โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน

ดัชนี เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน

ตปกครองตนเองมองโกเลียใน (มองโกล) มีลักษณะพื้นที่แคบยาวพาดตามชายแดนภาคเหนือของจีน กั้นระหว่างจีนกับประเทศมองโกเลียและรัสเซีย มีเมืองหลวงชื่อ ฮูฮอต มีเนื้อที่ 1,183,000 ก.ม.

86 ความสัมพันธ์: ชาวแมนจูพรรคประชาชนมองโกเลียในกลุ่มภาษามองโกลกลุ่มภาษามองโกลตะวันออกกวางชะมดไซบีเรียกวิยณัฎฐ์ แฮร์มันน์การบุกครองแมนจูเรียของสหภาพโซเวียตการวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008การปฏิวัติมองโกเลีย ค.ศ. 1911การปฏิวัติทางวัฒนธรรมภาษามองโกเลียภาษาเอเวนค์มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)มองโกเลียมิสแกรนด์จีนมิสไชนิสเวิลด์มิสเวิลด์ 2012มณฑลชานซีมณฑลกานซู่มณฑลส่านซีมณฑลจี๋หลินมณฑลเหลียวหนิงมณฑลเหอเป่ย์มณฑลเฮย์หลงเจียงรัฐจ้าวราชวงศ์ชิงราชวงศ์หยวนรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล)รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามจำนวนประชากรรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามขนาดพื้นที่รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามความหนาแน่นของประชากรรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศจีนรายชื่อเขตการปกครองรายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่ลัทธิอาณานิคมวายเอชบอยส์สาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 2สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองหวัง เจาจฺวินหุยอักษรมองโกเลียฮังไกฮูฮอตจักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงจักรพรรดินีคีจางเยี่ยต้าหวางทะเลทรายโกบีดิอะเมซิ่งเรซ 10...ตระกูลภาษาอัลไตประเทศจีนแม่น้ำหวงแฮมสเตอร์จีนแผนพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันตกของจีนเลโอนิด โรโกซอฟเศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่นเส้นขนานที่ 40 องศาเหนือเส้นขนานที่ 50 องศาเหนือเส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 101 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 102 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 103 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 104 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 112 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 119 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 121 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 122 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 123 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 99 องศาตะวันออกเหมิ่งเจียงเอเชียกลางเทศมณฑลเขตการปกครองของประเทศจีนเขตปกครองตนเองหนิงเซี่ยหุยเซี่ยตะวันตกเป่า ลี่เกา ขยายดัชนี (36 มากกว่า) »

ชาวแมนจู

แมนจู (แมนจู:; หม่านจู๋) เป็นชนกลุ่มน้อยเผ่าหนึ่งในประเทศจีนและผู้คนจากดินแดนแมนจูเรียได้ใช้ชื่อดินแดนเป็นชื่อเรียกชนเผ่าของตนเอง ชาวแมนจูเป็นกลุ่มสาขาที่ใหญ่ที่สุดของกลุ่มชาวตุงกูซิกที่ใช้ภาษากลุ่มตุงกูซิกและได้อาศัยกระจัดกระจายทั่วประเทศจีน ถือเป็นชนกลุ่มน้อยที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของประเทศจีน ชาวแมนจูได้อาศัยและพบได้ใน 31 จังหวัดของจีน โดยเฉพาะในดินแดนแมนจูเรีย เหลียวหนิงถือได้ว่าเป็นดินแดนที่มีประชากรแมนจูเยอะที่สุด ส่วนเหอเป่ย, เฮย์หลงเจียง, จี๋หลิน, มองโกเลียในและปักกิ่ง มีประชากรแมนจู 100,000 คนอาศัยอยู่ ประมาณครึ่งของประชากรอาศัยอยู่ในเหลียวหนิงและ 1 ใน 5 อยู่ที่เหอเป่ย์ นอกจากนี้ยังมีชาวแมนจูอาศัยอยู่ในประเทศรัสเซียอันได้แก่ ดินแดนปรีมอร์สกี บางส่วนของดินแดนฮาบารอฟสค์และแคว้นอามูร์ ประวัติโดยสังเขปของชาวแมนจูนั้น ในทัศนคติของชาวฮั่น ถือได้ว่าเป็นชนกลุ่มน้อยเร่ร่อนหรือคนป่าเถื่อน ชาวแมนจูได้สืบเชื้อสายมาจากชาวหนี่เจิน (Jurchen; 女真) ที่ซึ่งได้สถาปนาราชวงศ์จินตอนแรกขึ้นทางตอนเหนือของจีน ในช่วง..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและชาวแมนจู · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชนมองโกเลียใน

รรคประชาชนมองโกเลียใน (The Inner Mongolian People's Party; IMPP) เป็นขบวนการแบ่งแยกดินแดนในเขตมองโกเลียในของประเทศจีน เริ่มก่อตั้งพรรคเมื่อ..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและพรรคประชาชนมองโกเลียใน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษามองโกล

กลุ่มภาษามองโกล (Mongolic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่ใช้พูดในเอเชียกลาง มีสมาชิก 13 ภาษา นักภาษาศาสตร์บางกลุ่มรวมกลุ่มภาษามองโกลเข้ากับกลุ่มภาษาตังกูสิต กลุ่มภาษาเตอร์กิก เป็นตระกูลภาษาอัลไตอิก แต่ยังไม่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือภาษามองโกเลีย ซึ่งเป็นภาษาแม่ของชาวมองโกล มีผู้พูด 5.7 ล้านคนในมองโกเลีย รัสเซียและจีน ภาษานิกูดารี ซึ่งเป็นภาษากลุ่มมองโกลที่จัดจำแนกไม่ได้ ยังคงมีผู้พูดราว 100 คนในเฮรัต อัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและกลุ่มภาษามองโกล · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษามองโกลตะวันออก

กลุ่มภาษามองโกลตะวันออก (Eastern Mongolic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่ใช้พูดในเอเชียกลาง ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นที่รู้จักดีที่สุดคือภาษามองโกเลียซึ่งเป็นภาษาของชาวมองโกล มีผู้พูดราว 5.7 ล้านคนในมองโกเลีย รัสเซียและเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ประเทศจีน.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและกลุ่มภาษามองโกลตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

กวางชะมดไซบีเรีย

กวางชะมดไซบีเรีย (Siberian musk deer, Кабарга, 原麝, 사향노루) เป็นกวางชะมด (Moschidae) ชนิดหนึ่ง มีตัวสั้นป้อม ขนตามลำตัวมีสีน้ำตาลแดง หูตั้ง หางสั้น มีแถบยาวสีขาว 2 แถบ ขนานกันตามความยาวของลำคอ ที่ตะโพกและหลังช่วงท้ายมีจุดสีขาว ไม่มีเขาทั้งตัวผู้และตัวเมีย ตัวผู้มีเขี้ยวบนยาวประมาณ 7 เซนติเมตร โผล่ออกมาจากปากเห็นได้ชัดเจน มีต่อมผลิตกลิ่นอยู่ที่ใต้ท้องระหว่างสะดือกับอวัยวะเพศ พบกระจายพันธุ์ในเอเชียเหนือ ในป่าไทกาทางตอนใต้ของไซบีเรีย และพบในบางส่วนของมองโกเลีย, มองโกเลียใน, แมนจูเรีย และคาบสมุทรเกาหลี ออกหากินตามลำพังเวลาเช้ามืดหรือพลบค่ำ.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและกวางชะมดไซบีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

กวิยณัฎฐ์ แฮร์มันน์

กวิยณัฎฐ์ แฮร์มันน์ หรือชื่อเดิมว่า วัลเณซ่า พวง แฮร์มันน์ เมืองโคตร (Vanessa Poung Herrmann Muangkod, 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2534) มีชื่อเล่นว่า ณฉัตร และเรียกแทนตัวเองว่า วัล มิสไทยแลนด์เวิลด์ ปี 2012 และเป็นตัวแทนสาวไทยในการประกวดมิสเวิลด์ปีเดียวกันนั้น ซึ่งจัดขึ้นในเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน สาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและกวิยณัฎฐ์ แฮร์มันน์ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองแมนจูเรียของสหภาพโซเวียต

การบุกครองแมนจูเรียของสหภาพโซเวียต ยังเป็นที่รู้จักในฐานะกลยุทธปฏิบัติการรุกแมนจูเรีย (Манчжурская стратегическая наступательная операция, lit. Manchzhurskaya Strategicheskaya Nastupatelnaya Operaciya) หรือปฏิบัติการแมนจูเรีย (Маньчжурская операция) เริ่มตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม 1945 กองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียตได้รุกรานรัฐหุ่นเชิดของจักรวรรดิญี่ปุ่นคือรัฐแมนจูกัว มันเป็นการทัพครั้งสุดท้ายของสงครามโลกครั้งที่สองและใหญ่ที่สุดของสงครามโซเวียต-ญี่ปุ่น ในปี 1945 ที่ได้กลับมาสู้รบกันอีกครั้งระหว่างสหภาพโซเวียตและจักรวรรดิญี่ปุ่น หลังจากสงบศึกกันเป็นเวลาเกือบหกปี ผลประโยชน์ที่ได้รับของโซเวียตคือ แมนจูกัว, เหม่งเจียง (มองโกลเลีย), ดินแดนเกาหลีทางตอนเหนือ.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและการบุกครองแมนจูเรียของสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

การคุ้มกันผู้วิ่งคบเพลิงที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 จะสิ้นสุดลงในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) เพื่อนำไปจุดในงานเปิดมหกรรมกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน แผนการของการวิ่งนั้นได้ถูกประกาศเมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2550 (ค.ศ.2550) ภายใต้สโลแกนว่า "Journey of Harmony" (和諧之旅) และคาดว่าจะใช้เวลาวิ่ง 130 วัน ผ่าน 21 ประเทศรวมประเทศจีน ระยะทาง 137,000 ก.ม. (85,100 ไมล์) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการวิ่งคบเพลิงที่ยาวที่สุดนับตั้งแต่การวิ่งคบเพลิงครั้งแรก เมื่อปี..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและการวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติมองโกเลีย ค.ศ. 1911

การปฏิวัติมองโกเลี..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและการปฏิวัติมองโกเลีย ค.ศ. 1911 · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติทางวัฒนธรรม

การปฏิวัติทางวัฒนธรรมใหญ่ของกรรมาชีพ (Great Proletarian Cultural Revolution) หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า การปฏิวัติวัฒนธรรม (Cultural Revolution) เป็นขบวนการทางสังคม-การเมืองซึ่งเกิดขึ้นในสาธารณรัฐประชาชนจีนตั้งแต่ปี 2509 เหมาเจ๋อตงซึ่งขณะนั้นเป็นประธานพรรคคอมมิวนิสต์จีน เป็นผู้ริเริ่มขับเคลื่อน เป้าหมายที่แถลงไว้ คือ เพื่อบังคับใช้ลัทธิคอมมิวนิสต์ในประเทศโดยการขจัดองค์ประกอบที่เป็นทุนนิยม ประเพณีและวัฒนธรรมจีน ออกจากวัฒนธรรมคอมมิวนิสต์และเพื่อกำหนดแนวทางแบบเหมาภายในพรรค การปฏิวัติดังกล่าวส่งผลให้เหมาเจ๋อตงกลับมามีอำนาจหลังการก้าวกระโดดไกลไปข้างหน้าที่ล้มเหลว ขบวนการดังกล่าวทำให้การเมืองจีนหยุดชะงักและส่งผลกระทบต่อประเทศทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างสำคัญ การปฏิวัติวัฒนธรรมเริ่มขึ้นในเดือนพฤษภาคม 2509 เหมาอ้างว่ากระฎุมพีกำลังแทรกซึมรัฐบาลและสังคมอย่างไม่มีขอบเขต โดยมีเป้าหมายเพื่อฟื้นฟูทุนนิยม เขายืนกรานให้ขจัด "ลัทธิแก้" (revisionist) เหล่านี้ผ่านการต่อสู้ของชนชั้นอย่างรุนแรง เยาวชนจีนสนองตอบการเรียกร้องของเหมาโดยตั้งกลุ่มเรดการ์ดขึ้นทั่วประเทศ ขบวนการดังกล่าวแพร่ไปสู่ทหาร กรรมกรในเมือง และผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์เอง การปฏิวัติส่งผลให้เกิดการต่อสู้ระหว่างกลุ่มแยกอย่างกว้างขวางในทุกย่างก้าวของชีวิต ในหมู่ผู้นำระดับสูง การปฏิวัตินำไปสู่การกวาดล้างข้าราชการอาวุโสที่ถูกกล่าวหาว่าเดิน "ถนนทุนนิยม" คือ ประธานาธิบดีหลิวส้าวฉีและเติ้งเสี่ยวผิง พร้อมด้วยจอมพล หลิวป๋อเฉิง จอมพล เฉินอี้ จอมพล เย่เจี้ยนอิงและจอมพล เผิงเต๋อฮว้าย ในเวลาเดียวกัน ลัทธิมากซ์ ของประธานเหมา เติบโตขึ้นเป็นอันมาก กลุ่มกรรมกรใช้สัญลักษณ์ค้อนกดขี่ข่มเหงชาวนาและกลุ่มเกษตรกรรมอื่นๆ ประชากรจีนจำนวนหลายล้านคนถูกเบียดเบียน ในการต่อสู้อย่างรุนแรง ระหว่างกลุ่มลัทธิแก้ และกลุ่มปลดปล่อยประชาชน ซึ่งเกิดขึ้นทั่วประเทศ อันทำให้เกิดการละเมิดหลายรูปแบบ รวมถึงการประจานในที่สาธารณะ การกักขังตามอำเภอใจ การทรมาน การก่อกวนอยู่เนือง ๆ และการยึดทรัพย์สินของชาวบ้าน หลายภาคส่วนถูกบังคับให้ย้ายถิ่นฐาน ส่วนวัตถุมงคลและสิ่งประดิษฐ์ทางประวัติศาสตร์จีนถูกทำลาย สถานที่ทางวัฒนธรรมและศาสนาถูกปล้นพร้อมกับทำให้เสียหาย ประธานเหมาประกาศให้การปฏิวัติทางวัฒนธรรมสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการในปี 2512 แต่ยังมีผลดำเนินไปกระทั่ง หลินเปียว ตายในปี 2514 หลังเหมาถึงแก่อสัญกรรมและการจับกุมแก๊งออฟโฟร์ในปี 2519 ทำให้คณะปฏิรูปการปกครอง นำโดย เติ้งเสี่ยวผิง ยุติการปฏิวัติของเหมาที่เกี่ยวข้องกับการปฏิวัติทางวัฒนธรรมอย่างเด็ดขาด ต่อมา ในเดือนมิถุนายน 2524 คณะกรรมาธิการกลางประกาศคำตัดสินอย่างเป็นทางการ ดังนี้ " 'การปฏิวัติทางวัฒนธรรม' ซึ่งดำเนินตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2509 ถึงเดือนตุลาคม 2519 เป็นสาเหตุของการเสื่อมอย่างรุนแรงที่สุดและเป็นการสูญเสียอย่างหนักที่สุดที่พรรค รัฐและประชาชนเคยประสบมาแล้ว ตั้งแต่มีการก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชน" จอมพล เผิงเต๋อไหว นักรบผู้กล้าหาญและขวัญกำลังใจของกองทัพชาวนา ครอบครองแผ่นดินประมาณได้ 1 ใน 3 ของพื้นที่ประเทศจีนทั้งหมดในสงครามกลางเมือง แต่ถูกลงโทษทางการเมือง ทำให้ถึงแก่อสัญกรรม เพราะเรียงความหมื่นอักษรในช่วงการปฏิวัติวัฒนธรรม.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและการปฏิวัติทางวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามองโกเลีย

ษามองโกเลีย เป็นภาษาทางการของประเทศมองโกเลีย และเป็นภาษาหลักของชาวมองโกเลียส่วนใหญ่ ซึ่งคนพูดส่วนใหญ่จะพูดแบบคอลคา (Khalkha) นอกจากนี้ ภาษามองโกเลียก็พูดในพื้นที่รอบนอกในบางมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหพันธรัฐรัสเซีย ภาษามองโกเลีย เป็นภาษารูปคำติดต่อคล้ายภาษาตุรกีหรือภาษาฟินน์ มีการเติมปัจจัยที่รากศัพท์ ภาษามองโกเลียมีเพียงสรรพนามบุรุษที่หนึ่งและสอง แต่ไม่มีบุรุษที่สาม แต่ใช้สรรพนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ (en) นั่น (ter) นี่ทั้งหลาย (ed nar) และนั่นทั้งหลาย (ted nar) แทน.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและภาษามองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเอเวนค์

ษาเอเวนค์ (Evenki language) เป็นกลุ่มของภาษาที่ใหญ่ที่สุดในภาษากลุ่มตุงกูซิกเหนือ เป็นกลุ่มที่รวมภาษาเอเวนและภาษาเนกีดัล ใช้พูดโดยชาวเอเวนค์ในรัสเซีย มองโกเลีย และจีน ใน..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและภาษาเอเวนค์ · ดูเพิ่มเติม »

มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)

วมองโกล หรือ ชาวมองโกเลีย เป็นกลุ่มชนหนึ่งที่อาศัยอยู่ในประเทศมองโกเลีย และ เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ของประเทศจีน.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและมองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

มองโกเลีย

มองโกเลีย อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์จีน

มิสแกรนด์จีน (Miss Grand China) เป็นตำแหน่งในการประกวดนางงามระดับประเทศของจีน เพื่อคัดเลือกตัวแทนเข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล เริ่มจัดประกวดเพื่อคัดเลือกผู้ดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและมิสแกรนด์จีน · ดูเพิ่มเติม »

มิสไชนิสเวิลด์

มิสไชนิสเวิลด์ (อังกฤษ: Miss Chinese World) เป็นการจัดประกวดมิสไชนีสเวิลด์ เป็นการประกวดเพื่อเฟ้นหาสาวงามที่มีเชื้อสายจีนทั่วโลกเพื่อเป็นตัวแทนของความงามของจีนจากเมืองและจังหวัดทั่วโลกในการเฉลิมฉลองวัฒนธรรมจีนคุณค่าและขนบประเพณี ดำเนินการโดย D’ Touch International s Sdn Bhd Foundation เริ่มจัดการประกวดครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและมิสไชนิสเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2012

มิสเวิลด์ 2012, การประกวด มิสเวิลด์ ครั้งที่ 62 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและมิสเวิลด์ 2012 · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลชานซี

นซี ตามสำเนียงกลาง หรือ ซัวไซ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน ชื่อย่อ จิ้น (晋) เป็นมณฑลหนึ่งของสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของแม่น้ำเหลืองในภาคเหนือของประเทศจีน คำว่า "ชานซี" แปลตรงตัวว่า ทิศตะวันตกของภูเขา เนื่องจากมณฑลตั้งอยู่ทางตะวันตกของภูเขาไท่หัง มีเมืองเอกชื่อ ไท่หยวน มีเนื้อที่ 156,800 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 33,350,000 คน ความหนาแน่น 213 ต่อตารางกิโลเมตร จีดีพี 304.2 พันล้านเหรินหมินปี้ จีดีพีต่อประชากร 9120 เหรินหมินปี้ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและมณฑลชานซี · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลกานซู่

มณฑลกานซู่ หรือ มณฑลกังซก (จีนตัวย่อ: 甘肃省, จีนตัวเต็ม: 甘粛省) ชื่อย่อ กาน หรือ หล่ง (甘, 陇) ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน ตอนบนของแม่น้ำฮวงโห (แม่น้ำเหลือง) มีเมืองหลวงชื่อ หลานโจว.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและมณฑลกานซู่ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลส่านซี

นซี ตามสำเนียงกลาง หรือ เจียบไซ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ชื่อย่อ: "ส่าน" (陕) หรือ "ฉิน" (秦)) เป็นมณฑลในสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ในเขตใจกลางประเทศแถบลุ่มแม่น้ำเหลือง (หวงเหอ) มีเมืองหลวงชื่อ ซีอาน มีเนื้อที่ 205,800 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 37,050,000 คน จีดีพี 288.4 พันล้านเหรินหมินปี้ จีดีพีต่อประชากร 7,780 เหรินหมินปี้ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น มณฑลส่านซีโดยมากมีลักษณะภูมิประเทศคล้ายแอ่งอยู่ระหว่างภูเขาหลายแห่ง.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและมณฑลส่านซี · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลจี๋หลิน

มณฑลจี๋หลิน ตั้งอยู่ทางตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ มีชายแดนติดต่อกับมณฑลต่างๆ ทางใต้ติดกับเหลียวหนิง ตะวันตกติดกับมองโกเลียใน เหนือติดกับเฮยหลงเจียง และตะวันออกติดต่อกับรัสเซียและคาบสมุทรเกาหลีโดยมีแม่น้ำยาลู่ว์เจียงเป็นเส้นเขตแดน มีเมืองหลวงชื่อ ฉางชุน(长春)มีเนื้อที่ 187,400 ก.ม. ประชากร 27,090,000 คน ความหนาแน่น 145 คนต่อตารางกิโลเมตร ค่าจีดีพี 295.8 พันล้านเหรินหมินปี้ หรือเฉลี่ย 10,900 เหรินเหมินปี้ต่อประชากรหนึ่งคน (ข้อมูล พ.ศ. 2547) ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและมณฑลจี๋หลิน · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเหลียวหนิง

มณฑลเหลียวหนิง (จีนตัวย่อ: 辽宁省 จีนตัวเต็ม: 遼寧省) ชื่อย่อ เหลียว(辽)ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ทิศตะวันตกติดเหอเป่ย์ เหนือติดจี๋หลิน มองโกเลียใน ทิศตะวันออกเฉียงใต้มีแม่น้ำยาลู่ว์เจียงกั้นเขตแดนกับประเทศเกาหลีเหนือ ทางใต้เป็นทะเลเหลืองและทะเลป๋อไฮ่ มีเมืองหลวงชื่อ เฉิ่นหยาง มีเนื้อที่ 145,900 ก.ม.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและมณฑลเหลียวหนิง · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเหอเป่ย์

มณฑลเหอเป่ย์ (河北省) ชื่อย่อ จี้(冀)ตั้งอยู่ระหว่างที่ราบสูง มองโกเลียในและที่ราบภาคเหนือของประเทศ เป็นมณฑลที่อยู่ล้อมรอบนครสำคัญคือ ปักกิ่ง และเทียนจินมีเมืองหลวงชื่อ ฉือเจียจวง มีเนื้อที่ 187,700 ก.ม.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและมณฑลเหอเป่ย์ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเฮย์หลงเจียง

มณฑลเฮย์หลงเจียง (จีนตัวย่อ: 黑龙江省; จีนตัวเต็ม: 黑龍江省)ชื่อย่อ เฮย (黑)ชื่อ เฮยหลงเจียง มาจากชื่อแม่น้ำสายที่ใหญ่ที่สุดในมณฑล มีเมืองหลวงชื่อว่า ฮาร์บิน ซึ่งตั้งอยู่ในประเทศแมนจูกัว อดีตที่ประเทศถูกญี่ปุ่นเข้ายึดในปี พ.ศ. 2474 มณฑลเฮย์หลงเจียง มีประชากรประมาณ 39 ล้านคน มีเนื้อที่ 454,000 ตาราง ก.ม.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและมณฑลเฮย์หลงเจียง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐจ้าว

้าว เป็นรัฐจีนโบราณหนึ่งในเจ็ดรัฐใหญ่แห่งยุครณรัฐ (戰國時代) เกิดขึ้นเมื่อรัฐจิ้นแยกออกเป็นสามรัฐ คือ รัฐจ้าว, รัฐหาน (韓國), และรัฐเว่ย์ (魏國) เมื่อศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล จากนั้น รัฐจ้าวปฏิรูปทหารในรัชสมัยพระเจ้าจ้าวอู่หลิง (趙武靈王) ทำให้แข็งแกร่งขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ แต่ภายหลังพ่ายแพ้ยับเยินให้แก่รัฐฉิน (秦國) ในยุทธการที่ฉางผิง (長平之戰) และถูกผนวก อาณาเขตของรัฐจ้าว ประกอบด้วย ดินแดนซึ่งปัจจุบันเป็นมองโกเลียใน, เหอเป่ย์, ชานซี, และฉ่านซี รายล้อมด้วยดินแดนของรัฐฉิน, รัฐเว่ย์, ซฺยงหนู (匈奴), และหานตาน (邯郸) รัฐจ้าวเป็นที่กำเนิดของเชิ่น เต้า (慎到) นักนิติปรัชญา, กงซุน หลง (公孫龍) นักตรรกวิทยา, และสฺวิน ข้วง (荀況) ปรัชญาเมธีลัทธิขงจื๊อ.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและรัฐจ้าว · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หยวน

ตแดนของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์หยวน เครื่องปั้นดินเผา สมัยราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หยวน (หยวนเฉา) (พ.ศ. 1814 - 1911) คือหนึ่งในราชวงศ์ของจักรวรรดิจีน ก่อตั้งขึ้นเมื่อกุบไลข่านผู้นำเผ่าชาวมองโกล ได้โค่นอำนาจราชวงศ์ซ่งลง แล้วเปิดศักราชชาวมองโกลครองประเทศจีน ชาวมองโกลได้เข้ายึดครองภาคเหนือของจีนเป็นเวลากว่าทศวรรษ ได้มีความพยายามเปลี่ยนเป็นจีน ตั้งแต่สมัย มองเกอ ข่าน พระเชษฐาของกุบไลข่าน แต่ไม่สำเร็จ จนกระทั่งในสมัยของกุบไลข่าน ในปี..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและราชวงศ์หยวน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ล รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ

นี่คือ รายชื่อมณฑลของจีนเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ข้อมูลเฉพาะจีนแผ่นดินใหญ่เรียงตามค่าจีดีพีต่อประชากร.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามจำนวนประชากร

แผนที่มณฑลของจีนเรียงตามจำนวนประชากร ประชากรประเทศจีนปี 2004.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามจำนวนประชากร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามขนาดพื้นที่

มณฑลของประเทศจีนเรียงตามขนาดเนื้อที่ หมวดหมู่: มณฑลของประเทศจีน.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามขนาดพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามความหนาแน่นของประชากร

แผนที่แสดงความหนาแน่นแต่ละพื้นที่ของจีน นี่คือ รายชื่อมณฑลของจีนเรียงตามความหนาแน่นของประชากร.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามความหนาแน่นของประชากร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศจีน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศจีนทั้งสิ้น 52 แหล่ง ประกอบด้วยมรดกโลกทางวัฒนธรรม 36 แหล่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 12 แห่ง และมรดกโลกแบบผสมอีก 4 แหล่ง.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครอง

รายชื่อเขตปกครองในระดับบนสุดของประเทศต่าง ๆ ที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐหรือรัฐรวม รวมทั้งเขตการปกครองในระดับบนสุดของเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยวบางแห่ง.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและรายชื่อเขตการปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่

ตการปกครองที่ใหญ่ที่สุด 50 อันดับแรก หมายเหตุ:ในแต่ละละติจูดในแผนที่อาจทำให้พื้นที่บิดเบือนทำให้การเปรียบเทียบกันโดยแผนที่นี้อาจมีข้อผิดพลาด นี้เป็นรายชื่อรวบรวมเขตการปกครองที่ใหญ่ที่สุด 50 อันดับแรกซึ่งนำรวมพื้นที่แหล่งน้ำในเขตการปกครองนั้นๆด้ว.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและรายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอาณานิคม

ลัทธิอาณานิคม (colonialism) เป็นการสถาปนา แสวงหาประโยชน์จากพื้นที่อื่น ธำรงรักษา ได้มาซึ่งและขยายอาณานิคมในดินแดนหนึ่งจากประชากรอีกดินแดนหนึ่ง ลัทธิอาณานิคมเป็นชุดความสัมพันธ์ไม่เท่ากันระหว่างเจ้าอาณานิคมและอาณานิคม และมักระหว่างผู้อยู่ในนิคมและประชากรพื้นเมือง สมัยอาณานิคมยุโรปอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อชาติยุโรปหลายชาติสถาปนาอาณานิคมในทวีปเอเชีย แอฟริกาและอเมริกา ทีแรก ประเทศต่าง ๆ ดำเนินนโยบายลัทธิพาณิชยนิยมซึ่งออกแบบมาเพื่อเสริมเศรษฐกิจของประเทศแม่โดยแลกกับเศรษฐกิจของคู่แข่ง ฉะนั้น ปกติอาณานิคมจึงได้รับอนุญาตให้ค้าขายเฉพาะกับประเทศแม่เท่านั้น ทว่า เมื่อถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิอังกฤษยกเลิกลัทธิพาณิชยนิยมและการจำกัดการค้า และเริ่มใช้หลักการค้าเสรี โดยมีการจำกัดหรือภาษีศุลกากรน้อ.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและลัทธิอาณานิคม · ดูเพิ่มเติม »

วายเอชบอยส์

วายเอชบอยส์ (อังกฤษ: YHBOYS) (จีน: 乐华少年) ย่อจาก เยฮวาบอยส์ (Yuehua Boys) เป็นบอยแบนด์สัญชาติจีนอยู่ภายใต้บริษัทเยฮวาเอนเตอร์เทนเมนต์ (Yuehua Entertainment) เปิดตัวในปี ค.ศ.2017 ประกอบไปด้วยสมาชิกเด็กชายชาวจีนอายุระหว่าง 10-13 ปี ทั้งหมด 7 คนได้แก่ จาง จวิ้นอี, กัว เตี้ยนเจี่ย, จาง หมิงฮ่าว, หลิว กวานอี้, จาง เอินซั่ว, ซุน เจียข่าย และ หลี่ หลินหม่า ที่ล้วนแต่มีความสามารถเกินอายุ ไม่ว่าจะร้อง เต้น แนวคิดของกลุ่มคือการช่วยให้แฟน ๆ มีส่วนร่วมในการเติบโตของสมาชิกตั้งแต่เริ่มเดบิวท์ในขณะที่สมาชิกทำงานทั้งในด้านการร้องเพลงและการแสดง.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและวายเอชบอยส์ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 2

รณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 2 (The Second East Turkestan Republic หรือ East Turkestan Republic; ETR) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์อายุสั้นของชาวเติร์กที่สหภาพโซเวียต ให้การสนับสนุน ระหว่าง 12 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและสาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง

งครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง (Second Sino-Japanese War;; 日中戦争) ระหว่างวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 ถึงวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2488 เป็นสงครามระหว่างจีนกับญี่ปุ่น เกิดขึ้นก่อนสงครามโลกครั้งที่สองต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สองเรียกว่า "สงครามแปซิฟิก" และดำเนินเรื่อยมาจนยุติลงพร้อมกับสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นสงครามที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ย้อนกลับไปใน พ.ศ. 2474 ญี่ปุ่นได้เข้ารุกรานแมนจูเรีย ซึ่งเหตุการณ์นี้เรียกว่ากรณีมุกเดน ทำให้ญี่ปุ่นสามารถเข้าไปมีอิทธิพลในดินแดนจีนแผ่นดินใหญ่ได้ จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์ ณ สะพานมาร์โค โปโล อันเป็นจุดเริ่มต้นอย่างเป็นทางการของสงครามครั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มต้นสงครามจนถึง..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

หวัง เจาจฺวิน

หวัง เจาจฺวิน หวัง เจาจฺวิน (王昭君) ชื่อจริงคือ หวัง เฉียง (王牆, 王檣, 王嬙) เป็นหนึ่งในสี่หญิงงามแห่งแผ่นดินจีน หวัง เจาจฺวิน ได้รับฉายานามว่า "ปักษีตกนภา" (จีน: 落雁 พินอิน: luò yàn) ซึ่งหมายถึง "ความงามที่ทำให้แม้แต่ฝูงนกยังต้องร่วงหล่นจากท้องฟ้า" (so beautiful as to make flying geese fall) หวัง เจาจฺวิน เดิมเป็นนางกำนัลในวังหลวง ที่ฮ่องเต้ราชวงศ์ฮั่นส่งไปให้แก่ข่านของเผ่าซงหนู เพื่อกระชับสัมพันธ์ไมตรี.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและหวัง เจาจฺวิน · ดูเพิ่มเติม »

หุย

วหุย (จีน:回族;พินอิน:Huízú, อาหรับ:هوي) เป็นมุสลิมกลุ่มหนึ่งในประเทศจีน มีประชากร 9.82 ล้านคน มีประชากรเพียงหนึ่งในสามของประชากรทั้งหมดในเขตปกครองตนเองหุยหนิงเซี่ย ชาวหุยก็คือชาวจีนที่นับถือศาสนาอิสลาม ชาวหุยส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่บริเวณพื้นที่ทุรกันดารทางตอนใต้ของเขตปกครองตนเอง ถึงแม้ว่าชาวหุยจะเป็นมุสลิม นับถืออิสลาม แต่ในปัจจุบันการแยกความแตกต่างของชาวหุยกับชาวจีนฮั่นโดยใช้ศาสนาค่อนข้างจะยากอยู่ ชาวหุยที่เป็นผู้ชายจะสวมหมวกสีขาว ส่วนผู้หญิงชาวหุยบางคนในปัจจุบันยังคงใส่ม่านบังหน้า ชาวหุยหลายคนที่ไม่คิดว่าคำว่า "เมกกะ" มีความสำคัญแต่อย่างใด แต่ในประเทศไทยชาวจีนที่นับถืออิสลาม จะเรียกว่า "จีนฮ่อ" ในพม่าจะเรียกว่า "ปันทาย" (Panthay) และชาวจีนมุสลิมที่อยู่ในเอเชียกลางจะถูกเรียกว่า "ดันกัน" (Dungans;дунгане).

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและหุย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรมองโกเลีย

อักษรมองโกเลีย (17px Mongγol bičig, ซีริลลิก: Монгол бичиг, Mongol bichig) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษามองโกเลีย เมื่อ..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและอักษรมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ฮังไก

ังไก (杭盖乐队) เป็นวงดนตรีแนวโฟล์กร็อกสัญชาติมองโกเลียที่ก่อตั้งที่ปักกิ่ง วงนี้ได้รับความนิยมในกลุ่มเล็ก ๆ จากการนำดนตรีพื้นบ้านของมองโกเลียมาบรรเลงร่วมกับดนตรีสมัยใหม่ เช่น พังก์ร็อก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและฮังไก · ดูเพิ่มเติม »

ฮูฮอต

นีทางรถไฟฮูฮอต ฮูฮอต หรือสำเนียงจีนกลางว่า ฮูเหอเฮ่าเท่อ (ᠬᠥᠬᠡᠬᠣᠲᠠ; สำเนียงคัลคา: Хөх хот) มีชื่อย่อว่า ฮูชื่อ มีชื่อเดิมว่า กุยซุย เป็นเมืองเอกของเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ซึ่งเป็นที่ตั้งของการปกครองส่วนภูมิภาค เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมThe New Encyclopædia Britannica, 15th Edition (1977), Vol.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและฮูฮอต · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง

หวียนฮุ่ยจง (25 พฤษภาคม ค.ศ. 1320 – 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1370) หรือ ถั่วฮฺวัน เทียมู่เอ่อร์ (Toghon Temür) เสด็จสวรรคตแล้วจึงได้พระนามว่า ยฺเหวียนชุ่นตี้ เป็นจักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หยวน (ยฺเหวียน) ใน..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและจักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีคี

มเด็จพระจักรพรรดินีตระกูลคี หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีตระกูลฉี (ภาษาจีน: 奇皇后; ภาษาเกาหลี: 기황후; ค.ศ. 1315 - ค.ศ. 1369) หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีโอลชีคูตูค (ภาษาจีน: 完者忽都; ภาษามองโกล: Ölǰei Khutugh) เป็นพระจักรพรรดินีในพระจักรพรรดิหยวนฮุ่ยจง (ภาษาจีน: 惠宗 Huizong) ทอคอนเตมูร์ (ภาษามองโกล: toγan temür) มีพื้นเพเดิมเป็นชาวเกาหลีในสมัยอาณาจักรโครยอ เป็นสตรีที่ทรงอำนาจของจีนในสมัยราชวงศ์หยวนตอนปลาย นางสาวคีเกิดที่เมืองแฮงจู (ภาษาเกาหลี: Haengju; ปัจจุบันอยู่ทางตอนเหนือของโซล) ในค.ศ. 1315 เป็นบุตรสาวของคีจาโอ (ภาษาเกาหลี: Ki Ja-o 奇子敖) ขุนนางฝ่ายทหารคนหนึ่งของอาณาจักรโครยอ ไม่ปรากฏว่านางสาวคีนั้นมีชื่อเดิมเป็นภาษาเกาหลีว่าอย่างไร นางสาวคีมีพี่ชายชื่อว่า คี ชอล (ภาษาเกาหลี: Ki Cheol 奇轍) ในค.ศ. 1332 ทางฝ่ายราชวงศ์หยวนมีพระจักรพรรดิพระองค์ใหม่ขึ้นครองราชย์คือ พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ นางสาวคีอายุสิบเจ็ดปีได้รับการคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในบรรดาสาวดรุณีที่ราชสำนักโครยอต้องส่งมอบให้แก่ราชสำนักหยวนเป็นบรรณาการ นางสาวคีจึงจำต้องจากบ้านเกิดของตนเองไปยังกรุงต้าตู (Dadu) อันเป็นราชธานีของราชวงศ์หยวน หรือปักกิ่งในปัจจุบัน เพื่อเป็นนางในคอยปรนนิบัติรับใช้พระจักรพรรดิโทคนเตมือร์ ด้วยความช่วยเหลือของโคยงโบ (ภาษาเกาหลี: Go Yongbo 고용보) ขันทีชาวเกาหลีในราชสำนักหยวน ทำให้นางในคีได้มีโอกาสทำหน้าที่ถวายเครื่องดื่มและน้ำชาแด่พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์อย่างใกล้ชิด จนเป็นที่ต้องพระเนตรของจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ ในค.ศ. 1340 พระสนมตระกูลคีได้ให้กำเนิดพระโอรสองค์แรกแด่พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ คือ เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ (ภาษามองโกล: Ayushiridara) พระสนมตระกูลคีจึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระจักรพรรดินีตระกูลคี หรือ พระจักรพรรดินีโอลชีคูตูค แม้ว่าในขณะนั้นพระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์จะทรงมีพระจักรพรรดินีอยู่แล้วก็ตามคือ พระจักรพรรดินี บายันคูตูค (ภาษามองโกล: Bayan Khutugh) เท่ากับว่าในเวลานั้นราชวงศ์หยวนมีพระจักรพรรดินีในเวลาเดียวกันสองพระองค์ พระจักรพรรดินีดีทรงมีขันทีชาวเกาหลีคนสนิทคือ พัคบุลฮวา (ภาษาเกาหลี: Bak Bulhwa 박불화) ที่คอบรับใช้พระจักรพรรดินีทำงานต่างๆ ในค.ศ. 1353 พระจักรพรรดินีคีวางแผนร่วมกับพัคบุลฮวา และขุนนางมองโกลชื่อว่าฮามา (Hama) ทำการโน้มน้าวให้พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์แต่งตั้งเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์พระโอรสของพระนางเป็นไท่จื่อหรือเจ้าชายรัชทายาท แต่แผนการนี้ถูกอัครเสนาบดีทอคตอค (Toghtogha) คัดค้าน พระจักรพรรดินีคีจึงทรงกำจัดทอคตอคด้วยการสร้างข้อกล่าวทุจริตฉ้อฉลแก่โทคตา เป็นเหตุให้ทอคตอคถูกปลดจากตำแหน่งและเนรเทศออกไปในค.ศ. 1354 และเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าชายรัชทายาทในปีเดียวกัน ด้วยฐานะพระจักรพรรดินีแห่งหยวน ทำให้ตระกูลคีของพระนางเรืองอำนาจอยู่ในอาณาจักรโครยอบ้านเกิด พระเชษฐาคีชอลกลายเป็นผู้กุมอำนาจการปกครองที่แท้จริงและมีชื่อเสียงในด้านความทุจริตฉ้อฉล เป็นตัวแทนของมองโกลคอยกำกับดูแลให้ราชสำนักโครยอปฏิบัติตามนโยบายของหยวน แม้แต่พระมารดาของจักรพรรดินีคีนั้นก็มีศักดิ์สูงกว่าพระเจ้าคงมินแห่งโครยอ (Gongmin of Goryeo) จนกษัตริย์เกาหลีต้องทรงทำความเคารพมารดาของพระนาง พระเจ้าคงมินทรงตัดสินพระทัยนำทัพเข้ายึดอำนาจจากตระกูลคี สังหารคีชอลรวมทั้งมารดาและสมาชิกครอบครัวคีไปจนหมดสิ้นในค.ศ. 1356 สร้างความพิโรธแค้นให้แก่จักรพรรดินีคีเป็นอย่างมากจึงส่งทัพบุกไปยังอาณาจักรโครยอเพื่อปลดพระเจ้าคงมินจากบัลลังก์แล้วตั้งเจ้าชายทัชเตมูร์ (Tash Temür) เป็นกษัตริย์เกาหลีพระองค์ใหม่ แต่ทัพมองโกลก็ได้ถูกทัพเกาหลีตีแตกพ่ายไป ในค.ศ. 1364 เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์เจริญชันษาขึ้นมาจึงคิดชิงราชบัลลังก์หยวนจากพระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์พระบิดา แต่ทว่าแผนการล่วงรู้ไปถึงพอดลัดเตมูร์ (Bolad Temür) ผู้เป็นพระบิดาของพระจักรพรรดินีบายันคูตูค พอดลัดเตมูร์จึงนำกองกำลังเข้ายึดเมืองต้าตูข่านบาลิกเป็นเหตุให้เจ้าชายรัชทายาทต้องเสด็จหนีออกจากเมือง พอดลัดเตมูร์จับองค์จักรพรรดินีคีไว้เป็นตัวประกันและสังหารขันทีพัคบุลฮวา เมื่อทราบว่าเจ้าชายอายูร์ชีรีดาด้วยการสนับสนุนของโคเกเตมูร์ (Köke Temür) หมายจะยกทัพเข้ามายึดเมืองคืน พอดลัดเตมูร์จึงได้บังคับให้พระจักรพรรดินีดีออกพระราชเสาวนีย์เรียกให้พระโอรสมาเข้าเฝ้าตัวเปล่า แต่เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ก็มิได้ทำตาม ยกทัพเข้ายึดเมืองต้าตูคืนได้สำเร็จ พอดลัดเตมูร์ถูกลอบสังหารโดยคนที่พระจักรพรรดิทรงส่งมา พระจักรพรรดินีคีและเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ประสงค์จะให้พระจักรพรรดิโทคนเตมือร์สละราชบัลลังก์ ซึ่งพระจักรพรรดิไม่ทรงยอมแต่มอบตำแหน่งทางทหารให้แก่พระโอรสจนเป็นที่พอพระทัย ในค.ศ. 1365 พระจักรพรรดินีบายันคูตูคสิ้นพระชนม์ พระจักรพรรดินีคีจึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระจักรพรรดินีเพียงหนึ่งเดียวของราชวงศ์หยวน อีกเพียงสามปีต่อมาค.ศ. 1368เมืองต้าตูข่านบาลิกเสียให้แก่พระจักรพรรดิหงหวู่ (Hongwu Emperor) จูหยวนจาง (ภาษาจีน: 朱元璋 Zhu Yuanzhang) แห่งราชวงศ์หมิง พระจักรพรรดิตอคอนเตมูร์พร้อมทั้งพระจักรพรรดินีคีและพระโอรสเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ทั้งสามพระองค์เสด็จหนีไปยังเมืองซ่างตู (ภาษาจีน: 上都 Shangdu ปัจจุบันอยู่ในเขตมองโกเลียใน) ต่อมาค.ศ. 1370 เมืองซ่างตูเสียให้แก่ราชวงศ์หมิง ทั้งสามพระองค์จึงเสด็จหนีต่อไปยังเมืองอิงชาง (ภาษาจีน: 應昌 Yingchang) ซึ่งพระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ประชวรสวรรคตที่นั่น ในปีเดียวกันทัพราชวงศ์หมิงตามมาถึงเมืองอิงชาง พระจักรพรรดินีคีพร้อมพระโอรสจึงเสด็จหนีต่อไปยังเมืองคาราโครุม (Karakorum) หลังจากที่เสด็จหนีไปยังมองโกเลียแล้วไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับพระจักรพรรดินีคีอีกเลย นักประวัติศาสตร์คาดการณ์ว่าหลังจากที่เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ทรงก่อตั้งราชวงศ์หยวนเหนือ ขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิหยวนเจ้าจง (ภาษาจีน: 昭宗 Zhaozong) พระจักรพรรดินีคีน่าจะดำรงตำแหน่งเป็นไทเฮาอยู่ช่วงเวลาหนึ่ง ก่อนจะสิ้นพระชนม์ไปโดยที่ไม่ทราบว่าเป็นปีใ.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและจักรพรรดินีคี · ดูเพิ่มเติม »

จางเยี่ยต้าหวาง

งเยี่ยต้าหวาง อยู่ในวงศ์ Polygonaceae เป็นไม้ล้มลุกขนาดใหญ่ รากและเหง้าอ้วนสั้น ลำต้นอ้วนสั้น กลวง เปลือกต้นเป็นร่องตามยาว มีขนสีขาว ข้อพองออก ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก สีแดงอมม่วง น้อยมากที่จะเป็นสีขาวอมเหลือง ผลแห้งเมล็ดล่อน เมล็ดรูปไข่กว้าง สีน้ำตาลดำ พบในจีนที่มณฑลกานซู หูเป่ย์ ชิงไห่ ชานซี เสฉวน ยูนนาน ทิเบต และมองโกเลียใน ในจีนและรัสเซียปลูกเพื่อใช้เป็น.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและจางเยี่ยต้าหวาง · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลทรายโกบี

right ทะเลทรายโกบี (Говь, Gobi; 戈壁) ตั้งอยู่บริเวณรอยต่อระหว่างประเทศมองโกเลียตอนใต้กับเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ทางตอนเหนือของประเทศจีน โกบีเป็นทะเลทรายที่ยิ่งใหญ่แห่งหนึ่งของโลก ทอดตัวเป็นแนวโค้งยาว 1,600 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 1.3 ล้านตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่พอ ๆ กับรัฐอะแลสกาของสหรัฐอเมริกา ทะเลทรายแห่งนี้ตั้งอยู่บนที่ราบสูงเหนือระดับน้ำทะเล 900-1,500 เมตร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นหินล้วนทางด้านตะวันออก ส่วนด้านตะวันตกเป็นทร.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและทะเลทรายโกบี · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 10

อะเมซิ่ง เรซ 10 (The Amazing Race 10) เป็นฤดูกาลที่ 10 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีม ๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและดิอะเมซิ่งเรซ 10 · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาอัลไต

ตระกูลภาษาอัลไต (Altaic language family) ตระกูลภาษานี้ใช้พูดกันตั้งแต่ป่าสนในไซบีเรียตะวันออกข้ามทุ่งหญ้าและทะเลทรายของเอเชียกลางไปจรดประเทศตุรกี และบางส่วนของประเทศจีน คนในแถบนี้มีลักษณะทางวัฒนธรรมแบบเลี้ยงสัตว์เร่ร่อนไปตามทุ่งหญ้าและทะเลทราย เช่น พวกเตอร์กและมองโกลบางเผ่า บางพวกก็อาศัยอยู่ตามป่าเขาและล่าสัตว์ เช่น พวกมองโกลบางพวกและพวกตุงกุส มีบางส่วนเท่านั้นที่รับวัฒนธรรมใกล้เคียงอย่างวัฒนธรรมจีนที่มีลักษณะแบบเกษตรกรรม เช่น ชาวเกาหลีและชาวญี่ปุ่นซึ่งอาจเป็นพวกตุงกุสดั้งเดิม (Proto-Tungusic) โดยอพยพมายังคาบสมุทรเกาหลีและหมู่เกาะญี่ปุ่นก่อนพวกอื่น ในปัจจุบันนี้ผู้ที่ใช้ตระกูลภาษานี้มีประมาณ 270 ล้านคนทั่วโลก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและตระกูลภาษาอัลไต · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำหวง

แม่น้ำหวางเหอที่น้ำตกหูโกว แม่น้ำหวางเหอช่วงที่ไหลผ่านมณฑลกานซู แม่น้ำหวางเหอ, หวง หรือ แม่น้ำฮวง, ฮวงโห (แปลว่า แม่น้ำเหลือง) เป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับสองของประเทศจีน รองจากแม่น้ำแยงซี และเป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับที่ 6 ของโลก มีความยาว 3,395 ไมล์ หรือ 5,464 กิโลเมตร สูงเหนือระดับน้ำทะเล ถึง 5,400 เมตร (ยาวกว่าแม่น้ำเจ้าพระยาถึง 15 เท่า) ไหลจากฝั่งตะวันตกมาทางตะวันออก ผ่านมณฑลชิงไห่, เสฉวน, กานซู, หนิงเซี่ย, มองโกเลียใน, ซานซี, เหอหนาน และออกสู่ทะเลโป๋ (โป๋ไห่) ใน มณฑลซานตง ซึ่งเป็นทะเลในอ่าวทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศจีน น้ำในแม่น้ำหวางเหอ เป็นสีเหลืองเนื่องจากมีตะกอนดินทรายพัดพามาจากทิศตะวันตก ยังความอุดมสมบูรณ์ในการเพาะปลูกให้เกิดขึ้นสองฟากฝั่งแม่น้ำ ในขณะเดียวกันก็เกิดภาวะน้ำล้นตลิ่ง เกิดอุทกภัยหลายครั้งซึ่งแต่ละครั้งก่อให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินของผู้คนอย่างมากมายมหาศาล จึงได้รับฉายาว่า "แม่น้ำวิปโยค" (悲劇河) ลุ่มแม่น้ำหวางเหอเป็นแหล่งกำเนิดอารยธรรมจีนมาช้านาน ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยมีการขุดค้นพบซากฟอสซิลมนุษย์วานรอายุ 5–600,000 ปี เรียกว่า "มนุษย์หลันเถียน" (蓝田人) ที่เชื่อว่าเป็นบรรพบุรุษของชนชาติจีน ที่มีถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่อำเภอหลันเถียน มณฑลชานซี นอกจากนี้ยังพบซากโบราณสถานจำนวนมาก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและแม่น้ำหวง · ดูเพิ่มเติม »

แฮมสเตอร์จีน

แฮมสเตอร์จีน (Chinese hamster; 中國倉鼠; พินอิน: Zhōngguó cāngshǔ) เป็นสัตว์ฟันแทะชนิดหนึ่ง จำพวกแฮมสเตอร์ แฮมสเตอร์จีนเป็นแฮมสเตอร์ชนิดหนึ่ง มีลักษณะแตกต่างจากแฮมสเตอร์ทั่วไป คือ รูปร่างลักษณะลำตัวยาวป้อม จมูกยาว หางยาวเล็กน้อยซึ่งจะคล้ายกับหนูมากกว่าแฮมสเตอร์ทั่วไป ลำตัวมีสีน้ำตาลและสีเทาขาว มีเส้นสีดำพาดอยู่กลางสันหลังตั้งแต่หน้าผาก จนถึงบั้นท้ายบริเวณโคนหาง ขนาดโตเต็มที่จะมีขนาดความยาว 7.5-9 เซนติเมตร กระจายพันธุ์อยู่ในทุ่งหญ้าและทะเลทรายของจีนทางตอนเหนือและมองโกเลียใน อาศัยอยู่ด้วยการขุดโพรงอยู่ในดิน ออกหากินในเวลากลางคืน มีอุปนิสัยค่อนข้างรักสันโดษ ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าตัวผู้เล็กน้อย ตัวผู้ในฤดูผสมพันธุ์จะมีอุปนิสัยดุร้าย ก้าวร้าวกว่าแฮมสเตอร์ทั่วไปจนถึงขั้นทำร้ายตัวเมียจนถึงตายเลยก็มี จัดเป็นแฮมสเตอร์อีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยงและเป็นสัตว์ทดลอง โดยเริ่มเลี้ยงกันตั้งแต่ปี ค.ศ. 1919 แฮมสเตอร์จีนเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ตั้งแต่อายุเพียง 5 สัปดาห์ ออกลูกครอกหนึ่งอาจมากถึง 9 ตัว ปีหนึ่งอาจออกลูกได้มากถึง 5 ครอก จึงนับเป็นสัตว์ฟันแทะอีกชนิดหนึ่งที่แพร่ขยายพันธุ์ได้รวดเร็วมาก EPISODE 5, " Untamed China with Nigel Marven".

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและแฮมสเตอร์จีน · ดูเพิ่มเติม »

แผนพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันตกของจีน

ตเศรษฐกิจใหญ่ทั้งสี่ของจีน ไฟล์:Zhongguo jingji bankuai.png ตะวันออก ตะวันตก ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง แผนพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันตกของจีน (ซีปู้ต้าไคฟา; China Western Development) คือนโยบายที่เสนอโดยรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนเพื่อพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันตกของจีน โดยกินพื้นที่ร้อยละ 71.4 ประชากรร้อยละ 28.8 และเศรษฐกิจร้อยละ 16.8 ของประเทศ ปกคลุมอาณาเขตของ 6 มณฑล (กานสู้ กุ้ยโจว ชิงไห่ ฉ่านซี เสฉวน ยูนนาน) 5 เขตปกครองตนเอง (กวางสี มองโกเลียใน หนิงเซี่ย ทิเบต) และ 1 เทศบาลนคร (นครฉงชิ่ง) รถไฟใต้ดินนครฉงชิ่ง และทางรถไฟชิงไห่ คือตัวอย่างของโครงการนี้ หมวดหมู่:ประเทศจีน.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและแผนพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันตกของจีน · ดูเพิ่มเติม »

เลโอนิด โรโกซอฟ

ลโอนิด อีวาโนวิช โรโกซอฟ (Леонид Иванович Рогозов; Leonid Ivanovich Rogozov; 14 มีนาคม พ.ศ. 2477 — 21 กันยายน พ.ศ. 2543) เป็นแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปชาวรัสเซียซึ่งเข้าร่วมคณะสำรวจแอนตาร์กติกาแห่งโซเวียตในระหว่าง..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเลโอนิด โรโกซอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่น

ตะขอเข็มขัด ตอกและสลักด้วยการออกแบบตามหลักของสัตว์และนกในตำนาน ราชวงศ์ฮั่น (ปี 206 ก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 220) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนในยุคโบราณ ปรากฏช่วงเวลาที่เศรษฐกิจรุ่งเรืองและถดถอยที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน แบ่งออกเป็น 3 ช่วงเวลา คือ ราชวงศ์ฮั่นเหนือ (ปี 206 ก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 9) ราชวงศ์ซิน (ปี ค.ศ. 9 – 23) และราชวงศ์ฮั่นตะวันออก (ปี ค.ศ. 25 – 220) ระบอบการปกครองของราชวงศ์ซินก่อตั้งโดยจักรพรรดิซินเกาจู่ (หวัง หมั่ง) เป็นระบอบการปกครองช่วงระหว่างภาวะสุญญากาศทางการเมืองคั่นกลางระหว่างการปกครองที่ยาวนานของราชวงศ์ฮั่น หลังจากที่การปกครองของจักรพรรดิซินเกาจู่ล่มสลายลง เมืองหลวงของราชวงศ์ฮั่นถูกย้ายไปทางทิศตะวันออกจากเมืองฉางอานไปยังเมืองลั่วหยาง ด้วยเหตุนี้นักประวัติศาสตร์จึงเรียกยุคก่อนและหลังว่าราชวงศ์ฮั่นตะวันตกและราชวงศ์ฮั่นตะวันออกตามลำดับ เศรษฐกิจสมัยราชวงศ์ฮั่นถูกกำหนดโดยการเติบโตของประชากรอย่างแพร่หลาย การกลายเป็นเมืองเพิ่มขึ้น การเติบโตอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนของอุตสาหกรรมและการค้า และการทดลองของรัฐบาลโดยแปลงสินทรัพย์ของเอกชนให้เป็นสินทรัพย์ของรัฐ ในยุคนี้ระดับของการทำเหรียญและการไหลเวียนของเหรียญเงินตราเติบโตอย่างมีนัยสำคัญ รูปแบบของพื้นฐานทางระบบการเงินที่มั่นคง เส้นทางสายไหมช่วยอำนวยความสะดวกในการสถาปนาการค้าและแลกเปลี่ยนเครื่องบรรณาการกับต่างประเทศทั่วทวีปยูเรเชีย หลายสิ่งนี้ไม่เคยเป็นที่รับรู้ของชาวจีนยุคโบราณมาก่อน เมืองหลวงของราชวงศ์ทั้งราชวงศ์ฮั่นตะวันตก (ฉางอาน) และราชวงศ์ฮั่นตะวันออก (ลั่วหยาง) ตั้งอยู่ท่ามกลางเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้นทั้งด้านประชากรและด้านพื้นที่ โรงงานของรัฐบาลผลิตเครื่องตกแต่งสำหรับพระราชวังของจักรพรรดิและผลิตสินค้าสำหรับสามัญชน รัฐบาลควบคุมการก่อสร้างถนนและสะพานหลายแห่งซึ่งอำนวยความสะดวกให้กับธุรกิจของรัฐบาลอย่างเป็นทางการและส่งเสริมการเจริญเติบโตทางการค้า ภายใต้การปกครองของราชวงศ์ฮั่น นักอุตสาหกรรม ผู้ค้าส่งและพ่อค้า จากพ่อค้าปลีกรายย่อยไปจนถึงนักธุรกิจที่มั่งคั่งสามารถมีส่วนร่วมในความหลากหลายของอุตสาหกรรมและการค้าที่หลากหลายทั้งภายในประเทศ ในแวดวงสาธารณะ และแม้แต่ทหาร ในช่วงต้นราชวงศ์ฮั่น ชาวนาที่อาศัยอยู่พื้นที่ชนบทพึ่งพาตัวเองเป็นส่วนใหญ่ แต่พวกเขาเริ่มพึ่งพาการแลกเปลี่ยนทางการค้าอย่างหนักกับเจ้าของที่ดินการเกษตรขนาดใหญ่ที่มั่งคั่ง ชาวนาชาวไร่จำนวนมากมีหนี้สินลดลงและถูกบังคับให้กลายเป็นแรงงานจ้างหรือไม่ก็เป็นผู้อยู่อาศัยที่ต้องจ่ายค่าเช่าให้กับชนชั้นเจ้าของที่ดิน รัฐบาลของราชวงศ์ฮั่นพยายามให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจกับชาวนาที่ยากจนอย่างต่อเนื่อง พวกชาวนาต้องแข่งขันกับขุนนาง เจ้าของที่ดินและผู้ประกอบการค้าที่ทรงอำนาจและอิทธิพล รัฐบาลพยายามจำกัดอำนาจของกลุ่มคนที่มั่งคั่งเหล่านี้โดยการเก็บภาษีและออกกฎระเบียบทางราชการอย่างหนัก ถึงแม้ว่ารัฐบาลของจักรพรรดิฮั่นอู่ (ปี 141 – 87 ก่อนคริสตกาล) ได้แปรรูปอุตสาหกรรมเหล็กและเกลือให้กลายเป็นกิจการของรัฐ อย่างไรก็ตาม การผูกขาดของรัฐบาลเหล่านี้ถูกยกเลิกในระหว่างยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก การแทรกแซงของรัฐบาลที่เพิ่มขึ้นในด้านเศรษฐกิจภาคเอกชนระหว่างปลายศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล ส่งผลให้ชนชั้นพ่อค้าเชิงพาณิชย์อ่อนแอลงอย่างหนัก การแทรกแซงของรัฐบาลช่วยให้เจ้าของที่ดินที่มั่งคั่งเพิ่มอำนาจพวกเขาและรับประกันความต่อเนื่องของเศรษฐกิจที่ครอบงำการเกษตร เจ้าของที่ดินที่มั่งคั่งครอบงำกิจกรรมด้านการค้าได้เป็นอย่างดี ปรับปรุงอำนาจการปกครองให้อยู่เหนือชาวนาที่อยู่ในชนบททั้งหมด ผู้ซึ่งรัฐบาลไว้วางใจเพราะรายได้จากการจัดเก็บภาษี กำลังทางทหารและแรงงานสาธารณะ โดยในปีคริสต์ทศวรรษที่ 180 วิกฤตทางเศรษฐกิจและการเมืองเป็นเหตุให้รัฐบาลของราชวงศ์ฮั่นกระจายอำนาจมากขึ้น ขณะที่เจ้าของที่ดินรายใหญ่มีอิสระและมีอำนาจในชุมชนของพวกเขามากขึ้น.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่น · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 40 องศาเหนือ

้นขนานที่ 40 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 40 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 15 ชั่วโมง 1 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 9 ชั่วโมง 20 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นขนานที่ 40 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 50 องศาเหนือ

้นขนานที่ 50 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 50 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 16 ชั่วโมง 22 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 8 ชั่วโมง 4 นาที ในระหว่างเหมายัน โดยดวงอาทิตย์จะมีมุมเงยสูงสุดในครีษมายันที่ 63.5 องศา และเหมายันที่ 16.5 องศา ที่ละติจูดนี้ อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลโดยเฉลี่ยระหว่าง..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นขนานที่ 50 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 80 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 101 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 101 องศาตะวันออก คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจาก ขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรใต้, และทวีปแอนตาร์กติกาเข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 101 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 79 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 101 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 102 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 102 องศาตะวันออก คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจาก ขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรใต้, และทวีปแอนตาร์กติกาเข้าสู่ขั้วโลกใต้   เส้นเมริเดียนที่ 102 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 78 องศาตะวันตก  .

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 102 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 103 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 103 องศาตะวันออก คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจาก ขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรใต้, และทวีปแอนตาร์กติกาเข้าสู่ขั้วโลกใต้     เส้นเมริเดียนที่ 103 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 77 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 103 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 104 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 104 องศาตะวันออก คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจาก ขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรใต้, และทวีปแอนตาร์กติกาเข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 104 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 76 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 104 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 71 องศาตะวันตก  .

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 70 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 69 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 112 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 112 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูด ที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรใต้, และ ทวีปแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 112 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 68 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 112 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 65 องศาตะวันตก ระหว่างออสเตรเลียและเส้นขนานที่ 60 องศาใต้ เส้นเมริเดียนนี้ถูกใช้เป็นเขตแดนด้านตะวันตกของเขตเสรีอาวุธนิวเคลียร์แปซิฟิกใต้.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 119 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 119 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 119 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 61 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 119 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 60 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 121 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 121 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 121 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 59 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 121 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 122 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 122 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 122 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 58 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 122 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 123 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 123 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 123 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 57 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 123 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 124 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 56 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 55 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 126 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 54 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 99 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 99 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 99 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 81 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเส้นเมริเดียนที่ 99 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เหมิ่งเจียง

เหมิ่งเจียง เป็นเขตปกครองตนเองในมองโกเลีย เป็นรัฐหุ่นเชิดของจักรวรรดิญี่ปุ่น ประกอบด้วยจังหวัดของชาร์ฮาร์และสุย-ยฺเหวี่ยน ซึ่งอยู่ในภูมิภาคของ​​มองโกเลียใน ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของจีน รัฐแห่งนี้เรียกแบบไม่เป็นทางการว่า เหมิงกู่กั๋ว (蒙古国) มีสถานะรัฐคล้ายคลึงกับแมนจูกัว รัฐหุ่นเชิดของญี่ปุ่นในแมนจูเรีย สำหรับเหมิ่งเจียง แล้ว เมืองหลวงอยู่ที่จางเจียโข่ว โดยญี่ปุ่นได้ส่งเจ้าชายมองโกลนามว่าเดมชูงดองรอปซ์ ไปปกครองเหมิ่งเจียง หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:ประเทศจีน หมวดหมู่:สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 2 หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2479 หมวดหมู่:สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2488 หมวดหมู่:รัฐหุ่นเชิดของญี่ปุ่น หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในเอเชียตะวันออก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเหมิ่งเจียง · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียกลาง

แผนที่เอเชียกลางแสดงเขตแดนตามคำนิยามที่ต่างกัน 3 แบบ เอเชียกลาง(อังกฤษ: Central Asia หรือ Middle Asia รัสเซีย: Центральная Азия) เป็นพื้นที่กว้างใหญ่ในทวีปเอเชียที่ไม่มีทางออกทะเล มีคำนิยามที่ต่างกันออกไปสำหรับขอบเขตของดินแดนที่จัดอยู่ในภูมิภาคเป็นเอเชียกลาง และยังไม่มีคำนิยามใดที่เป็นที่ยอมรับโดยส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามลักษณะโดยทั่วไปของดินแดนในภูมิภาคนี้คือ มีความเกี่ยวข้องทางประวัติศาสตร์กับกลุ่มชนร่อนเร่ (nomad) และ เส้นทางสายไหม ซึ่งทำให้ในอดีตนั้นดินแดนในภูมิภาคนี้เป็นเสมือนเส้นทางของ สินค้า คน รวมถึง แนวความคิด ระหว่างยุโรป ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออก.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑล

น์ตี (county) เป็นหน่วยย่อยของการปกครองในหลายประเทศ มีไว้เพื่อการบริหารท้องถิ่นตลอดจนการอื่นที่จำเป็นThe Chambers Dictionary, L. Brookes (ed.), 2005, Chambers Harrap Publishers Ltd, Edinburgh คำ เคาน์ตี มาจากภาษาฝรั่งเศสเก่า conté (กงเต) แปลว่าเขตการปกครองภายใต้เจ้าต่างกรมหรือขุนนางระดับเคานต์The Oxford Dictionary of English Etymology, C. W. Onions (Ed.), 1966, Oxford University Press เคาน์ตีในแต่ละประเทศมีฐานะการปกครองที่แตกต่างกันไม่เป็นแบบเดียวกันเสียทีเดียว จึงต้องพิจารณาถึงฐานะการปกครองเสียก่อนจึงเทียบให้เข้ากับระบบการปกครองของไทย ในสหรัฐอเมริกา เคาน์ตีมักเรียกว่า เทศมณฑล มีฐานะรองลงจากรัฐ (ซึ่งมีรัฐบาลอิสระจากรัฐบาลกลาง) แต่ใหญ่กว่าหมู่บ้านหรือเมือง แต่ในสหราชอาณาจักร เคาน์ตีมีฐานะเป็นจังหวัดที่มีผู้ว่าราชการจังหวัดประจำ รวมทั้งมีสภาจังหวัดและ/หรือสภาอำเภอ (กรมการอำเภอ) ปกครอง ในประเทศต่าง ๆ นอกจากนี้ คำ เคาน์ตี จะหมายถึงหน่วยการปกครองที่แตกต่างกันออกไป (โปรดดูรายละเอียดในบทความ).

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเทศมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศจีน

ตการปกครองของจีน เขตการปกครองของจีน มีอยู่ด้วยกัน 3 ระดับ ได้แก่ มณฑล อำเภอ และ ตำบล แต่ในปัจจุบันได้เพิ่มมาอีก 2 ระดับ คือ จังหวัด และ หมู่บ้าน ซึ่งถ้านำมาเรียงใหม่จะได้เป็น มณฑล จังหวัด อำเภอ ตำบล และ หมู่บ้าน.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเขตการปกครองของประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองหนิงเซี่ยหุย

ตปกครองตนเองหนิงเซี่ยหุย (Ningxia Hui Autonomous Region; ชื่อย่อ "หนิง" (宁)) เป็นหนึ่งในห้าเขตปกครองตนเองของจีน ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีน ทางตอนบนของแม่น้ำหวงเหอ (แม่น้ำเหลือง) มีเมืองหลวงชื่อ หยินชวน.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเขตปกครองตนเองหนิงเซี่ยหุย · ดูเพิ่มเติม »

เซี่ยตะวันตก

ซี่ยตะวันตก (Western Xia) เป็นชื่ออาณาจักรแห่งหนึ่งซึ่งดำรงอยู่ตั้งแต่ปี 1038 ถึงปี 1227 ณ บริเวณที่ปัจจุบันเป็นเขตกานซู ชิงไห่ ซินเจียง มองโกเลียนอก มองโกเลียใน ส่านซี และหนิงเซี่ย ของสาธารณรัฐประชาชนจีน กินพื้นที่ราวแปดแสนตารางกิโลเมตร อาณาจักรเซี่ยตะวันตกถูกพวกมองโกลจากอาณาจักรมองโกลทำลายโดยสิ้นเชิง เป็นเหตุให้บันทึกและสถาปัตยกรรมล้วนดับสูญ ฉะนั้น ประวัติศาสตร์ของอาณาจักรนี้จึงเป็นที่โต้เถียงเรื่อยมา จนกระทั่งมีการสำรวจขนานใหญ่จากฝรั่งและคนจ?ีนเอง จึงพบว่า อาณาจักรเซี่ยตะวันตกประสบความส??سเร็จอย่างใหญ่หลวงในด้านน?าฏกรรม วรรณกรรม ศิลปกรรม และสถาปัตยกรรม ชนิดที่นักประวัติศาสตร์ถือกันว่า เป็นผลงานที่ "รุ่งโรจน์เรืองรอง" (shining and sparkling) อนึ่ง ยังพบว่า อาณาจักรเซี่ยตะวันตกสามารถจัดระเบียบกองทัพอย่างเป็นระบบ กองทัพเซี่ยมีทั้งพลธนู พลปืน (ติดตั้งปืนใหญ่ไว้บนหลังอูฐ) พลม้า พลรถ พลโล่ และทแกล้??اทหารที่เก่งทั้งน้ำและบก อาณาจักรเซี่ยตะวันตกจึงรุกรานอาณาจัก?รรอบข้าง เช่น จิน ซ่ง และเหลียว ?ได้อย่างมีประสิท.

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเซี่ยตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เป่า ลี่เกา

ป่าลี่ เกา กับยาห์ยา กูเลย์ ในงานแถลงข่าว วันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 2010 ที่กรุงปักกิ่ง เป่า ลี่เกา (宝力高; Bao Li Gao) เจ้าของฉายา บุตรแห่งทุ่งหญ้า กับ มวยไทยคิลเลอร์ เกิดวันที่ 24 ตุลาคม..

ใหม่!!: เขตปกครองตนเองมองโกเลียในและเป่า ลี่เกา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

มองโกเลียใน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »