เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช

ดัชนี เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช

เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนวิช (South Georgia and the South Sandwich Islands, SGSSI) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ โดยตกเป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในปี พ.ศ.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 29 ความสัมพันธ์: บลุปกริตวีเคนภาษาอังกฤษรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรปรายชื่อธงชาติในทวีปอเมริกาใต้รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)รายชื่อเกาะเรียงตามขนาดวันชาติจักรวรรดิบริติชธงชาติหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตนคิงเอ็ดเวิร์ดพ็อยนต์ตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชตราแผ่นดินในทวีปอเมริกาใต้แมวน้ำเสือดาวแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560เพนกวินราชาเพนกวินเจนทูเมืองผีเวลาสากลเชิงพิกัดเส้นเมริเดียนที่ 37 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 38 องศาตะวันตกเขตเวลาUTC−02:0014 มิถุนายน19 มีนาคม

บลุป

กราฟเสียงของบลุป บลุป (Bloop) เป็นชื่อเรียกของเสียงความถี่ต่ำมากใต้มหาสมุทรซึ่ง องค์การสมุทรและบรรยากาศแห่งชาติ (National Oceanic and Atmospheric Administration หรือ NOAA) ของสหรัฐอเมริกาสามารถตรวจจับได้ในช่วงฤดูร้อนของ พ.ศ.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและบลุป

กริตวีเคน

การตั้งถิ่นฐานในเซาท์จอร์เจีย สถานีปลาวาฬกริตวีเคนในปี ค.ศ. 1989 กริตวีเคน หรือ กรูตวีเคน (Grytviken) เป็นนิคมหลักในดินแดนเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช ซึ่งเป็นดินแดนของสหราชอาณาจักร ที่นี่เคยเป็นศูนย์กลางการบริหารของดินแดนนี้ แต่ต่อมาก็ถูกทิ้งร้าง และย้ายศูนย์กลางการบริหารดินแดนไปยัง คิงเอดเวิร์ดพอยต.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและกริตวีเคน

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและภาษาอังกฤษ

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

รายชื่อธงชาติในทวีปอเมริกาใต้

รายชื่อธงชาติประเทศและดินแดนในอเมริกาใต้.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและรายชื่อธงชาติในทวีปอเมริกาใต้

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด

นี่คือ รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งรวมถึงรัฐอธิปไตยและเขตการปกครอง เรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด โดยยึดตามมาตรฐานสากล ISO 3166-1 เพื่อจุดประสงค์ทางสถิติ เขตการปกครองจะถูกบรรจุในรายชื่อรวมกับรัฐอธิปไตยด้วย ตัวเลขที่ปรากฏจะแสดงขนาดพื้นที่ทั้งหมด รวมทั้งพื้นดินและพื้นที่น้ำภายในดินแดนนั้นด้วย (เช่น ทะเลสาบ เขื่อน และแม่น้ำ) ซึ่งบางส่วนอาจนับรวมไปถึงพื้นที่ของน้ำภาคพื้นสมุทร (น่านน้ำชายฝั่ง) แต่ไม่นับรวมน่านน้ำอาณาเขตและเขตเศรษฐกิจจำเพาะ สถิติดังกล่าวไม่นับรวมเขตการปกครองซึ่งไม่มีพลเมืองอาศัยอยู่ – รวมทั้งการอ้างสิทธิ์ของหลายประเทศเหนือพื้นที่ของทวีปแอนตาร์กติกา (14,400,000 กม.²) – และการรวมกลุ่มประเทศ เช่น สหภาพยุโรป (4,324,782 กม.²) ซึ่งมีอำนาจอธิปไตย แต่ไม่สามารถพิจารณาว่าเป็นรัฐอธิปไตยหรือเขตการปกครองได้ พื้นที่ทั้งหมดของโลกคิดเป็น 148,940,000 กม.² (คิดเป็น 29.1% ของพื้นผิวโลกทั้งหมด).

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)

รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไตย บทความอื่นๆในหมวดหมู่นี้.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)

รายชื่อเกาะเรียงตามขนาด

หน้านี้คือรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดทั่วโลก.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและรายชื่อเกาะเรียงตามขนาด

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและวันชาติ

จักรวรรดิบริติช

ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและจักรวรรดิบริติช

ธงชาติหมู่เกาะฟอล์กแลนด์

งชาติหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ แบบปัจจุบันเริ่มใช้มาตั้งแต่วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2491 ลักษณะเป็นธงแสดงสัญชาติสีน้ำเงิน กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่ด้านปลายธงมีภาพตราแผ่นดินของหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ แต่แบบธงที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้จะมีลักษณะต่างจากแบบที่เริ่มใช้ในปี..

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและธงชาติหมู่เกาะฟอล์กแลนด์

ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน

ที่ตั้งของดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร (British Overseas Territories) คือดินแดน 14 ดินแดนที่อยู่ภายใต้อธิปไตยของสหราชอาณาจักร แต่ไม่ได้นับเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน

คิงเอ็ดเวิร์ดพ็อยนต์

คิงเอ็ดเวิร์ดพ็อยนต์ คิงเอ็ดเวิร์ดพ็อยนต์ (King Edward Point) เป็นศูนย์กลางการบริหารของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช ตั้งอยู่บนชายฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะเซาท์จอร์เจีย พิกัดอยู่ที่ 54 ° 17 '36 ° 30' w ที่นี่เป็นที่ตั้งของท่าเรือ และเป็นที่แห่งเดียวในเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชที่มีสิ่งอำนวยความสะดวกครบครัน หมวดหมู่:สถานีวิจัย หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์แอนตาร์กติกา.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและคิงเอ็ดเวิร์ดพ็อยนต์

ตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช

ตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2528 ก่อนหน้านี้เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชขึ้นอยู่กับหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ และใช้ตราแผ่นดินเดียวกัน ก่อนหน้..

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช

ตราแผ่นดินในทวีปอเมริกาใต้

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศต่างๆในทวีปอเมริกาใต้.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและตราแผ่นดินในทวีปอเมริกาใต้

แมวน้ำเสือดาว

แมวน้ำเสือดาว (Leopard seal) หรือบางทีเรียกว่า เสือดาวทะเล (Sea leopard) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์แมวน้ำ (Phocidae) หรือแมวน้ำแท้ และเป็นเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Hydrurga.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและแมวน้ำเสือดาว

แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559

แผ่นดินไหวใน..

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559

แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560

แผนที่แผ่นดินไหวในปี พ.ศ. 2560 ณ วันที่ 31 กรกฎาคม มีแผ่นดินไหวทั้งหมด 6,904 ครั้ง แผ่นดินไหวใน..

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560

เพนกวินราชา

นกวินราชา หรือ เพนกวินกษัตริย์ (King penguin) เป็นเพนกวินที่ใหญ่เป็นที่สองของเพนกวินที่ใหญ่ที่สุด มีน้ำหนักระหว่าง 11 ถึง 16 กิโลกรัม มีความสูงเกือบ 1 เมตร รองจากเพนกวินจักรพรรดิ เพนกวินราชามีสองชนิดย่อยคือ A.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและเพนกวินราชา

เพนกวินเจนทู

นกวินเจนทู (Gentoo penguin) เป็นนกที่บินไม่ได้จำพวกเพนกวินชนิดหนึ่ง พบกระจายพันธุ์ในซีกโลกทางตอนใต้ เช่น หมู่เกาะฟอล์กแลนด์, เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช เป็นต้น เพนกวินเจนทูเป็นหนึ่งในสมาชิกสามชนิดในสกุล Pygoscelis โดยหลักฐานทางนิวเคลียร์ดีเอ็นเอแสดงให้เห็นว่า เพนกวินเจนทูแบ่งแยกออกจากเพนกวินชนิดอื่น ๆ ประมาณ 38 ล้านปีที่ผ่านมา ประมาณ 2 ล้านปีหลังจากบรรพบุรุษของเพนกวินสกุล Aptenodytes ปรากฏออกมา อย่างไรก็ตาม เพนกวินในสกุลเดียวกันชนิดอื่นอย่างเพนกวินอาเดลีแยกออกจากสมาชิกชนิดอื่น ๆ ประมาณ 19 ล้านปีที่ผ่านมา ส่วนเพนกวินชินสแตรปและเพนกวินเจนทูออกตัวออกมาเมื่อประมาณ 14 ล้านปีมาแล้ว เพนกวินเจนทูเป็นเพนกวินที่มีความสูงเมื่อยืนเต็มที่ประมาณ 75 เซนติเมตร ทำให้เป็นเพนกวินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลกรองมาจากเพนกวินจักรพรรดิและเพนกวินราชา แต่เพนกวินเจนทูว่องไวมากเมื่ออยู่ในน้ำ โดยสามารถทำความเร็วได้ถึง 35 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ด้วยปีกที่ยาวใหญ่เหมือนครีบและรูปร่างที่เพรียวเหมือนตอร์ปิโด ทำให้เป็นนกที่ว่ายได้เร็วที่สุดในโลก โดยล่าเคย, หมึก และครัสเตเชียนเป็นอาหาร มีลักษณะเด่นคือ มีแถบสีขาวบริเวณขมับทั้งสองข้าง จะงอยปากเป็นสีเหลืองส้ม และพังผืดที่ตีนเป็นสีเหลืองสดใส เพนกวินเจนทูเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 2 ปี แต่นกที่ยังอายุไม่ถึงก็จะมีการสร้างรังก่อนเพื่อเรียนรู้ วางไข่และเลี้ยงลูกทีละ 2 ตัว ซึ่งพ่อแม่นกจะประสบปัญหาในการป้อนอาหารให้ลูก บางครั้งพ่อแม่นกอาจใช้วิธีวิ่งหนีเพื่อให้ลูกนกวิ่งตาม เพนกวินเจนทู มีศัตรูตามธรรมชาติ เช่น แมวน้ำเสือดาว, สิงโตทะเล, ปลาฉลาม, วาฬเพชฌฆาต ลูกนกและไข่นกก็ตกเป็นอาหารของนกทะเลอย่างนกสกิวอาหรือเหยี่ยวคาราคาราได้Wildest Islands, สารคดีทางแอนนิมอลแพลนเน็ต ทางทรูวิชั่นส์: อาทิตย์ที่ 29 ธันวาคม 2556.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและเพนกวินเจนทู

เมืองผี

มืองกริตวิเคน เมืองเอกของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช เมืองผี เป็นหมู่บ้าน เมืองหรือนครที่ถูกทิ้งร้าง ซึ่งเป็นเพราะกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สนับสนุนสถานที่แห่งนั้นล้มเหลว หรือเนื่องจากภัยพิบัติทั้งที่ธรรมชาติและมนุษย์เป็นสาเหตุ เช่น น้ำท่วม ปฏิบัติการรัฐบาล สภาพไร้กฎหมายควบคุมไม่ได้ สงครามหรือภัยพิบัตินิวเคลียร์ คำนี้บางครั้งใช้หมายถึงนคร เมืองหรือย่านที่ยังมีประชากรอยู่ แต่น้อยกว่าในอดีตมาก เมืองผีบางแห่งกลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยว เช่น ปริปยัต (Pripyat) ประเทศยูเครน บางแห่งได้รับความนิยมเพราะรักษาสถาปัตยกรรมเฉพาะของสมัยหนึ่งไว้ การท่องเที่ยว การเขียนถึง และการถ่ายภาพเมืองผีเป็นอุตสาหกรรมขนาดย่อม เมื่อครั้งแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและเมืองผี

เวลาสากลเชิงพิกัด

แผนที่โลกแสดงเขตเวลาในปัจจุบัน เวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; ตัวย่อ: UTC) คือ หน่วยเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงการหมุนของโลก โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหน่วยเวลาสากลซึ่งเป็นระบบอ้างอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) จุดอ้างอิงของเวลาสากลเชิงพิกัดคือที่ลองจิจูด ที่ 0° ที่ตัดผ่านหอดูดาวหลวงกรีนิชในกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (และเป็นสาเหตุหลักที่เวลามาตรฐานกรีนิชยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบัน).

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและเวลาสากลเชิงพิกัด

เส้นเมริเดียนที่ 37 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 37 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ มหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรใต้ และทวีปแอนตาร์กติกา ไปยัง ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 37 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 143 องศาตะวันออก  .

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและเส้นเมริเดียนที่ 37 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 38 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 38 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ มหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรใต้ และทวีปแอนตาร์กติกา ไปยัง ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 38 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 142 องศาตะวันออก.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและเส้นเมริเดียนที่ 38 องศาตะวันตก

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและเขตเวลา

UTC−02:00

UTC-02:00: Legend UTC UTC−02:00 เป็นเขตเวลาหนึ่ง ถูกกำหนดโดยใช้ละติจูดที่ 30 องศาตะวันตกเป็นเส้นเมริเดียนอ้างอิง เวลาของนาฬิกาที่อ้างอิงเขตเวลานี้จะช้ากว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 2 ชั่วโมง และช้ากว่าเวลาในประเทศไทย 9 ชั่วโมง.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและUTC−02:00

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและ14 มิถุนายน

19 มีนาคม

วันที่ 19 มีนาคม เป็นวันที่ 78 ของปี (วันที่ 79 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 287 วันในปีนั้น.

ดู เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชและ19 มีนาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ จอร์เจียใต้และหมู่เกาะแซนด์วิชใต้เกาะจอร์เจียใต้และหมู่เกาะแซนด์วิชใต้เซาธ์จอร์เจีย