร้างอุทิศแก่พระมหากษัตริย์องค์ที่ 5 ซึ่งก็คือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กระทรวงธรรมการได้รับพระบรมราชานุญาตให้จัดการเรี่ยไรเงินจัดสร้างโรงเรียน มณฑลต่างๆ จึงได้จัดให้มีการเรี่ยไรเงินจัดสร้างโรงเรียนถวายเป็นพระราชกุศล และได้มีการจัดสร้างขึ้น 6 แห่ง ใน 6 มณฑล ได้รับพระราชทานนามว่า "เบญจมราชูทิศ" ทั้งหมด ในปี พ.ศ. 2456 คือ.

ใหม่!!: เขตพระนครและโรงเรียนเบญจมราชูทิศ · ดูเพิ่มเติม »

โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร

ลหะปราสาท เป็นโลหะปราสาทองค์แรกและองค์เดียวของไทย และถือเป็นองค์ที่ 3 ของโลก สร้างในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ในพื้นที่วัดราชนัดดาราม และอยู่ในบริเวณ ลานพลับพลามหาเจษฏาบดินทร ยอดปราสาทประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ โลหะปราสาท ได้รับการปรับปรุงหลายครั้ง ภายหลังก่อสร้างขึ้นตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ภายหลังพระองค์สวรรคตลง โลหะปราสาทก็มิได้ปรับปรุงแล้วเสร็จ จนกระทั่งได้บูรณะครั้งใหญ่จนแล้วเสร็จในสมัยพระราชปัญญาโสภณ (สุข ปุญญรํสี) ปี..

ใหม่!!: เขตพระนครและโลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

ไทยรัฐ

ทยรัฐ (Thai Rath) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย นำเสนอข่าวทั่วไป ที่มียอดจำหน่ายมากที่สุดในประเทศไทย จากการสำรวจเมื่อปี พ.ศ. 2523 ก่อตั้งโดยกำพล วัชรพล ปัจจุบันมี บริษัท วัชรพล จำกัด เป็นเจ้าของ, ยิ่งลักษณ์ วัชรพล เป็นผู้อำนวยการ และสราวุธ วัชรพล เป็นหัวหน้ากองบรรณาธิการ มีจำนวนพิมพ์ปัจจุบันที่ 1,000,000 ฉบับ ราคาจำหน่าย 10.00 บาท.

ใหม่!!: เขตพระนครและไทยรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะรัตนโกสินทร์

แผนที่เกาะรัตนโกสินทร์ เกาะรัตนโกสินทร์ เป็นพื้นที่ประวัติศาสตร์ในเขตพระนครในกรุงเทพมหานคร อยู่ติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา มีความสำคัญทางประวัติศาสตร.

ใหม่!!: เขตพระนครและเกาะรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เมอร์รี่คิงส์

ตราสัญลักษณ์ของเมอร์รี่คิงส์ เมอร์รี่คิงส์ เป็นอดีตศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้าหลายแห่งในกรุงเทพมหานคร บริหารงานโดย บริษัท เมอร์รี่คิงส์ ดีพาร์ทเมนต์สโตร์ จำกัด ซึ่งเริ่มดำเนินกิจการมาตั้งแต่ พ.ศ. 2520 ต่อมาจึงเริ่มเปิดให้บริการสาขาแรก ในที่ดินหัวมุมสี่แยกวังบูรพา เขตพระนคร ซึ่งเป็นที่ตั้งเดิมของโรงภาพยนตร์คิงส์ และโรงภาพยนตร์แกรนด์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527.

ใหม่!!: เขตพระนครและเมอร์รี่คิงส์ · ดูเพิ่มเติม »

เมทนี บุรณศิริ

มทนี บุรณศิริ ชื่อเล่นว่า นีโน่ (29 พฤศจิกายน 2509) เป็นนักแสดง พิธีกร และนักร้องชาวไท.

ใหม่!!: เขตพระนครและเมทนี บุรณศิริ · ดูเพิ่มเติม »

เรื่องเด่นเย็นนี้

รื่องเด่นเย็นนี้ (1 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 – ปัจจุบัน) เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทเล่าข่าว ผลิตโดยฝ่ายข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ร่วมกับบริษัท เซิร์ช ไลฟว์ จำกัด ในเครือเซิร์ช เอ็นเทอร์เทนเมนท์ ออกอากาศทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 15.40-16.45 น. ทางไทยทีวีสีช่อง 3 (เดิมคือรายการ สถานการณ์ประจำวัน ซึ่งมีสถานะเป็นข่าวประจำวันของสถานีฯ).

ใหม่!!: เขตพระนครและเรื่องเด่นเย็นนี้ · ดูเพิ่มเติม »

เสาชิงช้า

งช้า เป็น สถาปัตยกรรม ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบพิธีโล้ชิงช้า ใน พระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวาย ของ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู โดยทั่วไปหมายถึงเสาชิงช้าที่ตั้งอยู่หน้า วัดสุทัศน์เทพวราราม และลานหน้า ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (ลานคนเมือง) ใกล้กับ เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ ในพื้นที่แขวงเสาชิงช้าและแขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของ กรุงเทพมหานคร แม้พิธีโล้ชิงช้าได้เลิกไปแล้วตั้งแต่สมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ก็ตาม นอกจากนี้ ใน ประเทศไทย ยังมีเสาชิงช้าอีกแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ที่ หน้าหอพระอิศวร เมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งมีการประกอบพิธีโล้ชิงช้ามาแต่โบราณเช่นกัน แต่ได้เลิกไปก่อนที่จะมีการก่อสร้างขึ้นใหม่ในภายหลัง โดยจำลองแบบมาจากเสาชิงช้าที่ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้าที่ กรุงเทพมหานคร แห่งนี้ มีลักษณะเป็นเสาชิงช้าขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนแท่นหินขนาดใหญ่ สูง 21.15 ม. เส้นผ่านศูนย์กลาง ฐานกลมประมาณ 10.50 ม. ฐานกลมก่อเป็นฐานปัทม์ทำด้วยหินล้างสีขาว พื้นบนปูกระเบื้องดินเผาสีแดง มีบันได 2 ขั้น ทั้ง 2 ด้าน ตามแนวโค้งของฐานติดแผ่นจารึกประวัติเสาชิงช้า เสาไม้แกนกลางคู่และเสาตะเกียบ 2 คู่ เป็นเสาหัวเม็ด ล้วนทำด้วยไม้สักกลึงกลม โครงยึดหัวเสาทั้งคู่แกะสลักอย่างสวยงาม กระจังและหูช้างไม้เป็นลวดลายไทย ทั้งหมดทา สีแดงชาด ติด สายล่อฟ้า จากลวดลายกระจังด้านบนลงดิน กรมศิลปากร ได้ประกาศขึ้นทะเบียนเสาชิงช้าเป็น โบราณสถาน สำคัญของชาติเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 นับตั้งแต่สร้างครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2327 จนถึงการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งล่าสุดซึ่งเสาชิงช้าคู่เดิมถูกถอดเปลี่ยนเมื่อปี พ.ศ. 2549 เสาชิงช้ามีอายุรวมประมาณ 222 ปี.

ใหม่!!: เขตพระนครและเสาชิงช้า · ดูเพิ่มเติม »

เหม เวชกร

หม เวชกร (17 มกราคม พ.ศ. 2446 - 16 เมษายน พ.ศ. 2512) ศิลปินจิตรกรชาวไทย ที่มีผลงานเด่นแนวเหมือนจริงเช่น ภาพวิจิตรชุดวรรณคดีไทย, นางงามในวรรณคดี, ชีวประวัติสุนทรภู่, ภาพประวัติศาสตร์ไทย, ราชาธิราชและกากี และพระลอภาพวิจิตร เป็นต้น.

ใหม่!!: เขตพระนครและเหม เวชกร · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ทุจริตการออกรางวัลสลากกินแบ่งรัฐบาล พ.ศ. 2544

หตุการณ์ทุจริตการออกรางวัลสลากกินแบ่งรัฐบาล..

ใหม่!!: เขตพระนครและเหตุการณ์ทุจริตการออกรางวัลสลากกินแบ่งรัฐบาล พ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอสทีวีผู้จัดการ

ผู้จัดการ 360° เป็นหนังสือพิมพ์ธุรกิจรายวันภาษาไทย ในเครือผู้จัดการ วางแผง(วันจันทร์-วันเสาร์)โดยฉบับ(วันเสาร์จะควบวันอาทิตย์) วางจำหน่ายฉบับปฐมฤกษ์ (ในชื่อเอเอสทีวีผู้จัดการ) เมื่อวันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เขตพระนครและเอเอสทีวีผู้จัดการ · ดูเพิ่มเติม »

เจิมมาศ จึงเลิศศิริ

นางเจิมมาศ จึงเลิศศิริ รองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตสภากรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและเจิมมาศ จึงเลิศศิริ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)

อนุสาวรีย์เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ณ วัดมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) (13 มกราคม พ.ศ. 2318 - 24 มิถุนายน พ.ศ. 2392) อัครมหาเสนาบดีสมุหนายก และแม่ทัพใหญ่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 "เจ้าพระยาบดินทรเดชา" เป็นราชทินนามพิเศษ ที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานราชทินนามนี้มีแต่ท่านเพียงผู้เดียวเท่านั้น.

ใหม่!!: เขตพระนครและเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าดารารัศมี พระราชชายา

้าดารารัศมี พระราชชายา (150px) (26 สิงหาคม พ.ศ. 2416 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2476) เจ้าหญิงในราชวงศ์ทิพย์จักรจากนครเชียงใหม่ ผู้มีบทบาทสำคัญต่อการรวมล้านนาเข้ากับสยาม โดยการถวายตัวเป็นสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมลานน.

ใหม่!!: เขตพระนครและเจ้าดารารัศมี พระราชชายา · ดูเพิ่มเติม »

เทวสถานโบสถ์พราหมณ์

ทวสถาน กรุงเทพมหานคร เทวสถาน สำหรับพระนคร (โบสถ์พราหมณ์) หรือที่นิยมเรียกกันว่า เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ เป็นโบสถ์พราหมณ์ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 268 ถนนบ้านดินสอ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ใกล้เสาชิงช้า และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เขียวหวาน ยนตรกิจ

ียวหวาน ยนตรกิจ มีชื่อจริงคือ.อ.บุญส่ง เกิดมณี เกิดวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2482 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักมวยไทยชาวไทยโดยมีค่าตัวสูงสุด 2 หมื่นบาทเมื่อครั้งที่พบกับอภิเดช ศิษย์หิรัญ และอดุลย์ ศรีโสธร.

ใหม่!!: เขตพระนครและเขียวหวาน ยนตรกิจ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางพลัด

ตบางพลัด เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ เดิมถือเป็นพื้นที่รอบนอก แต่ปัจจุบันมีความเจริญเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้าและแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก แต่ก็มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมตั้งอยู่ด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: เขตพระนครและเขตบางพลัด · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกอกน้อย

ตบางกอกน้อย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี โดยมีคำขวัญประจำเขตว่า "สมเด็จโตวัดระฆัง วังหลังตั้งอยู่ อู่เรือพระราชพิธี สถานีรถไฟ คลองใหญ่มีชื่อ เลื่องลือเครื่องลงหิน นามระบิลช่างหล่อ งามลออวัดวา".

ใหม่!!: เขตพระนครและเขตบางกอกน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกอกใหญ่

ตบางกอกใหญ่ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: เขตพระนครและเขตบางกอกใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เขตสัมพันธวงศ์

ตสัมพันธวงศ์ เป็นเขตที่เล็กที่สุดของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้าหนาแน่นและแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม.

ใหม่!!: เขตพระนครและเขตสัมพันธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตธนบุรี

ตธนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: เขตพระนครและเขตธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตดุสิต

ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.

ใหม่!!: เขตพระนครและเขตดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองสาน

ตคลองสาน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: เขตพระนครและเขตคลองสาน · ดูเพิ่มเติม »

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

มุมมองเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายจากพระบรมบรรพต เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร.

ใหม่!!: เขตพระนครและเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย · ดูเพิ่มเติม »

เดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ บนเวทีเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง อย่างเป็นทางการครั้งแรก ที่ลานคนเมือง ใกล้กับเสาชิงช้า และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร เดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง เป็นกิจกรรมการปราศรัยของพรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) ในวันสุดสัปดาห์ ช่วงกลางปี พ.ศ. 2555 จนถึงปี พ.ศ. 2556 ที่จัดขึ้นในระหว่างที่รัฐสภาปิดสมัยการประชุม โดยเนื้อหาที่ปราศรัยเป็นการเชิญชวนให้ประชาชนต่อต้านกฎหมายนิรโทษกรรมและการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ ปี พ.ศ. 2550 โดยทางฝ่ายพรรคเพื่อไทย (พท.) และรัฐบาล ที่ทางพรรคประชาธิปัตย์เชื่อว่าเป็นการออกกฎหมายเพื่อนิรโทษกรรมให้แก่ผู้ที่กระทำผิดในช่วงเหตุการณ์วิกฤตทางการเมืองที่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านั้น โดยกิจกรรมนี้ ผู้ริเริ่ม คือ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตเลขาธิการพรรคเป็นผู้จัดการและออกค่าใช้จ่ายเองทั้งหมด โดยที่มิได้ใช้งบประมาณของพรรคแต่ประการใด โดยผู้ปราศรัย ส่วนใหญ่จะเป็นสมาชิกพรรคที่สำคัญ อาทิ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ, นายชวน หลีกภัย, นายสุเทพ เทือกสุบรรณ, นายกรณ์ จาติกวณิช และเสริมด้วยบุคคลอื่น ๆ เช่น นักวิชาการ เช่น นายแก้วสรร อติโพธิ, นักศึกษา และผู้จัดรายการสายล่อฟ้า เป็นต้น โดยมีการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ผ่านสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ ได้แก่ บลูสกายแชนแนล, ทีนิวส์ และไทยทีวีดี โดยถ่ายทอดสดทุกวันเสาร์ เวลา 16.30 - 21.00 น. หรือจนกว่าจนจบเวทีการปราศรัยเวทีเดินผ่าความจริง โดยก่อนหน้าที่จะเป็นเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง นั้น กิจกรรมนี้ใช้ชื่อว่า "สานเสวนาเวทีประชาชน" มาก่อน โดยการจัดเวทีปราศรัยได้เริ่มต้นในพื้นที่ภาคใต้ ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: เขตพระนครและเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง · ดูเพิ่มเติม »

เครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย

รือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย (ตัวย่อ: คปท.) เป็นขบวนการทางการเมืองภาคประชาชน มีบทบาทในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 คปท.ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 10 ตุลาคม..

ใหม่!!: เขตพระนครและเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อำเภอพระนคร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »