เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เกาะฮ่องกง

ดัชนี เกาะฮ่องกง

ที่ตั้งของเกาะฮ่องกง(สีแดง)ในเขตบริหารพิเศษฮ่องกง(สีเขียว) เกาะฮ่องกง (อักษรจีนตัวเต็ม: 香港島; ภาษาอังกฤษ: Hong Kong Island) เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 27 ความสัมพันธ์: การท่องเที่ยวเพื่อคลอดบุตรการประท้วงในฮ่องกง พ.ศ. 2557ราชวงศ์ชิงรายชื่อสนธิสัญญารายชื่อเกาะเรียงตามขนาดวิกตอเรียพีกศิลปะสกัดหินสาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)สงครามฝิ่นครั้งที่หนึ่งหนานเยฺว่ฮ่องกงฮ่องกงของบริเตนฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่นจักรพรรดิโชวะจักรพรรดิเสียนเฟิงถัน ตุ้นท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงดิ อะเมซิ่งเรซเอเชีย 3ดิอะเมซิ่งเรซ 11ดุสิต เฉลิมแสนปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชปฏิญญาร่วมจีน-อังกฤษนางบำเรอแบงค์ออฟไชน่าทาวเวอร์เหลก๊าเส่งเซ็นทรัลพลาซา (ฮ่องกง)2 คมล่าถล่มเมือง 2

การท่องเที่ยวเพื่อคลอดบุตร

การท่องเที่ยวเพื่อคลอดบุตร (birth tourism) หมายถึง การท่องเที่ยวไปยังประเทศหรือดินแดนที่ให้สัญชาติหริอสิทธิบางประการโดยถือหลักดินแดน (jus soli) ซึ่งทำให้ได้รับประโยชน์จากรัฐที่คลอดบุตร เช่น สิทธิการอยู่อาศัย รัฐสวัสดิการด้านต่างๆ ทั้งการศึกษา การรักษาพยาบาล การประกันการว่างงาน การประกันสิทธิเสรีภาพ ฯลฯ หรือ หลีกเลี่ยงข้อจำกัดในประเทศต้นทาง เช่น นโยบายห้ามมีบุตรเกินกว่าจำนวนที่กำหนด การเกณฑ์ทหาร ฯลฯ ประโยชน์ที่ได้รับหรือข้อจำกัดที่อาจหลีกเลี่ยงได้มักเป็นสิทธิจำเพาะตัวของเด็กเองส่วนใหญ่ มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่เป็นผลพลอยได้แก่บิดามารดา เช่น สิทธิในการขอสิทธิมีถิ่นฐานในสหรัฐอเมริกาให้บิดามารดา ประเทศปลายทางของการท่องเที่ยวเพื่อคลอดบุตรมักเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีกฎหมายสัญชาติเปิดโอกาสให้ เช่น สหรัฐอเมริกาและแคนาดา ส่วนประเทศต้นทางอาจเป็นประเทศกำลังพัฒนา อย่างไรก็ดี ไต้หวัน ฮ่องกงและเกาหลีใต้ เป็นแหล่งต้นทางของนักท่องเที่ยวที่จัดเป็นเศรษฐกิจที่พัฒนาแล้ว แต่มีปัญหาความสัมพันธ์กับจีนแผ่นดินใหญ่และเกาหลีเหนือ รวมถึงการแข่งขันภายในประเทศที่สูงกว่าประเทศตะวันตก สำหรับฮ่องกงเป็นทั้งประเทศต้นทางและปลายทาง โดยเป็นปลายทางสำหรับชาวจีนแผ่นดินใหญ่ ส่วนชาวฮ่องกงเองกลับไปคลอดบุตรในสหรัฐอเมริก.

ดู เกาะฮ่องกงและการท่องเที่ยวเพื่อคลอดบุตร

การประท้วงในฮ่องกง พ.ศ. 2557

ผู้ชุมนุมบริเวณที่ทำการของรัฐบาลฮ่องกง ในวันที่ 10 ตุลาคม 2557 การประท้วงในฮ่องกง..

ดู เกาะฮ่องกงและการประท้วงในฮ่องกง พ.ศ. 2557

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ดู เกาะฮ่องกงและราชวงศ์ชิง

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ดู เกาะฮ่องกงและรายชื่อสนธิสัญญา

รายชื่อเกาะเรียงตามขนาด

หน้านี้คือรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดทั่วโลก.

ดู เกาะฮ่องกงและรายชื่อเกาะเรียงตามขนาด

วิกตอเรียพีก

วิกตอเรียพีก มองจากถนนฟินด์เลย์ วิกตอเรียพีก (Victoria Peak, หรือเดิม 扯旗山) หรือ ภูเขาออสติน (Mount Austin) หรือชื่อท้องถิ่นคือ เดอะพีก (The Peak) เป็นภูเขาที่อยู่ทางทิศตะวันตกของเกาะฮ่องกง เป็นภูเขาที่สูงที่สุดบนเกาะ มีความสูง 552 เมตร (1,811 ฟุต) และอยู่ในอันดับที่ 31 ของภูเขาที่สูงสุดในเขตบริหารพิเศษฮ่องกง (จุดที่สูงที่สุดของเขตบริหารพิเศษฮ่องกงคือ ไทโมชาน สูง 957 เมตร (3,140 ฟุต)) ชาวยุโรปรู้จัก "เดอะพีก" มาตั้งแต่ช่วงต้นศตวรรษที่ 19 เนื่องจากเป็นจุดที่มองเห็นเกาะได้ดีที่สุดและมีอากาศที่อบอุ่น ต่างจากพื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะฮ่องกงที่มีอากาศกึ่งเขตร้อน ข้าหลวงคนที่หกแห่งฮ่องกงคือ เซอร์ริชาร์ด แมกดอนเนลล์ สร้างบ้านพักตากอากาศที่นี่ราวปี..

ดู เกาะฮ่องกงและวิกตอเรียพีก

ศิลปะสกัดหิน

อุทยานแห่งชาติแคนยอนแลนด์ในยูทาห์ในสหรัฐอเมริกา งานสลักลายหินที่รู้จักกันว่า "Meerkatze" ที่เป็นภาพสิงโตต่อสู้กันที่ Wadi Methkandoushที่ลิเบีย ศิลปะสกัดหิน (Petroglyph หรือ Rock engravings) เป็นแผนภูมิรูปภาพ (pictogram) และ แผนภูมิโลโก (logogram) ที่สร้างโดยการสกัด, เซาะ, ถาก, แกะ หรือ ครูดหินจนเป็นภาพ นอกทวีปอเมริกาเหนือนักวิชาการมักจะใช้คำว่า "สลัก", "แกะ" หรือคำบรรยายอื่นในการบรรยายวิธีการสร้างภาพดังกล่าว ศิลปะสกัดหินพบทั่วไปในโลกและมักจะเกี่ยวข้อง (แต่ไม่เสมอไป) กับชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในภาษาอังกฤษคำว่า "Petroglyph" มาจากคำสองคำในภาษากรีก คำว่า "Petros" ที่แปลว่า "หิน" และ "glyphein" ที่แปลว่า "แกะสลัก" เดิมเป็นคำที่คิดขึ้นในภาษาฝรั่งเศสว่า "pétroglyphe" "ศิลปะสกัดหิน" ไม่ควรจะสับสนกับคำว่า "ศิลปะวาดบนหิน" ซึ่งเป็นภาพที่วาดบนหน้าหิน แต่ศิลปะทั้งสองแบบจัดอยู่ในกลุ่มศิลปะหิน (Rock art) หรือ ศิลปะวางหิน (Petroform) ซึ่งเป็นศิลปะของการวางก้อนหินให้เป็นลวดลายหรือทรงต่างๆ บนพื้น หรือศิลปะก่อหิน (Inukshuk) ซึ่งเป็นศิลปะที่เป็นเอกลักษณ์อีกอย่างหนึ่งที่พบเฉพาะในบริเวณอาร์กติก.

ดู เกาะฮ่องกงและศิลปะสกัดหิน

สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)

รณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในเอเชียตะวันออกตั้งแต่ปี..

ดู เกาะฮ่องกงและสาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)

สงครามฝิ่นครั้งที่หนึ่ง

งครามจีน-อังกฤษครั้งที่หนึ่ง หรือที่นิยมเรียกว่า สงครามฝิ่นครั้งที่หนึ่ง (First Opium War) เป็นสงครามระหว่างสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และจีนราชวงศ์ชิง โดยมีเป้าหมายเพื่อรักษาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากการค้าในจีน ในปี..

ดู เกาะฮ่องกงและสงครามฝิ่นครั้งที่หนึ่ง

หนานเยฺว่

หนานเยฺว่ หรือ นามเหวียต (Nam Việt) เป็นอาณาจักรโบราณที่มีอาณาเขตปกคลุมบริเวณมณฑลทางตอนใต้ของจีน อันได้แก่ กวางตุ้ง, กว่างซี และยูนนาน ไปจนถึงตอนเหนือของเวียดนามในปัจจุบัน หนานเยฺว่ได้รับการก่อตั้งในช่วง 204 ปีก่อนคริสต์ศักราช ในช่วงการล่มสลายของราชวงศ์ฉินของจีน หนานเยฺว่ได้ถูกก่อตั้งโดย จ้าว ถัว ผู้ปกครองดินแดนทะเลจีนใต้ อาณาเขตของหนานเยฺว่ในช่วงแรกประกอบด้วยหนานไฮ่, กุ้ยหลิน และ เซียง ใน 196 ปีก่อนคริสต์ศักราช จ้าว ถัว ได้สวามิภักดิ์ต่อจักรพรรดิฮั่นเกาจู่แห่งราชวงศ์ฮั่น ดินแดนหนานเยฺว่ได้ถูกเรียกโดยผู้ปกครองชาวจีนฮั่นว่าเป็น "คนรับใช้ชาวต่างชาติ" มีภาพพจน์เป็นดินแดนส่วนหนึ่งของจีน ประมาณ 183 ปีก่อนคริสต์ศักราช ความสัมพันธ์ระหว่างหนานเยฺว่และราชวงศ์ฮั่นได้ห่างเหินต่อกันมากขึ้น และ จ้าว ถัวได้เริ่มที่จะสถาปนาอ้างตัวเองว่าเป็นจักรพรรดิอีกทั้งประกาศอาณาจักรหนานเยฺว่เป็นอิสระ ใน 179 ปีก่อนคริสต์ศักราช ความสัมพันธ์ระหว่างหนานเยฺว่และราชวงศ์ฮั่นกลับมาดีขึ้นอีกครั้ง จ้าว ถัวได้ยอมสวามิภักดิ์ส่งเครื่องราชบรรณาการต่อราชวงศ์ฮั่นอีกครั้ง ในสมัยของจักรพรรดิฮั่นเหวิน ในฐานะเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของราชวงศ์ฮั่นของจีน อย่างไรก็ตามแม้จะมีการส่งบรรณาการและการยอมสวามิภักดิ์ หนานเยฺว่ยังคงมีอิสระและยังคงปกครองตนเองจากชาวจีนฮั่น และจ้าว ถัว ยังอ้างตนเป็น "จักรพรรดิ" แห่งหนานเยฺว่ จนกระทั่งพระองค์สิ้นพระชนม์ ในช่วง 113 ปีก่อนคริสตกาล ผู้นำ 4 รุ่น แห่งตระกูลจ้าว จ้าว ซิง มีแนวโน้มที่มีใจฝักใฝ่จีนโดยได้พยายามขอให้ราชวงศ์ฮั่นยอมรับหนานเยฺว่เป็นส่วนหนึ่งอย่างเป็นทางการ อัครมหาเสนาบดีของพระองค์ ลฺหวี่เจีย ได้คัดค้านอย่างรุนแรงและได้สมคบคิดวางแผนกับขุนนางคนอื่นๆทำการลอบสังหารจ้าว ซิง และอัญเชิญพระเชษฐา จ้าว เจี้ยนเต๋อที่มีพระชนม์มากกว่าขึ้นครองราชย์ ลฺวี่เจียได้บับบังคับจ้าว เจี้ยนเต๋อตั้งตนเป็นอิสระแข็งข้อต่อราชวงศ์ฮั่น ซึ่งเท่ากับเผชิญหน้ากับราชวงศ์ฮั่น ในปีต่อมาจักรพรรดิฮั่นอู่แห่งราชวงศ์ฮั่นได้ส่งกองทัพ 100,000 คน ทำสงครามบุกหนานเยฺว่ จนกระทั่งเมื่อถึงปลายปีเดียวกันนั้น กองทัพราชวงศ์ฮั่นได้บุกยึดและทำลายหนานเยฺว่ลงอย่างราบคาบและสถาปนาเป็นดินแดนของชาวจีนฮั่น ดินแดนหนานเยฺว่ได้สิ้นสุดลงนับแต่บัดนั้น โดยดำรงอยู่ 93 ปี มีกษัตริย์ปกครอง 5 รุ่น การก่อตั้งอาณาจักรหนานเยฺว่เกิดมาจากการที่เป็นเมืองหน้าด่านของแคว้นหลิงหนานในระหว่างช่วงความวุ่นวายสับสนระหว่างการล่มสลายของราชวงศ์ฉิน เปิดโอกาสให้แคว้นทางตอนใต้ของจีนได้มีอิสระและหลีกเลี่ยงการปกครองที่กดขี่จากชาวจีนฮั่นที่มาจากแคว้นทางเหนือของจีน อาณาจักรหนานเยฺว่ถูกก่อตั้งโดยผู้นำชาวจีนฮั่นที่มาจากภาคกลางของจีนตอนบนซึ่งนำไปสู่การนำรูปแบบการปกครองแบบเจ้าขุนมูลนายจีน, เทคนิควิธีทางการเกษตร, ข้าวของเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทันสมัย มาสอนเผยแพร่แก่ชนพื้นเมืองแคว้นทางตอนใต้ อาทิเช่น การรับรู้ภาษาจีนและระบบการเขียนแบบจีน ผู้นำหนานเยฺว่แทบทุกพระองค์สนับสนุนนโยบาย "สามัคคีและรวบรวมชนเผ่าไป่เยฺว่" ประกอบกับตัวผู้นำเองมีใจฝักใฝ่จีนโดยมีการเชิญชวนให้ชาวจีนฮั่นผู้เป็นมิตรมาแสวงโชคโดยอพยพจากดินแดนแถบลุ่มแม่น้ำหวงโฮทางตอนเหนือเข้ามาอาศัยในดินแดนตอนใต้ พวกเขายังสนับสนุนนโยบาย เปลี่ยนให้เป็นจีน โดยการกลมกลืนระหว่างสองวัฒนธรรมและผู้คน ระหว่างสองวัฒนธรรมจีนฮั่นและวัฒนธรรมพื้นเมืองทางตอนใต้ บ่อยครั้งที่วัฒนธรรมจีนมักจะดูดกลืนวัฒนธรรมของชนพื้นเมือง ผู้นำหนานเยฺว่ ตระกูลจ้าว ยังประกาศใช้วัฒนธรรมจีนและภาษาจีนไปทั่วทั้งดินแดนหนานเยฺว่ แม้ว่าจะมีการรักษาขนบธรรมเนียมดั้งเดิมของตนเอาไว้ควบคู่กัน.

ดู เกาะฮ่องกงและหนานเยฺว่

ฮ่องกง

องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.

ดู เกาะฮ่องกงและฮ่องกง

ฮ่องกงของบริเตน

องกงของบริเตน (British Hong Kong; 英屬香港) หรือเรียกอย่างง่ายว่า ฮ่องกง เป็นช่วงสมัยที่ฮ่องกงอยู่ภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี..

ดู เกาะฮ่องกงและฮ่องกงของบริเตน

ฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น

อาคารสำนักงานฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่นรุ่นก่อตั้งที่เมืองเซี่ยงไฮ้ ปี ค.ศ. 1886 สาธารณรัฐจีน ฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จำกัด (The Hongkong and Shanghai Banking Corporation Limited) เป็นธนาคารที่มีชื่อเสียง ก่อตั้งขึ้นและมีฐานอยู่ในฮ่องกง นับแต..

ดู เกาะฮ่องกงและฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น

จักรพรรดิโชวะ

มเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัย คือ จักรพรรดิโชวะ (29 เมษายน 2444 - 7 มกราคม 2532) (裕仁) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 124 ของญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ.

ดู เกาะฮ่องกงและจักรพรรดิโชวะ

จักรพรรดิเสียนเฟิง

มเด็จพระจักรพรรดิเสียนเฟิงขณะทรงแก้ไขพระราชกิจ สมเด็จพระจักรพรรดิเสียนฟงขณะทรงพักผ่อนพระอิริยาบถ จักรพรรดิเสียนเฟิง พงศาวดารไทยเรียก สมเด็จพระเจ้าฮำหอง เป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 9 (นับจากจักรพรรดินู่เอ๋อร์ฮาชื่อ) แห่งราชวงศ์ชิง เป็นราชโอรสองศ์ที่ 4 ของจักรพรรดิเต้ากวง มีนามเดิมว่า อ้ายซินเจว๋หลัว อี้จู่ หรือองค์ชาย อี้จู่ ประสูติเมื่อปี พ.ศ.

ดู เกาะฮ่องกงและจักรพรรดิเสียนเฟิง

ถัน ตุ้น

ัน ตุ้น เป็นคีตกวี นักแต่งเพลงประกอบภาพยนตร์ และผู้อำนวยเพลงชาวจีน มีชื่อเสียงจากผลงานดนตรีประกอบภาพยนตร์เรื่อง Crouching Tiger, Hidden Dragon ของหลี่ อัน, Hero ของจาง อี้โหมว และ The Banquet ของเฝิง เสี่ยวกาง ถัน ตุ้น เกิดที่หมู่บ้านเล็กๆ ชานเมืองฉางชา มณฑลหูหนาน ใช้ชีวิตวัยเด็กใช้แรงงานเป็นชาวนาอยู่ในคอมมูนของรัฐบาลกลาง และใช้เวลาว่างหัดเล่นเครื่องดนตรีพื้นบ้าน ต่อมาได้หนีออกจากคอมมูนและได้หัดเล่นเครื่องดนตรีสากล คือ วิโอลา กับวงดนตรีของคณะอุปรากรปักกิ่ง จากนั้นได้มีโอกาสเข้าศึกษาที่สถาบันดนตรีกลาง ปักกิ่ง เป็นลูกศิษย์ของโทะรุ ทะเคะมิตสึ (1930-1996) คีตกวีชาวญี่ปุ่นที่มีชื่อเสียง เขาได้รับทุนการศึกษาระดับปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบียในช่วงทศวรรษ 1980 ถัน ตุ้น มีผลงานประพันธ์ดนตรีประกอบภาพยนตร์จีนหลายเรื่อง ได้แก.

ดู เกาะฮ่องกงและถัน ตุ้น

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง (จีน: 香港國際機場, จีนกลาง: Xiānggǎng Guójì Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: hoeng1 gong2 gwok3 zai3 gei1 coeng4) หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินเช็กล้าบก็อก (จีน: 赤鱲角機場, จีนกลาง: Chìlièjiǎo Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: cek3 laap6 gok3 gei1 coeng4) เป็นท่าอากาศยานหลักของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน เปิดใช้เมื่อปีพ.ศ.

ดู เกาะฮ่องกงและท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง

ดิ อะเมซิ่งเรซเอเชีย 3

อะเมซิ่ง เรซ เอเชีย 3 เป็นปีที่สามของรายการดิ อะเมซิ่ง เรซ เอเชีย ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้ทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขัน 10 ทีม ทีมละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก ทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 100,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา สำหรับความนิยมของรายการนี้ เนื่องจากฉายไปทั่วเอเชียจึงทำให้มีการประมาณกันว่ามีผู้ชมมากถึง 83 ล้านคนทั่วเอเชีย (มาจากจีน 40 ล้านคน) ทำให้มีแผนการที่จะผลิตออกมาเรื่อยๆ เช่นเดียวกับฉบับอเมริกา สำหรับในฤดูกาลนี้ออกอากาศในวันที่ 11 กันยายน พ.ศ.

ดู เกาะฮ่องกงและดิ อะเมซิ่งเรซเอเชีย 3

ดิอะเมซิ่งเรซ 11

อะเมซิง เรซ 11 (The Amazing Race 11) เป็นฤดูกาลที่ 11 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส การแข่งขันโดยรวมสำหรับฤดูกาลนี้คือจะนำผู้ที่มีบทบาทเด่นๆ จากการแข่งขัน ดิ อะเมซิ่งเรซ 1 - 10 มาทำการแข่งขันอีกครั้งโดยเป็นฤดูกาลรวมดาราโดยใช้ชื่อว่า The Amazing Race: All-Stars.

ดู เกาะฮ่องกงและดิอะเมซิ่งเรซ 11

ดุสิต เฉลิมแสน

ต เฉลิมแสน เป็นอดีตนักฟุตบอลชาวไทยในตำแหน่งกองหลัง โด่งดังมาจากทีมชาติไทยยุคดรีมทีม ปัจจุบันเป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนของประจวบ เอฟซี.

ดู เกาะฮ่องกงและดุสิต เฉลิมแสน

ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จสวรรคตเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เวลา 15.52 นาฬิกา ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช หลังการสวรรคต มีประเทศต่างๆและองค์การระดับนานาชาติส่งสาส์นแสดงความเสียใจเป็นจำนวนมาก.

ดู เกาะฮ่องกงและปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ปฏิญญาร่วมจีน-อังกฤษ

ปฏิญญาร่วมจีน-อังกฤษ หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ปฏิญญาร่วมของรัฐบาลสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือและรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนว่าด้วยปัญหาฮ่องกง ลงนามโดยนายกรัฐมนตรีจ้าว จื่อหยางและมาร์กาเรต แทตเชอร์ แห่งรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม..

ดู เกาะฮ่องกงและปฏิญญาร่วมจีน-อังกฤษ

นางบำเรอ

ฝ่ายสัมพันธมิตรที่ย่างกุ้ง ประเทศพม่า เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2488 นางบำเรอ (comfort women) เป็นคำเรียกสตรีซึ่งถูกทหารในสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่นเอาตัวลงเป็นทาสกามารมณ์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.

ดู เกาะฮ่องกงและนางบำเรอ

แบงค์ออฟไชน่าทาวเวอร์

แบงค์ออฟไชน่าทาวเวอร์ เป็นตึกระฟ้าแห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ในย่านเซ็นทรัล ทางตะวันตกของเกาะฮ่องกง บนถนน 1 การ์เดน เป็นอาคารสำนักงานใหญ่ของธนาคารแห่งประเทศจีน สาขาฮ่องกง ตึกนี้ได้รับการออกแบบโดยสถาปนิกชาวจีน ไอ.เอ็ม.

ดู เกาะฮ่องกงและแบงค์ออฟไชน่าทาวเวอร์

เหลก๊าเส่ง

หลก๊าเส่ง (ภาษากวางตุ้ง) หรือ ลี่เกียเซ้ง (ภาษาแต้จิ๋ว) หรือ ลี่จ๊าเฉิง (ภาษาจีนกลาง) (เกิดวันที่ 29 กรกฎาคม 2471 ณ เมืองแต้จิ๋ว, ประเทศจีน) เป็นนักธุรกิจใหญ่ชาวฮ่องกง นักลงทุน และนักการกุศล ตามนิตยสารฟอบส์ โดยเดือนพฤศจิกายน 2558 เขาเป็นบุคคลที่รวยที่สุดในเอเชีย โดยมีประเมินทรัพย์สินสุทธิที่ 34,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 1,190,167 ล้านบาท) เขาเป็นประธานกรรมการของบริษัท CK Hutchison Holdings โดยปี 2558 ซึ่งเป็นบริษัทที่บริหารจัดการสถานีคอนเทนเนอร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก และร้านขายผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอางที่ใหญ่ที่สุดในโลก นิตยสาร เอเชียวีก จัดเขาว่าเป็น "คนที่มีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชีย" ในปี 2544 กลุ่มบริษัทของเขาประเมินว่ามีค่าถึง 15% ของตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกง นิตยสาร ฟอบส์ และตระกูลฟอบส์ให้รางวัล Malcolm S.

ดู เกาะฮ่องกงและเหลก๊าเส่ง

เซ็นทรัลพลาซา (ฮ่องกง)

ซ็นทรัลพลาซ่า (อังกฤษ: Central Plaza) ตั้งอยู่ที่เกาะฮ่องกง มีความสูง 374 เมตร 78 ชั้น เป็นตึกที่สูงอันดับ 3 ในฮ่องกง รองจากตึกอินเตอร์เนชันแนลคอมเมิร์ซเซ็นเตอร์ ตึกทู อินเตอร์เนชัลนัล ไฟแนนซ์ เซ็นเตอร์ และเคยเป็นตึกระฟ้าที่สูงที่สุดในเอเชียในช่วงปี..

ดู เกาะฮ่องกงและเซ็นทรัลพลาซา (ฮ่องกง)

2 คมล่าถล่มเมือง 2

ำหรับ Cold War 2 ในความหมายอื่นดูที่: สงครามเย็นครั้งที่สอง 2 คมล่าถล่มเมือง 2 (Cold War 2; จีนตัวเต็ม: 寒戰II; จีนตัวย่อ: 寒战II; พินอิน: Hán Zhàn Èr) เป็นภาพยนตร์ดราม่าแอ็คชั่น แนวอาชญากรรมสัญชาติฮ่องกง ในปี ค.ศ.

ดู เกาะฮ่องกงและ2 คมล่าถล่มเมือง 2

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Hong Kong Island