โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เขตจอมทอง

ดัชนี เขตจอมทอง

ตจอมทอง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตตากสิน ซึ่งถือเป็นแหล่งจ้างงานใหม่ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก และศูนย์ราชการทางทิศตะวันตกของกรุงเทพมหานคร.

76 ความสัมพันธ์: บางมด (แก้ความกำกวม)กรุงเทพมหานครกรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556รายชื่อวัดประจำรัชกาลรายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานครรายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานครรายชื่อทางแยกในเขตจอมทองรายชื่อคลองในกรุงเทพมหานครรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งธนบุรี)รายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานครรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานครรายการรหัสไปรษณีย์ไทยรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้มรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลวัดนางนองวรวิหารศาลชั้นต้น (ประเทศไทย)ศาลแขวง (ประเทศไทย)สภากรุงเทพมหานครสภากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครสมาพร รังษีกุลพิพัฒน์สมาคมธรรมประทีปสาทิส อินทรกำแหงสถานีรถไฟวัดสิงห์สถานีวุฒากาศ (รถไฟฟ้าบีทีเอส)ส้มเขียวหวานอำเภอเมืองนนทบุรีอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554จอมทองจีเอฟพีทีถนนพระรามที่ 2ถนนพุทธบูชาถนนกัลปพฤกษ์ถนนกาญจนาภิเษกถนนราชพฤกษ์ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสินถนนสุขสวัสดิ์ถนนเอกชัยถนนเทอดไททางพิเศษเฉลิมมหานครทางแยกต่างระดับสวนเลียบที่หยุดรถไฟคลองต้นไทรดาวคะนอง (ภาพยนตร์)คลองสนามชัย...คลองด่าน (ฝั่งธนบุรี)ป้ายหยุดรถไฟจอมทองแยกจอมทองแขวงแขวงบางบอนแขวงบางมด (เขตจอมทอง)แขวงบางมด (เขตทุ่งครุ)แขวงบางขุนเทียนแขวงบางค้อแขวงบางปะกอกแขวงจอมทองแขวงท่าข้ามแขวงคลองบางบอนแขวงคลองบางพรานแขวงแสมดำโรงเรียนบางมดวิทยาโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์โรงเรียนวัดพุทธบูชาโรงเรียนวัดราชโอรสเขตบางบอนเขตบางขุนเทียนเขตภาษีเจริญเขตราษฎร์บูรณะเขตธนบุรีเขตทุ่งครุเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง ขยายดัชนี (26 มากกว่า) »

บางมด (แก้ความกำกวม)

งมด อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เขตจอมทองและบางมด (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: เขตจอมทองและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: เขตจอมทองและกรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: เขตจอมทองและกรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: เขตจอมทองและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดประจำรัชกาล

ม่มีวัดประจำรัชกาล แต่จะเลือกเอาวัดที่พระมหากษัตริย์พระองค์นั้น ทรงมีส่วนเกี่ยวข้อง โดยยึดเอาที่บรรจุพระบรมราชสรีรางคารเป็นสำคัญ.

ใหม่!!: เขตจอมทองและรายชื่อวัดประจำรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตจอมทองและรายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อและระยะทางของถนนในเขตกรุงเทพมหานคร เฉพาะถนนสาธารณะที่อยู่ในความดูแลของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร กรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบท รวมทั้งเส้นทางที่ตัดผ่านที่ดินของหน่วยงานราชการอื่นและเส้นทางของเอกชนที่ได้รับการกำหนดให้เป็น "ถนน" อย่างเป็นทางการจากกรุงเทพมหานครแล้ว ทั้งนี้ ไม่รวมเส้นทางที่ใช้สัญจรเฉพาะภายในพื้นที่หน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา บ้านจัดสรร และสถานที่เอกชนซึ่งมักมีการปิดกั้นหรือควบคุมทางเข้าออก.

ใหม่!!: เขตจอมทองและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร ทางแยกต่างระดับ รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: เขตจอมทองและรายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตจอมทอง

รายชื่อทางแยกในเขตจอมทอง เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตจอมทองและรายชื่อทางแยกในเขตจอมทอง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร

ตัดกันระหว่างคลองบางน้อย กับคลองบางกอกใหญ่ ในพื้นที่แขวงบางเชือกหนัง เขตตลิ่งชัน คลองในกรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,161 คลอง และคูลำกระโดง จำนวน 521 คู รวมเป็น 1,682 คูคลอง ความยาว 2,604 กม.

ใหม่!!: เขตจอมทองและรายชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งธนบุรี)

ราณสถานที่มีรายชื่อในหน้านี้ตั้งอยู่ในพื้นที่สีเขียวบนแผนที.

ใหม่!!: เขตจอมทองและรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งธนบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ

รงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ คือขนาดโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐที่กำหนดขึ้นโดยกรมสามัญศึกษาเดิม (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.) โดยกำหนดโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีจำนวนนักเรียนมากกว่า 2,501 คนขึ้นไป ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ปริมณฑลและโรงเรียนประจำจังหวัด ทั้งนี้ ไม่รวมโรงเรียนในสังกัดอื่น ๆ เช่น สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (โรงเรียนเทศบาล), สังกัดมหาวิทยาลัย (โรงเรียนสาธิต), โรงเรียนเอกชน เป็นต้น ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษแบ่งตามภาค ตามจำนวนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ไม่นับ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จังหวัดนครปฐม โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดสกลนคร ซึ่งมีเฉพาะนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: เขตจอมทองและรายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตจอมทองและรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร

ต (district หรือ khet) เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองทางมหาดไทย อยู่ระดับเดียวกับอำเภอซึ่งอยู่รองจากจังหวัด แต่ใช้เฉพาะในกรุงเทพมหานครซึ่งไม่มีสถานะเป็นจังหวัด ในแต่ละเขตแบ่งออกเป็นแขวง.

ใหม่!!: เขตจอมทองและรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย

นี่คือรายชื่อรหัสไปรษณีย์ไทยเรียงตามจังหวั.

ใหม่!!: เขตจอมทองและรายการรหัสไปรษณีย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม (บ้านภาชี-มหาชัย) เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ซึ่งเป็นเส้นทางรถไฟที่เป็นแกนหลักของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศเหนือ-ทิศใต้/ตะวันตกเฉียงใต้ พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่ในเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม มีแผนงานรวม 114.3 กม.

ใหม่!!: เขตจอมทองและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 2 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่ทั้งฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: เขตจอมทองและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line) หรือ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง (MRT Purple Line) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม. หรือ MRTA) เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) ส่วนต่อขยายเดิมช่วงเตาปูน-บางใหญ่, สายสีม่วงเดิม ช่วงหอสมุดแห่งชาติ-เตาปูน และสายสีส้มเดิม ช่วงสามเสน (หอสมุดแห่งชาติ)-ราษฎร์บูรณะ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน กลายเป็นรถไฟฟ้าเส้นทางใหม่ที่กำหนดให้เป็นสายสีม่วง บรรจุในแผนแม่บทฯ ของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 นาม ฉลองรัชธรรม เป็นชื่อที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเพื่อเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง ระยะแรก สายคลองบางไผ่-นนทบุรี-เตาปูน มีความหมายว่า “เฉลิมฉลองพระราชาที่ปกครองโดยธรรม” โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยได้ยื่นเรื่องขอพระราชทานชื่อเส้นทาง เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสพระราชพืธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: เขตจอมทองและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

ใหม่!!: เขตจอมทองและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · ดูเพิ่มเติม »

วัดนางนองวรวิหาร

วัดนางนองวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 36 ถนนวุฒากาศ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตจอมทองและวัดนางนองวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

ศาลชั้นต้น (ประเทศไทย)

ลชั้นต้น เป็นศาลยุติธรรม เป็นศาลที่พิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีในชั้นแรก โดยทั่วไป ผู้ใดที่มีคดีความและประสงค์จะใช้สิทธิฟ้องร้องจะต้องยื่นฟ้องที่ศาลนี้.

ใหม่!!: เขตจอมทองและศาลชั้นต้น (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ศาลแขวง (ประเทศไทย)

ลแขวง เป็นศาลยุติธรรมที่พิจารณาคดีทั้งคดีแพ่งซึ่งราคาทรัพย์สินที่พิพาทหรือจำนวนเงินที่ฟ้องไม่เกิน 300,000 บาท (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม ม.25 (4)) และคดีอาญาที่มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ แต่ทั้งนี้จะลงโทษจำคุกเกิน 6 เดือน หรือปรับเกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ซึ่งโทษจำคุกหรือปรับนั้นอย่างหนึ่งอย่างใดหรือทั้งสองอย่างเกินอัตราที่กล่าวแล้วไม่ได้ (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม ม.25 (5)) ถ้าศาลแขวงเห็นว่าสมควรลงโทษจำเลยเกินอัตราดังกล่าวแล้วก็ให้มีอำนาจพิพากษาได้แต่จะต้องให้ผู้พิพากษาอย่างน้อย 1 คนตรวจสำนวน และลงลายมือชื่อในคำพิพากษา เป็นองค์คณ.

ใหม่!!: เขตจอมทองและศาลแขวง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สภากรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร (ตัวย่อ: ส.ก.) เป็นองค์กรฝ่ายสภาของกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ควบคุม ตรวจสอบและดูแลการบริหารราชการกรุงเทพมหานครของฝ่ายบริหารอันมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นหัวหน้าคณะฯ ซึ่งประธานสภากรุงเทพมหานครคนปัจจุบัน คือ ร้อยตำรวจตรี เกรียงศักดิ์ โลหะชาละ สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร,นาย กิตติ บุศยพลากร สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร เป็นรองประธานสภากรุงเทพมหานคร คนที่ 1 และนาย นิรันดร์ ประดิษฐกุล รองประธานสภากรุงเทพมหานคร คนที่ 2.

ใหม่!!: เขตจอมทองและสภากรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

สภากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553

กรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: เขตจอมทองและสภากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร มี 33 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 33 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: เขตจอมทองและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

สมาพร รังษีกุลพิพัฒน์

มาพร รังษีกุลพิพัฒน์ (ชื่อเล่น: ปุ๊ก; นามสกุลเดิม: ชูกิจ; เกิด: 17 ตุลาคม พ.ศ. 2515) พิธีกรและนักจัดรายการวิทยุชาวไทย การศึกษา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมรสกับสัมพันธ์ รังษีกุลพิพัฒน์ เลขานุการนายกเทศมนตรี เทศบาลนครเชียงราย โดยจดทะเบียนสมรส เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 บริเวณทุ่งทานตะวัน เขตจอมทอง และมีพิธีมงคลสมรส ในวันที่ 14 มีนาคม ปีเดียวกัน.

ใหม่!!: เขตจอมทองและสมาพร รังษีกุลพิพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมธรรมประทีป

มาคมธรรมประทีป หรือ ศูนย์ผู้ปฏิบัติธรรพุทธศาสนานิชิเร็นโชชู ประเทศไทย (อังกฤษ: Thailand Buddhist Nichiren Shoshu Association, Dharma Pradip Association) เป็น ศูนย์ผู้นับถือศาสนาและสมาคมผู้ปฏิบัติศาสนาพุทธนิกายนิชิเรนโชชู แห่งประเทศไทย ก่อตั้งโดย ดร. พิภพ ตังคณะสิงห์ ในวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2514 โดยเป็นหนึ่งใน 6 องค์กรสมาคมผู้นับถือนิกายนิชิเรนโชชูในประเทศไทยที่ขึ้นตรงต่อวัดใหญ่ไทเซขิจิ ซึ่งสมาคมธรรมประทีปถือเป็นองค์กรที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย (ไม่นับสมาคมสร้างคุณค่าในประเทศไทย ที่ได้ถูกคว่ำบาตรจากทางวัดใหญ่) สมาคมนี้เป็นศูนย์ภาคีองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) อันดับที่ 109.

ใหม่!!: เขตจอมทองและสมาคมธรรมประทีป · ดูเพิ่มเติม »

สาทิส อินทรกำแหง

ทิส อินทรกำแหง (14 มีนาคม พ.ศ. 2469 — 28 ตุลาคม พ.ศ. 2555) เป็นนักเขียนและบรรณาธิการหนังสือ, ผู้ริเริ่มและเผยแพร่การแพทย์แบบผสมผสาน และการรักษาสุขภาพตามหลักธรรมชาติ เข้ามาในประเทศไทย ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของแนวทางสุขภาพแบบชีวจิต และเป็นผู้ได้รับรางวัลนราธิป ประจำปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: เขตจอมทองและสาทิส อินทรกำแหง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟวัดสิงห์

นีรถไฟวัดสิงห์ เป็นสถานีรถไฟระดับ 4 ของทางรถไฟสายแม่กลอง ตั้งอยู่ในซอยเอกชัย 43 (วัดสิงห์) ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 7.15 กิโลเมตร.

ใหม่!!: เขตจอมทองและสถานีรถไฟวัดสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวุฒากาศ (รถไฟฟ้าบีทีเอส)

นีวุฒากาศ แผนผังสถานีวุฒากาศ สถานีวุฒากาศ (Wutthakat Station รหัสสถานี S11) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้าในเส้นทาง รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ส่วนต่อขยายแยกตากสิน-บางหว้า โดยสถานียกระดับเหนือ ถนนราชพฤกษ์ กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกราชพฤกษ์-วุฒากาศและจะเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางกับระบบ รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม ในอนาคต.

ใหม่!!: เขตจอมทองและสถานีวุฒากาศ (รถไฟฟ้าบีทีเอส) · ดูเพิ่มเติม »

ส้มเขียวหวาน

้มเขียวหวาน เป็นส้มชนิดหนึ่ง ที่พัฒนาสายพันธุ์มาจากส้มจีน (C. reticulata) ในประเทศไทยมีผู้สันนิษฐานว่ามีผู้นำเข้าต้นพันธุ์มาจากประเทศจีนเมื่อระยะเวลากว่า 100 ปีมาแล้ว โดยลักษณะทั่วไปของส้มเขียวหวานมีรูปกลมมน แป้นเล็กน้อย ฐานผลกลมมน ด้านล่างเป็นแอ่งตื้น ๆ ผิวผลเรียบ มีเปลือกบาง เนื้อส้มภายในเป็นสีส้มอมทอง ฉ่ำน้ำ กลีบแยกออกจากกันได้โดยง่าย มีรสชาติอร่อยหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย เมื่อแกะออกมาแล้วกลิ่นจะติดจมูก ทำให้เป็นที่นิยมกันเป็นอย่างมาก ทั้งในรูปของผลไม้สดและในรูปของน้ำส้มคั้น ซึ่งนอกจากจะให้คุณค่าทางอาหารสูงแล้ว การบริโภคในลักษณะที่รวมทั้งเส้นใยและกากจะเป็นยาระบายอ่อนๆได้เป็นอย่างดีอีกด้วยส้มเขียวหวานที่ผลิตในแต่ละปีจะใช้บริโภคทั้งภายในประเทศและส่งออกไปจำหน่ายประเทศเพื่อนบ้าน นำรายได้เข้าประเทศปีละหลายล้านบาท แหล่งที่ขึ้นชื่อว่าปลูกส้มเขียวหวานกันมากและมีชื่อเสียงในประเทศไทย คือ ตำบลบางมดในพื้นที่อำเภอราษฎร์บูรณะและอำเภอบางขุนเทียนของจังหวัดธนบุรี (ปัจจุบันคือแขวงบางมดในเขตทุ่งครุและเขตจอมทองของกรุงเทพมหานคร) จนได้ชื่อว่า "ส้มบางมด" แต่ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 มีน้ำทะเลได้หนุนเข้ามาทำให้ไม่สามารถปลูกได้ จึงได้เปลี่ยนมาปลูกที่ทุ่งรังสิต โดยเริ่มที่คลองสอง ธัญบุรี ต่อมาในปี พ.ศ. 2511 จึงมาปลูกที่อำเภอหนองเสือ จนได้ชื่อว่า "ส้มรังสิต" แต่ปัจจุบันก็มีการเพาะปลูกน้อยลง รวมถึงในพื้นที่บางมดด้วย ส้มเขียวหวาน มีสรรพคุณทางยาและโภชนาการ ตรงที่ผลนำมารับประทานหรือคั้นน้ำดื่มมีรสชาติเปรี้ยวอมหวานบรรเทาอาการกระหายน้ำ ป้องกันโรคหวัดและการติดเชื้อแบคทีเรีย ลดปริมาณโคเลสเตอรอลในโลหิต ช่วยระบบย่อยอาหารของร่างกาย ระบายได้มีแก้อาการท้องผูก และมีคุณค่าทางอาหาร ส้มเขียวหวานน้ำหนัก 100 กรัม ให้วิตามินซี 42 มิลลิกรัม นอกจากนี้แล้ว ส้มเขียวหวานยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ส้มแก้วเกลี้ยง", "ส้มจันทบูร", "ส้มแป้นกระดาน", "ส้มแสงทอง", "ส้มแป้นเกลี้ยง", "ส้มจุก" หรือ "ส้มบางมด" เป็นต้น.

ใหม่!!: เขตจอมทองและส้มเขียวหวาน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองนนทบุรี

มืองนนทบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา เศรษฐกิจ และการสาธารณสุขของจังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: เขตจอมทองและอำเภอเมืองนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554

อุทกภัยในประเทศไท..

ใหม่!!: เขตจอมทองและอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จอมทอง

อมทอง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เขตจอมทองและจอมทอง · ดูเพิ่มเติม »

จีเอฟพีที

ริษัท จีเอฟพีที จำกัด (มหาชน) (GFPT PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:GFPT) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เขตจอมทองและจีเอฟพีที · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 2

นนพระรามที่ 2 (Thanon Rama II) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 สายธนบุรี–ปากท่อ เป็นถนนที่ตัดผ่านกรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดราชบุรี เป็นเส้นทางหลักที่มุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย และยังเป็นหนึ่งในถนนพระรามทั้ง 7 สาย ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ยกเว้นถนนพระรามที่ 2 ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง ถนนพระรามที่ 2 มีระยะทางรวม 84.041 กิโลเมตร.

ใหม่!!: เขตจอมทองและถนนพระรามที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพุทธบูชา

นนพุทธบูชา (Thanon Phuttha Bucha) เป็นถนนที่แยกจากถนนพระรามที่ 2 บริเวณคลองเจ้าคุณ ในท้องที่แขวงบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ไปบรรจบกับถนนประชาอุทิศที่ทางแยกนาหลวง ในท้องที่แขวงบางมด เขตทุ่งครุ เป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจร ถนนเส้นนี้เริ่มก่อสร้างตั้งแต่สมัยที่กำนันปลิว เกิดชูชื่น เป็นกำนันตำบลบางมด และก่อสร้างเสร็จในสมัยของกำนันสงวน สวนส้มจีน ซึ่งเป็นลูกเขยของกำนันปลิว เดิมถนนสายนี้มีจุดเริ่มต้นที่ปากซอยสุขสวัสดิ์ 14 ไปสิ้นสุดที่บริเวณปากซอยพุทธบูชา 31 ไม่ถึงวัดพุทธบูชา การก่อสร้างถนนเส้นนี้เป็นไปอย่างยากลำบาก เนื่องจากกำนันปลิวต้องไปเจรจาขอที่ของลูกบ้านเป็นจำนวนมาก และแนวถนนจะต้องเลาะไปตามแนวเขตที่ดินของผู้บริจาครายต่าง ๆ จึงเป็นสาเหตุให้ถนนเส้นนี้มีลักษณะคดเคี้ยวไปมา ถนนพุทธบูชามีถนนอีกส่วนหนึ่ง เชื่อมทางแยกกาญจนาภิเษก-ประชาอุทิศ ถนนนี้เกิดขึ้นจากสร้าง ถนนกาญจนาภิเษก ด้านใต้.

ใหม่!!: เขตจอมทองและถนนพุทธบูชา · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกัลปพฤกษ์

นนกัลปพฤกษ์ (Thanon Kanlapaphruek) หรือ ทางหลวงชนบท กท.1001 เป็นเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยเป็นถนนคอนกรีตขนาด 4 ช่องจราจร เชื่อมต่อระหว่างถนนราชพฤกษ์กับถนนกาญจนาภิเษก.

ใหม่!!: เขตจอมทองและถนนกัลปพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกาญจนาภิเษก

นนกาญจนาภิเษก (Thanon Kanchanaphisek) หรือ ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 เป็นถนนสายสำคัญที่มีเส้นทางเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนล้อมรอบตัวเมืองกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ รวมถึงผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 168 กิโลเมตร ถนนสายนี้สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจราจรที่ติดขัดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีปริมาณการจราจรและการขนส่งเพิ่มขึ้น อันเป็นผลจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเป็นทางเลี่ยงเมืองกรุงเทพมหานครที่เป็นตัวเชื่อมทางสายหลักเข้าไปสู่ทุกภาคของประเทศ เริ่มก่อสร้างครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: เขตจอมทองและถนนกาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชพฤกษ์

นนราชพฤกษ์ (Thanon Ratchaphruek) หรือ ทางหลวงชนบท น.3021 สายราชพฤกษ์ เป็นถนนที่ทอดยาวจากกรุงเทพมหานครสู่จังหวัดนนทบุรี เป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญสายหนึ่ง โดยสามารถเดินทางจากถนนสาทรถึงอำเภอบางบัวทองได้โดยไม่ต้องผ่านทางแยกสัญญาณไฟจราจร (ไม่ติดไฟแดง) แม้แต่แห่งเดียว.

ใหม่!!: เขตจอมทองและถนนราชพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน

นนสมเด็จพระเจ้าตากสิน ช่วงตลาดดาวคะนอง ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน (Thanon Somdet Phra Chao Tak Sin) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งทางฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตจอมทองและถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสุขสวัสดิ์

นนสุขสวัสดิ์ (Thanon Suk Sawat) ซึ่งระยะทางส่วนใหญ่ของถนนมีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 303 สายราษฎร์บูรณะ–พระสมุทรเจดีย์ (ในสมัยก่อนมีชื่อว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายดาวคะนอง - ป้อมพระจุล") สร้างตั้งแต่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ถนนนี้ตั้งชื่อนี้เพื่อเป็นเกียรติแก่ร้อยโทหม่อมเจ้าธัญญลักษณ์ สุขสวัสดิ์ นายช่างหัวหน้าการก่อสร้าง กรมทางหลวง เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2493 ตามนโยบายของรัฐบาล มีความยาวทั้งหมด 28 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่สะพานข้ามคลองดาวคะนองจนถึงป้อมพระจุลจอมเกล้า เริ่มต้นทางหลวงแผ่นดินตั้งแต่ถนนพระรามที่ 2 เป็นถนนขนาด 8 ช่องทางจราจรตั้งแต่ดาวคะนองถึงสามแยกวัดพระสมุทรเจดีย์ แล้วส่วนของสามแยกพระสมุทรเจดีย์-ป้อมพระจุลจอมเกล้ามีขนาด 2 ช่องทางจราจร อนึ่ง ถนนสุขสวัสดิ์ช่วงตั้งแต่สะพานข้ามคลองดาวคะนองถึงสะพานข้ามคลองบางปะแก้วเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างเขตจอมทองกับเขตราษฎร์บูรณะ ถนนสุขสวัสดิ์ช่วงตั้งแต่กิโลเมตรที่ 1 ถึงกิโลเมตรที่ 6 อยู่ในความรับผิดชอบของ กรุงเทพมหานคร ส่วนตั้งแต่กิโลเมตรที่ 6+463 เป็นต้นไป อยู่ในความรับผิดชอบของ แขวงทางหลวงสมุทรปรากร.

ใหม่!!: เขตจอมทองและถนนสุขสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเอกชัย

นนเอกชัย (Thanon Ekkachai) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3242 สายต่อทางขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร - ต่อทางของกรุงเทพมหานคร เป็นเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างกรุงเทพมหานครกับจังหวัดสมุทรสาคร เริ่มต้นจากถนนจอมทองบริเวณสะพานคลองด่านในพื้นที่เขตจอมทอง ผ่านถนนกำนันแม้น ข้ามคลองวัดสิงห์เข้าพื้นที่เขตบางบอน จากนั้นตัดกับถนนบางบอน 1 ถนนบางขุนเทียน ถนนกาญจนาภิเษก ถนนบางบอน 3 และถนนบางบอน 5 ผ่านโรงเรียนศึกษานารีวิทยา เข้าเขตอำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ผ่านวัดโพธิ์แจ้ ถนนเทพกาญจนา ถนนเลียบคลองสี่วาพาสวัสดิ์ ข้ามสะพานตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 บริเวณมหาชัยเมืองใหม่ เข้าสู่เขตเทศบาลนครสมุทรสาคร ผ่านถนนเศรษฐกิจ 1 สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 กิโลเมตรที่ 30 ระยะทางจากถนนบางขุนเทียนประมาณ 23 กิโลเมตร ถนนเอกชัยนับตั้งแต่กิโลเมตรที่ 0 ถึงกิโลเมตรที่ 1+191 มีองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาครเป็นผู้ดูแล นับตั้งแต่กิโลเมตรที่ 1+191 ถึงกิโลเมตรที่ 13+746 อยู่ในความดูแลของหมวดทางหลวงสมุทรสาครที่ 2 แขวงทางหลวงสมุทรสาคร ต่อจากนั้นตั้งแต่กิโลเมตรที่ 13+746 ถึงกิโลเมตรที่ 19+650 อยู่ในความดูแลของหมวดทางหลวงบางขุนเทียน แขวงทางหลวงธนบุรี ก่อนเส้นทางที่เหลือจนถึงถนนจอมทองจะอยู่ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตจอมทองและถนนเอกชัย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเทอดไท

นนเทอดไทช่วงตลาดพลู ถนนเทอดไท (Thanon Thoet Thai) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นถนนในฝั่งธนบุรี ตัดผ่านตั้งแต่เขตธนบุรี, เขตจอมทอง, เขตภาษีเจริญ ไปสิ้นสุดที่เขตบางแค ถนนเทอดไทจัดเป็นถนนสายรอง บางส่วนเดิมมีชื่อว่า "ถนนพัฒนาการ" เป็นถนนที่มีจุดเริ่มต้นที่แยกบางยี่เรือ จุดตัดกับถนนอินทรพิทักษ์ ในเขตธนบุรี ไปสิ้นสุดลงที่แยกพัฒนาการ จุดตัดกับถนนบางแค ในเขตบางแ.

ใหม่!!: เขตจอมทองและถนนเทอดไท · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษเฉลิมมหานคร

ทางพิเศษเฉลิมมหานคร หรือ ระบบทางด่วนขั้นที่ 1 เป็นทางพิเศษสายแรกของประเทศไทย ก่อสร้างและเปิดให้บริการเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: เขตจอมทองและทางพิเศษเฉลิมมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ทางแยกต่างระดับสวนเลียบ

ทางแยกต่างระดับสวนเลียบ เป็นทางแยกต่างระดับแห่งหนึ่งในเขตภาษีเจริญและเขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดระหว่างถนนราชพฤกษ์ (ช่วงตากสิน-เพชรเกษม) กับถนนกัลปพฤกษ.

ใหม่!!: เขตจอมทองและทางแยกต่างระดับสวนเลียบ · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟคลองต้นไทร

ที่หยุดรถไฟคลองต้นไทร เป็นที่หยุดรถไฟแห่งหนึ่งของทางรถไฟสายแม่กลอง ตั้งอยู่ในซอยวุฒากาศ 41 ถนนวุฒากาศ แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 3.35 กิโลเมตร.

ใหม่!!: เขตจอมทองและที่หยุดรถไฟคลองต้นไทร · ดูเพิ่มเติม »

ดาวคะนอง (ภาพยนตร์)

วคะนอง (By the time it gets dark) เป็นภาพยนตร์ไทย กำกับโดยอโนชา สุวิชากรพงศ์ นำแสดงโดยวิศรา วิจิตรวาทการ, อารักษ์ อมรศุภศิริ, อภิญญา สกุลเจริญสุข, เพ็ญพักตร์ ศิริกุล, รัศมี เผ่าเหลืองทอง และ อัจฉรา สุวรรณ์ เริ่มฉายรอบปฐมทัศน์โลกที่โลการ์โน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ หลังจากนั้นออกฉายที่ประเทศเกาหลีใต้, อังกฤษ, แคนาดา และฮ่องกง ฯลฯ ส่วนในประเทศไทย อโนชาเลือกจะจัดฉายหนังรอบพิเศษสำหรับแขกรับเชิญเฉพาะกลุ่มในคืนวันที่ 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: เขตจอมทองและดาวคะนอง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

คลองสนามชัย

ลองสนามชัย หรือ คลองมหาชัย เป็นคลองที่ขุดขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระสรรเพชญที่ 8แห่งกรุงศรีอยุธยา แทนที่คลองโคกขามเดิม ซึ่งมีความคดเคี้ยวอย่างมาก เรียกคลองที่ขุดขึ้นใหม่นี้ว่า คลองพระพุทธเจ้าหลวง แต่ยังไม่ทันแล้วเสร็จก็สวรรคตไปก่อน ต่อมาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระได้โปรดเกล้าให้พระราชสงครามเป็นนายกอง เกณฑ์คนจากหัวเมืองปักษ์ใต้มาขุดต่อ หัวเมืองปักษ์ใต้ในสมัยนั้น หมายถึงหัวเมืองที่อยู่ทางใต้ของกรุงศรีอยุธยา เช่น เมืองสาครบุรี สามโคก ราชบุรี ธนบุรี นนทบุรี เพชรบุรี ใช้เวลาขุดสองเดือนจึงแล้วเสร็จ จุดเริ่มต้นของคลองอยู่ต่อจากคลองด่าน บริเวณแยกคลองบางขุนเทียน ในเขตจอมทอง แล้วไปออกแม่น้ำท่าจีนที่ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ตัวคลองลึก 6 ศอก และกว้าง 7 วา ใช้ในการคมนาคมขนส่ง และทำสงคราม และยังมีชาวต่างชาติใช้เส้นทางนี้ไปกรุงศรีอยุธยาโดยไม่ต้องผ่านเข้าทางแม่น้ำเจ้าพระยาอีกด้วย ผลสืบเนื่องที่สำคัญคือการบุกเบิกพื้นที่สองฝั่งคลองมาใช้ในการเกษตรอย่างกว้างขวาง นับเป็นผลงานสำคัญในรัชกาลนี้ นอกจากนั้นแล้ว ในปี พ.ศ. 2352 คลองสายนี้เป็นเส้นทางที่สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ ทรงใช้ยกทัพไปปราบพม่าที่เมืองถลางและเมืองชุมพรอีกด้วย ปัจจุบันคลองสนามชัยเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญในกรุงเทพมหานคร และจ.สมุทรสาคร คลองมหาชัยนี้ยังเป็นที่มาของชื่อเรียกจังหวัดสมุทรสาครที่นิยมอีกด้วย เนื่องจากตัวเมืองตั้งอยู่ที่บริเวณปากคลองมหาชัยพอดี ในปัจจุบันนิยมเรียกคลองนี้ว่าคลองมหาชัย ใน.สมุทรสาคร และเรียกคลองสนามชัย ในฝั่งธนบุรี โดยทั่วไปไม่ได้เจาะจงว่าบริเวณใดเป็นจุดเริ่มต้นคลองสนามชัย แต่จะถือกันว่าคลองสนามชัยและคลองด่านเป็นคลองเดียวกันในละแวกนั้น ในเขตจอมทองจึงเรียกคลองนี้ทั้งคลองสนามชัย และคลองด่าน.

ใหม่!!: เขตจอมทองและคลองสนามชัย · ดูเพิ่มเติม »

คลองด่าน (ฝั่งธนบุรี)

ำหรับคลองด่านในเขตจังหวัดสมุทรปราการ ดูที่: คลองด่าน (บางบ่อ) คลองด่าน ถือเป็นคลองสายประวัติศาสตร์ที่สำคัญอีกแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ชื่อของคลองด่านมีที่มาจาก ในสมัยโบราณที่ปากคลองด่านด้านวัดหมู (วัดอัปสรสวรรค์ในปัจจุบัน) เคยเป็นด่านขนอนมาก่อน ด่านขนอนคือด่านที่เป็นกระโจมหลังคา มียอดสำหรับดูเรือในระยะไกล เพื่อตรวจสิ่งของต้องห้าม และเก็บภาษีจากเรือสินค้าต่างชาติทั้งฝรั่ง และจีน ที่ขึ้นล่องผ่านด่านมาติดต่อค้าขายในอาณาจักร ซึ่ง ณ ที่นี้จะสามารถเก็บภาษีทั้งจากเรือที่ผ่านมาทางแม่น้ำเจ้าพระยา และทางแม่น้ำท่าจีนได้ คลองด่านยังใช้เป็นเส้นทางไปออกแม่น้ำท่าจีนที่จังหวัดสมุทรสาครได้ด้วย ดังปรากฏว่าเป็นเส้นทางเดินทัพไปด่านเจดีย์สามองค์ในสมัยรัชกาลที่ 2 และปรากฏเป็นเส้นทางสำคัญที่ใช้สัญจร ทั้งใน นิราศถลางของเสมียนมี (หมื่นพรหมสมพัตรสร) นิราศนรินทร์ จดหมายเหตุลาลูแบร์ โคลงนิราศพระยาตรัง และโคลงนิราศทวายของพระพิพิธสาลี ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว คลองด่านเกิดตื้นเขิน จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระยาโชฎึกราชเศรษฐี (ทองจีน) เป็นแม่กองขุดลอกในพ.ศ. 2374 คลองด่านเป็นเส้นแบ่งเขตภาษีเจริญและเขตธนบุรี ก่อนที่จะไหลเข้าเขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ปากคลองแยกจากคลองบางกอกใหญ่ที่วัดปากน้ำภาษีเจริญ ไปออกคลองบางขุนเทียน และคลองสนามชัย ความยาวประมาณ 3 กิโลเมตร ปัจจุบัน คลองด่านใช้เป็นคลองเพื่อการระบายน้ำการสัญจร และการท่องเที่ยว วัดสำคัญบริเวณริมฝั่งคลองได้แก่ วัดปากน้ำภาษีเจริญ วัดอัปสรสวรรค์ วัดนางชี วัดหนัง วัดขุนจันทร์ วัดใหม่ยายนุ้ย วัดนางนองวรวิหาร และวัดราชโอรสาราม โดยทั่วไปแล้ว ไม่ได้เจาะจงว่าบริเวณใดเป็นจุดสิ้นสุดของคลองด่าน แต่จะถือกันว่าคลองสนามชัยและคลองด่านเป็นคลองเดียวกัน ทั้งนี้จึงเรียกคลองนี้ทั้งคลองสนามชัย และคลองด่าน.

ใหม่!!: เขตจอมทองและคลองด่าน (ฝั่งธนบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

ป้ายหยุดรถไฟจอมทอง

ป้ายหยุดรถไฟจอมทอง เป็นป้ายหยุดรถไฟแห่งหนึ่งของทางรถไฟสายแม่กลอง ตั้งอยู่บริเวณหลังวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 4.13 กิโลเมตร.

ใหม่!!: เขตจอมทองและป้ายหยุดรถไฟจอมทอง · ดูเพิ่มเติม »

แยกจอมทอง

แยกจอมทอง (Chom Thong Junction) เป็นทางแยกบริเวณจุดบรรจบระหว่างถนนจอมทองกับถนนวุฒากาศ ในพื้นที่แขวงจอมทอง เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ใกล้กับเชิงสะพานบางขุนเทียน จอมทอง หมวดหมู่:เขตจอมทอง.

ใหม่!!: เขตจอมทองและแยกจอมทอง · ดูเพิ่มเติม »

แขวง

แขวง เป็นชื่อเรียกของเขตการปกครอง โดยในประเทศลาวและประเทศพม่านั้น "แขวง" จะมีอำนาจปกครองในระดับเดียวกับจังหวัดของประเทศไท.

ใหม่!!: เขตจอมทองและแขวง · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางบอน

แขวงบางบอน เป็นท้องที่การปกครองแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานครระหว่างปี..

ใหม่!!: เขตจอมทองและแขวงบางบอน · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางมด (เขตจอมทอง)

แขวงบางมด เป็นท้องที่การปกครองระดับแขวงที่มีพื้นที่มากที่สุดในเขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: เขตจอมทองและแขวงบางมด (เขตจอมทอง) · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางมด (เขตทุ่งครุ)

แขวงบางมด เป็นท้องที่การปกครองระดับแขวงหนึ่งในสองแห่งของเขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: เขตจอมทองและแขวงบางมด (เขตทุ่งครุ) · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางขุนเทียน

แขวงบางขุนเทียน เป็นท้องที่การปกครองแห่งหนึ่งของเขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: เขตจอมทองและแขวงบางขุนเทียน · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางค้อ

แขวงบางค้อ เป็นท้องที่การปกครองระดับแขวงที่มีพื้นที่น้อยที่สุดของเขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: เขตจอมทองและแขวงบางค้อ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางปะกอก

แขวงบางปะกอก เป็นท้องที่การปกครองระดับแขวงหนึ่งในสองแห่งของเขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: เขตจอมทองและแขวงบางปะกอก · ดูเพิ่มเติม »

แขวงจอมทอง

แขวงจอมทอง เป็นท้องที่การปกครองแห่งหนึ่งของเขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: เขตจอมทองและแขวงจอมทอง · ดูเพิ่มเติม »

แขวงท่าข้าม

แขวงท่าข้าม เป็นท้องที่ในเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งเกษตรกรรม ป่าชายเลน และที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: เขตจอมทองและแขวงท่าข้าม · ดูเพิ่มเติม »

แขวงคลองบางบอน

ลองบางบอน เป็นแขวงแขวงหนึ่งในเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร สภาพทั่วไปเป็นย่านการค้าและเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยถึงหนาแน่นปานกลาง ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: เขตจอมทองและแขวงคลองบางบอน · ดูเพิ่มเติม »

แขวงคลองบางพราน

ลองบางพราน เป็นแขวงแขวงหนึ่งในเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยและหนาแน่นปานกลาง บางส่วนเป็นเขตพาณิชยกรรม.

ใหม่!!: เขตจอมทองและแขวงคลองบางพราน · ดูเพิ่มเติม »

แขวงแสมดำ

แขวงแสมดำ เป็นท้องที่การปกครองในเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: เขตจอมทองและแขวงแสมดำ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบางมดวิทยา

ลหลวงปู่ชิต อนุสาวรีย์มด บริเวณหน้าโรงเรียน บริเวณหน้าเสาธง โรงเรียนบางมดวิทยา "สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์" (อังกฤษ: Bangmod Wittaya School) (อักษรย่อ: บ.ม.ว., B.M.W.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เดิมชื่อ โรงเรียนสีสุกหวาดจวนวิทยา ปัจจุบันมีนักเรียนทั้งสิ้น 2127 คน ครู 114 ท่าน จัดการเรียนการสอน 51 ห้องเรียน.

ใหม่!!: เขตจอมทองและโรงเรียนบางมดวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์

รงเรียนมัธยมวัดสิงห์ (Mathayomwatsing school) เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 35ก หมู่3 ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์เป็นโรงเรียนสหศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ มีเนื้อที่ 37 ไร่ ถือเป็นโรงเรียนรัฐบาลที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่ที่สุดในฝั่งธนบุรีซึ่งได้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2496.

ใหม่!!: เขตจอมทองและโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดพุทธบูชา

รงเรียนวัดพุทธบูชา เป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนสหศึกษา ตั้งขึ้นตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 19 เมษายน..

ใหม่!!: เขตจอมทองและโรงเรียนวัดพุทธบูชา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดราชโอรส

รงเรียนวัดราชโอรส เดิมเป็นโรงเรียนประชาบาล ตั้งอยู่ในเขตวัดราชโอรสาราม ด้านหน้าติดกับคลองสนามชัย หรือ คลองด่าน เดิมชื่อโรงเรียนประสิทธิ์วิทยาคม ต่อมาได้โอนเป็นโรงเรียนรัฐบาลขึ้นกับกระทรวงธรรมการ โดยรองอำมาตย์เอกหลวงพิรุณพิทยาพรรณเจ้าหน้าที่กระทรวงธรรมการกับพระธรรมุเทศาจารย์ เจ้าอาวาส ได้พิจารณาร่วมกันว่ายังไม่มีโรงเรียนมัธยมในละแวกนี้จึงเสนอให้โอนโรงเรียนประสิทธิ์วิทยาคมไปขึ้นกับกระทรวงธรรมการ มีชื่อว่า โรงเรียนวัดราชโอรส ในวันที่ 19 มีนาคม..

ใหม่!!: เขตจอมทองและโรงเรียนวัดราชโอรส · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางบอน

ตบางบอน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองหลักของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพทั่วไปทางด้านตะวันออกของเขตเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยและหนาแน่นปานกลาง โดยมีย่านการค้าและเขตอุตสาหกรรมภายในพื้นที่ ส่วนทางด้านตะวันตกเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยและเขตเกษตรกรรม.

ใหม่!!: เขตจอมทองและเขตบางบอน · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางขุนเทียน

ตบางขุนเทียน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพพื้นที่ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของเขตเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย การค้า และอุตสาหกรรม ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตเกษตรกรรมและมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เนื่องจากเป็นเขตเดียวของกรุงเทพมหานครที่มีพื้นที่ติดกับอ่าวไทย (เป็นระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร) และยังมีป่าชายเลนหลงเหลืออยู.

ใหม่!!: เขตจอมทองและเขตบางขุนเทียน · ดูเพิ่มเติม »

เขตภาษีเจริญ

ตภาษีเจริญ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพโดยทั่วไปมีลักษณะกึ่งชนบทกึ่งชุมชนเมือง แต่ในพื้นที่เนื่องจากมีการขยายตัวของระบบสาธารณูปโภค (โดยเฉพาะด้านการคมนาคม) จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงจากชุมชนเกษตรเป็นชุมชนเมืองมากขึ้น.

ใหม่!!: เขตจอมทองและเขตภาษีเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

เขตราษฎร์บูรณะ

ตราษฎร์บูรณะ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตตากสิน ซึ่งถือเป็นแหล่งจ้างงานใหม่ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก และศูนย์ราชการทางทิศตะวันตกของกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตจอมทองและเขตราษฎร์บูรณะ · ดูเพิ่มเติม »

เขตธนบุรี

ตธนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: เขตจอมทองและเขตธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตทุ่งครุ

ตทุ่งครุ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยและหนาแน่นปานกลาง โดยมีพื้นที่ทำการเกษตรเป็นหลักทางทิศตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: เขตจอมทองและเขตทุ่งครุ · ดูเพิ่มเติม »

เดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ บนเวทีเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง อย่างเป็นทางการครั้งแรก ที่ลานคนเมือง ใกล้กับเสาชิงช้า และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร เดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง เป็นกิจกรรมการปราศรัยของพรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) ในวันสุดสัปดาห์ ช่วงกลางปี พ.ศ. 2555 จนถึงปี พ.ศ. 2556 ที่จัดขึ้นในระหว่างที่รัฐสภาปิดสมัยการประชุม โดยเนื้อหาที่ปราศรัยเป็นการเชิญชวนให้ประชาชนต่อต้านกฎหมายนิรโทษกรรมและการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ ปี พ.ศ. 2550 โดยทางฝ่ายพรรคเพื่อไทย (พท.) และรัฐบาล ที่ทางพรรคประชาธิปัตย์เชื่อว่าเป็นการออกกฎหมายเพื่อนิรโทษกรรมให้แก่ผู้ที่กระทำผิดในช่วงเหตุการณ์วิกฤตทางการเมืองที่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านั้น โดยกิจกรรมนี้ ผู้ริเริ่ม คือ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตเลขาธิการพรรคเป็นผู้จัดการและออกค่าใช้จ่ายเองทั้งหมด โดยที่มิได้ใช้งบประมาณของพรรคแต่ประการใด โดยผู้ปราศรัย ส่วนใหญ่จะเป็นสมาชิกพรรคที่สำคัญ อาทิ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ, นายชวน หลีกภัย, นายสุเทพ เทือกสุบรรณ, นายกรณ์ จาติกวณิช และเสริมด้วยบุคคลอื่น ๆ เช่น นักวิชาการ เช่น นายแก้วสรร อติโพธิ, นักศึกษา และผู้จัดรายการสายล่อฟ้า เป็นต้น โดยมีการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ผ่านสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ ได้แก่ บลูสกายแชนแนล, ทีนิวส์ และไทยทีวีดี โดยถ่ายทอดสดทุกวันเสาร์ เวลา 16.30 - 21.00 น. หรือจนกว่าจนจบเวทีการปราศรัยเวทีเดินผ่าความจริง โดยก่อนหน้าที่จะเป็นเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง นั้น กิจกรรมนี้ใช้ชื่อว่า "สานเสวนาเวทีประชาชน" มาก่อน โดยการจัดเวทีปราศรัยได้เริ่มต้นในพื้นที่ภาคใต้ ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: เขตจอมทองและเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »