เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เกาะสุมาตรา

ดัชนี เกาะสุมาตรา

มาตรา หรือ ซูมาเตอรา (Sumatra; Sumatera) คือเกาะที่มีขนาดเป็นอันดับ 6 ของโลก (มีขนาดประมาณ 470,000 กม.&sup2) และเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศอินโดนีเซี.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 349 ความสัมพันธ์: Acantopsis choirorhynchosชมพู่มะเหมี่ยวชะมดแปลงลายแถบชะมดเช็ดชะนีมือขาวชะนีมือดำชะนีคิ้วขาวตะวันตกชะนีเซียมังบันดาอาเจะฮ์ชาอีร์ชินชี่ช่องแคบมะละกาช่องแคบซุนดาช็อกโกแลตช้างช้างสุมาตราช้างเอเชียฟ้าหลัวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ. 2556พ.ศ. 2472พ.ศ. 2485พ.ศ. 2552พญากระรอกดำพญากระรอกเหลืองพรรคสังคมนิยมอินโดนีเซียพรรคขบวนการอินโดนีเซียยิ่งใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียพระเจ้าอลองสิธูพลับจีนกระจงควายกระต่ายลายเสือกระซู่กระแตหางขนนกกระแตเล็กกลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซีกลีกล้วยป่ามะละกากล้วยเลือดการสำรวจการขนส่งระบบรางในประเทศอินโดนีเซียการขนส่งในประเทศอินโดนีเซียการค้าเครื่องเทศกาแฟขี้ชะมดกูไลญะมาอะห์ อิสลามียะห์ภาษาชวาภาษาบูกิสภาษากาโยภาษามลายูภาษามลายูเกอดะฮ์ภาษามลายูเนอเกอรีเซิมบีลัน... ขยายดัชนี (299 มากกว่า) »

Acantopsis choirorhynchos

Acantopsis choirorhynchos เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาหมูแท้ (Cobitidae) มีลำตัวเล็ก ขนาดยาวไม่เกิน 30 เซนติเมตร (แต่ที่พบโดยทั่วไปจะยาวเพียงแค่ 5-14 เซนติเมตร) หัวแหลม ตาเล็ก หางแหลม กลางลำตัวมีเส้นสีเทาจากหัวถึงหางระหว่างเส้นมีจุดสีดำเป็นแนวยาว ครีบหางเว้าตื้น มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ในพื้นท้องน้ำที่มีกรวดทรายและมีกระแสน้ำไหลเชี่ยว สามารถมุดทรายได้อย่างรวดเร็วเมื่อตกใจหรือจะซ่อนตัวจากสัตว์นักล่า A.

ดู เกาะสุมาตราและAcantopsis choirorhynchos

ชมพู่มะเหมี่ยว

อกซึ่งเห็นเกสรตัวผู้ชัดเจน ชมพู่มะเหมี่ยว เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Myrtaceae ลำต้นตรง ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ใบหนาและเหนียว เมื่ออ่อนเป็นสีแดง ก้านใบยาว ดอกดอกเฉพาะกิ่งที่ไม่มีใบ ดอกสีแดง กลีบเลี้ยงเป็นหลอดบวมพอง เกสรตัวผู้สีแดงจำนวนมาก ผลสดมีเนื้อหลายเมล็ด ผลคล้ายลูกแพร์ มีกลีบเลี้ยงติดที่ปลายผล ผลสีแดงเข้มหรือเหลืองอมม่วงหรือขาวอมเหลือง เนื้อฉ่ำน้ำ สีขาว มีกลิ่นหอม เมล็ดกลม สีน้ำตาล การกระจายพันธุ์พบมากในคาบสมุทรมลายู เกาะชวา เกาะสุมาตรา ผลใช้รับประทานสด ทำอาหารคาวเช่นยำโดยใช้เกสร เมื่อ แก่แล้วยังมีรสเปรี้ยว นิยมนำไปต้มรวมกับผลไม้อื่น ๆ ให้มีรสเปรี้ยวน้อยลง เปลือกลำต้น ใบและรากมีสรรพคุณเป็นยา รสชุ่มคอ มีวิตามินซี และแคลเซียมสูง เสริมสร้างกระดูกและฟัน ไฟล์:Starr 070321-6134 Syzygium malaccense.jpg|ผล ไฟล์:Syzygium malaccense at Kadavoor.jpg|ตา ไฟล์:Pommerac01.JPG|ผล ไฟล์:Pommerac.whole.jpg|ผลสุกทั้งผล ไฟล์:Pommerac.cut.jpg|ผลสุกผ่าครึ่ง.

ดู เกาะสุมาตราและชมพู่มะเหมี่ยว

ชะมดแปลงลายแถบ

มดแปลงลายแถบ หรือ อีเห็นลายเมฆ เป็นชะมดแปลงชนิดหนึ่งที่มีการกระจายพันธุ์ในแถบมาเลเซียตะวันตก, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียว และชวาตะวันตก รวมทั้งในประเทศไทยตั้งแต่บริเวณคอคอดกระลงไป ชะมดแปลงลายแถบ จัดเป็นชะมดที่ไม่มีต่อมกลิ่น มีลายเป็นแถบคดเคี้ยวขวางบริเวณหลังทั้งหมด 5 แถบ และตามด้านข้างของคอและลำตัว จุดจะติดกัน กลายเป็นแถบคดเคี้ยวมีอยู่ด้านละ 2 แถบ สีพื้นของตัวเป็นสีน้ำตาลแกมเหลืองซีด ๆ หางมีปล้องสีขาวสลับดำอยู่ 7 ปล้อง ไม่มีขนแผงคอหรือแผงหลัง มีขนาดตัวยาวจากหัวถึงหาง 74 เซนติเมตร อาศัยและหากินบนต้นไม้มากกว่าจะลงมาพื้นดิน กินอาหาร ได้แก่ กระรอก, หนู, นก และจิ้งจก มีฤดูผสมพันธุ์อยู่ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-สิงหาคม สร้างรังออกด้วยเรียวไม้และใบไม้อยู่ในโพรงดินโคนต้นไม้ใหญ่ ออกลูกครั้งละ 2–3 ตัว มีอายุยืนเกือบ 10 ปี เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ดู เกาะสุมาตราและชะมดแปลงลายแถบ

ชะมดเช็ด

มดเช็ด หรือ ชะมดเชียง หรือ มูสัง (Indian small civet) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่ง จัดเป็นชะมดขนาดเล็ก ขาสั้น หูทั้งสองข้างอยู่ใกล้กัน เมื่อมองไกล ๆ อาจคล้ายแมว จนตามลำตัวมีสีน้ำตาลเหลือง และมีจุดสีดำขนาดเล็กแทรกอยู่ทั่วไปตามลำตัว มีแถบสีดำและขาวบริเวณลำคอ หางมีวงสีดำ 6-9 ปล้องพาดขวางอยู่ ทำให้มีดูมีลักษณะเป็นปล้องสีดำ ไม่มีขนแผงสันหลัง ปลายหางมีสีขาว ขาหลังมีต่อมกลิ่นที่ใช้สื่อสารระหว่างพวกเดียวกัน และจัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล ViverriculaBlanford, W.

ดู เกาะสุมาตราและชะมดเช็ด

ชะนีมือขาว

นีมือขาว หรือ ชะนีธรรมดา (Common gibbon, White-handed gibbon) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมอันดับวานร (Primates) ชนิดหนึ่ง จัดเป็นลิงไม่มีหางชนิดหนึ่ง จำพวกชะนี (Hylobatidae).

ดู เกาะสุมาตราและชะนีมือขาว

ชะนีมือดำ

นีมือดำ (Agile gibbon, Black-handed gibbon) เป็นชะนีชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hylobates agilis จัดเป็นหนึ่งในสี่ชนิดของชะนีที่สามารถพบได้ในประเทศไทย ชะนีมือดำดั้งเดิมเคยถูกจัดให้เป็นชนิดย่อยของชะนีมือขาวหรือชะนีธรรมดา (H.

ดู เกาะสุมาตราและชะนีมือดำ

ชะนีคิ้วขาวตะวันตก

นีคิ้วขาวตะวันตก หรือ ชะนีฮูล็อกตะวันตก (Hoolock gibbon, Hoolock, Western hoolock gibbon) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับวานร (Primates) จัดเป็นชะนีชนิดหนึ่ง ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกรองลงมาจากเซียมมัง หรือชะนีดำใหญ่ ที่พบในป่าดิบในแหลมมลายูและเกาะสุมาตรา เมื่อมีความสูงเมื่อยืนด้วยสองขาหลังได้ถึง 90 เซนติเมตร น้ำหนักเกือบ 10 กิโลกรัม แต่มีความคล่องแคล่วว่องไวเมื่ออยู่บนต้นไม้ ชะนีคิ้วขาวตะวันตก เดิมเคยถูกจัดให้เป็นชะนีฮูล็อกเพียงชนิดเดียว (โดยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hylobates hoolock) แต่ต่อมาได้ถูกจัดแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ในปี ค.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและชะนีคิ้วขาวตะวันตก

ชะนีเซียมัง

นีเซียมัง หรือ เซียมมัง หรือ ชะนีดำใหญ่ (มลายู: Siamang; แปลว่า "ลิงสยาม") สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานรชนิดหนึ่ง เป็นสัตว์จำพวกชะนี ซึ่งเป็นชะนีชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก จัดเป็นเพียงชนิดเดียวในสกุล Symphalangus มีรูปร่างคล้ายชะนีทั่วไป แต่มีรูปร่างและลำตัวใหญ่กว่ามาก ขนาดโตเต็มที่มีความยาวลำตัวและหัว 75-90 เซนติเมตร น้ำหนักในเพศผู้ 10.9 กิโลกรัม ตัวเมีย 10.6 กิโลกรัม ขนมีสีดำทั้งตัวทั้งตัวผู้และตัวเมีย มีลักษณะเด่นคือ บริเวณลำคอมีถุงสีเทาปนชมพู โดยถุงดังกล่าวจะป่องออกขณะที่ส่งเสียงร้อง โดยชะนีเซียมังจัดเป็นชะนีที่ร้องได้ดังที่สุด มีการกระจายพันธุ์ในเขตใต้สุดของไทย, มาเลเซียและเกาะสุมาตรา มี 2 ชนิดย่อย คือ S.

ดู เกาะสุมาตราและชะนีเซียมัง

บันดาอาเจะฮ์

ันดาอาเจะฮ์ (Banda Aceh) เป็นเมืองหลวงและเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของจังหวัดอาเจะฮ์ ประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ทางปลายทิศตะวันตกเฉียงเหนือบนเกาะสุมาตรา บริเวณปากแม่น้ำอาเจะฮ์ มีขนาดพื้นที่ 64 ตารางกิโลเมตร จากการสำรวจประชากรในปี..

ดู เกาะสุมาตราและบันดาอาเจะฮ์

ชาอีร์

อีร์ (syair) เป็นรูปแบบวรรณกรรมที่แพร่หลายตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 21 ปรับรูปแบบมาจากร้อยกรองภาษาอาหรับ-เปอร์เซีย จะยาวกี่บทก็ได้ แต่ละบทประกอบไปด้วยคำพื้นฐาน 4 คำ สัมผัสแบบกลอนหัวเดียว บทชาอีร์ที่เก่าที่สุดพบบนเสาหินหลุมฝังศพของพระราชาในอาเจะฮ์ เกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย เขียนด้วยอักษรโบราณในสุมาตรา ที่ได้รับอิทธิพลมาจากอินเดีย เป็นภาษามลายูโบราณที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรั.

ดู เกาะสุมาตราและชาอีร์

ชินชี่

นชี่หรือดันรอกหรือน้าม เป็นพืชในวงศ์ Rhamnaceae เป็นไม้เลื้อยมีหนามโค้งงอจำนวนมาก ผลรูปไข่หรือกลม มีขนสั้นนุ่มหนาสีน้ำตาลเล็กน้อย ผลมีรสหวาน รับประทานได้ กระจายพันธุ์ในเกาะสุมาตรา คาบสมุทรมลายูและไท.

ดู เกาะสุมาตราและชินชี่

ช่องแคบมะละกา

องแคบมะละกา อยู่ระหว่างแหลมมลายูกับเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย 250px ช่องแคบมะละกา (Strait of Malacca) เป็นช่องแคบระหว่างแหลมมลายูกับเกาะสุมาตรา อยู่บริเวณทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศไทย ตะวันตกและใต้ของมาเลเซีย ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือและเหนือของเกาะสุมาตรา และเลยไปถึงทางด้านใต้ของสิงคโปร์ ระบุพิกัดที่ประมาณ 1.43 องศาเหนือ และ 102.89 องศาตะวันออก ช่องแคบมะละกาเป็นช่องแคบที่มีความกว้างบริเวณทางเข้าประมาณ 5 ไมล์ ยาวประมาณ 600 ไมล์ ช่วงที่แคบที่สุดประมาณ 1.5 ไมล์ มีเรือผ่านประมาณ 900 ลำต่อวันหรือประมาณ 50,000 ลำต่อปี ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบแล้วมีประมาณเรือที่ผ่านมากกว่าคลองสุเอซประมาณ 2 เท่า และมากกว่าคลองปานามากว่า 3 เท่า มะละกา มะละกา หมวดหมู่:ประเทศสิงคโปร์ มะละกา หมวดหมู่:ชายแดนมาเลเซีย - อินโดนีเซีย.

ดู เกาะสุมาตราและช่องแคบมะละกา

ช่องแคบซุนดา

องแคบซุนดา ช่องแคบซุนดา (Selat Sunda; Sunda Strait) เป็นช่องแคบระหว่างเกาะชวากับเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย และเป็นช่องแคบที่เชื่อมระหว่างทะเลชวากับมหาสมุทรอินเดีย ชื่อช่องแคบมาจากคำในภาษาอินโดนีเซีย “Pasundan” ที่แปลว่า “ชวาตะวันตก”.

ดู เกาะสุมาตราและช่องแคบซุนดา

ช็อกโกแลต

็อกโกแลต ช็อกโกแลต (chocolate; ช็อก(กะ)เล็ต) คือผลิตผลที่ได้มาจากเมล็ดของต้นโกโก้เขตร้อน ช็อกโกแลตเป็นส่วนผสมของของหวานหลายชนิดไม่ว่าจะเป็นไอศกรีม ลูกอม คุกกี้ เค้ก หรือว่าพาย ช็อกโกแลตถือได้ว่าเป็นของหวานอย่างหนึ่งที่ถูกใจคนทั่วโลก ช็อกโกแลตทำจากการหมัก คั่ว และบดอย่างละเอียดของเมล็ดโกโก้ซึ่งได้มาจากต้นโกโก้เขตร้อน (tropical cacao tree) ซึ่งมีต้นกำเนิดจากอเมริกากลางและเม็กซิโก ต้นโกโก้นั้นค้นพบโดยชาวอินเดียนแดงและชาวอัซเตก (Aztecs) แต่ในปัจจุบันได้แพร่กระจายและปลูกไปทั่วเขตร้อน เมล็ดของต้นโกโก้นั้นมีรสฝาดที่เข้มข้นมาก ผลผลิตของเมล็ดโกโก้รู้จักกันในนาม "ช็อกโกแลต" หรือบางส่วนของโลกในนาม "โกโก้" ผลิตภัณฑ์จากเมล็ดโกโก้รู้จักภายใต้หลายชื่อที่แตกต่างกันไปในส่วนต่าง ๆ ของโลก ในอเมริกา อุตสาหกรรมช็อกโกแลตได้จำกัดความไว้.

ดู เกาะสุมาตราและช็อกโกแลต

ช้าง

รงกระดูกช้างแอฟริกา ช้าง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดใหญ่วงศ์ Elephantidae โดยแบ่งเป็นสองสกุล ได้แก่ Elephas และ Loxodonta ช้างในปัจจุบันเหลือ 3 สปีชีส์ คือ ช้างแอฟริกา, ช้างป่าแอฟริกา และช้างเอเชีย (หรือที่รู้จักกันในชื่อ ช้างอินเดีย) ส่วนสปีชีส์และสกุลอื่นของวงศ์ Elephantidae ล้วนสูญพันธุ์ไปหมดแล้ว บางสปีชีส์หรือสกุลสูญพันธุ์ไปตั้งแต่ยุคน้ำแข็งครั้งหลังสุด ถึงแม้ว่าช้างแมมมอธในรูปแคระอาจสืบสายพันธุ์ต่อมาจนถึง 2,000 ปีก่อนคริสตกาล ช้างและสัตว์ในวงศ์ Elephantidae อื่น ๆ เคยถูกจัดเป็นประเภทเดียวกับสัตว์หนังหนาอื่น ๆ ชื่อว่าอันดับ Pachydermata ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้แล้ว ช้างนับเป็นสัตว์บกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน ใช้เวลาการตั้งครรภ์ถึง 22 เดือน ซึ่งนับว่านานที่สุดในบรรดาสัตว์บกทุกชนิด ช้างแรกเกิดมีน้ำหนักเฉลี่ย 120 กิโลกรัม มีอายุขัยอยู่ระหว่าง 50 ถึง 70 ปี แต่ช้างอายุมากที่สุดที่เคยบันทึกไว้มีอายุถึง 109 ปี ช้างขนาดใหญ่ที่สุดที่เคยบันทึกไว้อาศัยอยู่ในแองโกลาในปี..

ดู เกาะสุมาตราและช้าง

ช้างสุมาตรา

้างสุมาตรา (Sumatran elephant) เป็นชนิดย่อยของช้างเอเชีย (E. maximus) ชนิดหนึ่ง จัดเป็นช้างที่พบได้เฉพาะบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย เท่านั้น ช้างสุมาตรา มีรูปร่างที่เล็กกว่าช้างเอเชียชนิดอื่น ๆ มีลำตัวสีเทาจางและมีรอยด่างน้อยกว่าช้างเอเชียชนิดอื่น โดยมีจุดสีชมพูเฉพาะบนใบหูเท่านั้น ช้างสุมาตราตัวเต็มวัยมีความสูงจากพื้นถึงไหล่วัดได้ 2-3.2 เมตร น้ำหนักระหว่าง 2,000-4,000 กิโลกรัม มักอาศัยอยู่ในพื้นที่ป่าและถิ่นที่อยู่ปกคลุมด้วยต้นไม้บางส่วน ปัจจุบันช้างสุมาตราตกอยู่ในภาวะใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤต คาดว่ามีจำนวนประชากรทั้งหมดไม่เกิน 1,000 ตัว โดยสาเหตุสำคัญที่สุดของการสูญพันธุ์ คือ การไล่ล่าจากพรานป่าเพื่อเอาอวัยวะและงาไปขายในตลาดมืด ถือเป็นปัญหาที่ร้ายแรงที่สุดมากกว่าการสูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัย หรือโรคระบาดเสียอีก แม้ปัจจุบันจะมีการตั้งศูนย์อนุรักษ์ช้างสุมาตราขึ้นภายในอุทยานแห่งชาติเวย์แคมบัส แต่ทว่ารอบ ๆ ศูนย์อนุรักษ์ก็ยังคงมีปัญหาการไล่ล่าอยู่ ในระยะแรก ๆ ที่มีการตั้งศูนย์อนุรักษ์ขึ้นมา ก็ปรากฏมีพรานป่าแอบเข้ามาลักขโมยช้างออกไปฆ่าจนมีการปะทะกับเจ้าหน้าที่หลายครั้ง ได้รับความเสียหายทั้งสองฝ่าย จึงมีการคล้องโซ่ช้างไว้เพื่อให้ได้ยินเสียงในเวลากลางคืน มิได้เป็นไปเพื่อการล่ามหรือกักขังแต่อย่างใด ช้างสุมาตราในศูนย์อนุรักษ์ อุทยานแห่งชาติเวย์แคมบัส ปัจจุบันที่ศูนย์อนุรักษ์แห่งนี้มีจำนวนช้างสุมาตราเลี้ยงไว้ราว 80 เชือก เป็นช้างที่เชื่องต่อผู้เลี้ยงเหมือนช้างบ้าน ซึ่งภาวะเช่นนี้เสี่ยงอย่างมากต่อการสูญเสียพฤติกรรมตามธรรมชาติไป อีกทั้งในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ ทางศูนย์ก็ยังได้เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชมได้อีก เพื่อต้องการเงินนำไปเป็นค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดู, ศึกษา และอนุรักษ์ต่อยอดขึ้นไปในอนาคต แม้ช้างที่เลี้ยง ณ ที่นี่มีการขยายพันธุ์ได้ลูกช้างบางส่วนแล้วก็ตาม แต่การปล่อยคืนสู่ธรรมชาติยังมิอาจทำได้ เพราะปัญหาการไล่ล่าที่ยังคงมีอยู.

ดู เกาะสุมาตราและช้างสุมาตรา

ช้างเอเชีย

้างเอเชีย (Asian elephant) จัดอยู่ในประเภทสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Elephas maximus ในวงศ์ Elephantidae มีขนาดเล็กกว่าช้างแอฟริกา รวมทั้งมีใบหูขนาดเล็กกว่า มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 60 ปี ซึ่งถือได้ว่ามีอายุยืนกว่าช้างแอฟริก.

ดู เกาะสุมาตราและช้างเอเชีย

ฟ้าหลัวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ. 2556

หมอกควันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยนาซา ฟ้าหลัว (หรือหมอกควัน) ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้..

ดู เกาะสุมาตราและฟ้าหลัวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ. 2556

พ.ศ. 2472

ทธศักราช 2472 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1929 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู เกาะสุมาตราและพ.ศ. 2472

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู เกาะสุมาตราและพ.ศ. 2485

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ดู เกาะสุมาตราและพ.ศ. 2552

พญากระรอกดำ

ญากระรอกดำ (Black giant squirrel, Malayan giant squirrel) เป็นกระรอกชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ย่อยพญากระรอก (Ratufinae) เป็นกระรอกชนิดหนึ่งที่ใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นกระรอกชนิดที่ใหญ่ที่สุดที่พบในประเทศไทย หางยาวเป็นพวง ขนตามลำตัวและหางสีดำสนิท บางตัวอาจมีสะโพก หรือโคนหางออกสีน้ำตาล ขนบริเวณแก้มและท้องสีเหลือง เท้าหน้ามี 4 นิ้ว เท้าหลังมี 5 นิ้ว เล็บยาวและโค้งช่วยในการยึดเกาะต้นไม้ และสะดวกในการเคลื่อนไหวไปมา ขนาดโตเต็มที่มีความยาวลำตัวและหัว 33-37.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 42.5-46 เซนติเมตร น้ำหนัก 1-1.6 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ในแคว้นอัสสัม ของอินเดีย, ภาคตะวันออกของเนปาล, ภาคใต้ของจีน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบาหลี มีทั้งหมด 10 ชนิดย่อย มีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่ในป่าที่มีเรือนยอดไม้สูง เช่น ป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้ง มักพบเห็นอยู่ตามเรือนยอดไม้ที่รกทึบและใกล้ลำห้วย หากินในเวลากลางวันและหลับพักผ่อนในเวลากลางคืน มีความปราดเปรียวว่องไว สามารถกระโดดไปมาบนยอดไม้ได้ไกลถึง 22 ฟุต ปกติจะอาศัยอยู่ตามลำพัง ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อนที่อาจเห็นเป็นคู่หรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ผสมพันธุ์ได้เมื่ออายุได้ 2 ปี ตั้งท้องนาน 28 วัน ออกลูกครั้งละ 1-2 ตัว โดยที่ตัวเมียมีเต้านมทั้งหมด 3 คู่ รังสร้างขึ้นโดยการนำกิ่งไม้สดมาขัดสานกันคล้ายรังนกขนาดใหญ่ และอาจจะมีรังได้มากกว่าหนึ่งรัง ปัจจุบันมีผู้สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ที่เลี้ยงได้แล้ว และนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง พญากระรอกดำ ยังมีชื่อเรียกอื่นอีกว่า "กระด่าง" ในภาษาใต้เรียก "พะแมว".

ดู เกาะสุมาตราและพญากระรอกดำ

พญากระรอกเหลือง

ญากระรอกเหลือง (Cream-coloured giant squirrel) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง เป็นกระรอกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดรองมาจากพญากระรอกดำ (R.

ดู เกาะสุมาตราและพญากระรอกเหลือง

พรรคสังคมนิยมอินโดนีเซีย

ห์รีปราศัยที่บาหลีเมื่อ พ.ศ. 2498 พรรคสังคมนิยมอินโดนีเซีย (Socialist Party of Indonesia (Indonesian: Partai Sosialis Indonesia) เป็นพรรคการเมืองในอินโดนีเซียระหว่าง พ.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและพรรคสังคมนิยมอินโดนีเซีย

พรรคขบวนการอินโดนีเซียยิ่งใหญ่

รรคขบวนการอินโดนีเซียยิ่งใหญ่ (Great Indonesia Movement Party; ภาษาอินโดนีเซีย: Partai Gerakan Indonesia Raya; Gerindra)เป็นพรรคการเมืองในอินโดนีเซีย หัวหน้าพรรคคือ ปราโบโว ซูเบียนโต อดีตนายทหารของอินโดนีเซีย ปราโบโวได้ลาออกจากพรรคโกลการ์ในเดือนกรกฎาคม..2551 และได้จัดทีมงานเพื่อลงเลือกตั้งใน..

ดู เกาะสุมาตราและพรรคขบวนการอินโดนีเซียยิ่งใหญ่

พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย

รรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย (Communist Party of Indonesia; ภาษาอินโดนีเซีย: Partai Komunis Indonesia, PKI) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ที่ไม่ได้มีอำนาจปกครองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก พรรคนี้ถูกปราบปรามอย่างหนักใน..

ดู เกาะสุมาตราและพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย

พระเจ้าอลองสิธู

พระเจ้าอลองสิธู ในรูปลักษณ์ของนัต "เมงสิธู" พระเจ้าอลองสิธู (Alaungsithu, အလောင်းစည်သူ) กษัตริย์ในราชวงศ์พุกาม ที่ครองราชย์อย่างยาวนานถึงกว่า 54 ปี (พ.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและพระเจ้าอลองสิธู

พลับจีน

ลับจีน หรือพลับญี่ปุ่น เป็นไม้พุ่มผลัดใบในวงศ์ Ebenaceae ดอกแยกเพศ แยกต้นหรือร่วมต้น ใบเหนียวคล้ายหนัง เขียวเข้มเป็นมัน ดอกตัวผู้ออกเป็นกระจุกขนาดเล็ก ดอกตัวเมียเป็นดอกเดี่ยว ดอกสีเหลืองอมเขียว ผลเนื้อนุ่มกลมแบน สีเขียวอมเหลืองจนถึงสีแดง กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล พลับจีนพันธุ์ "Koushu-Hyakume" พันธุ์ที่ใช้ทำพลับแห้ง พลับจีนเป็นพืชที่เป็นเอกลักษณ์ของจีนในสมัยโบราณ นำไปปลูกในญี่ปุ่น ส่วนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีปลูกบ้างเล็กน้อยในเกาะสุมาตรา มาเลเซีย และภาคเหนือของไทย ผลรับประทานได้ ใช้ทำไอศกรีม เยลลี่ พันธุ์ที่มีรสฝาดใช้ทำพลับแห้ง แทนนินจากพลับจีนใช้เป็นสีทาผ้าหรือกระดาษ ความฝาดในผลพลับจีนเกิดจากแทนนินในเนื้อผล การแช่แข็งทำให้ความฝาดหมดไปเพราะเซลล์จะปล่อยแทนนินมาจับกับโปรตีนในผล เมื่อรับประทานผลดิบจะรู้สึกแห้งในปากเพราะแทนนินจะจับกับโปรตีนในปาก พลับจีนมีโพแทสเซียมและวิตามินเอสูง ผลพลับผ่าแสดงภายในผล.

ดู เกาะสุมาตราและพลับจีน

กระจงควาย

กระจงควาย หรือ กระจงใหญ่ (Greater mouse-deer, Napu) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tragulus napu อยู่ในวงศ์ Tragulidae มีขาเล็กเรียว ซึ่งมีนิ้วเท้าข้างละ 4 นิ้ว ทั้งตัวผู้และตัวเมียไม่มีเขา แต่ตัวผู้จะมีเขี้ยวบนยาวเลยริมฝีปากบนลงมา เมื่อโตเต็มวัยมีน้ำหนักตัวประมาณ 5 กิโลกรัม ขนบนตัวสีน้ำตาลออกเทา มีจุดสีเข้มกว่ากระจายอยู่ทั่วไป ที่ใต้คอและบนหน้าอกมีลายพาดตามยาวสีขาว 5 ลาย ด้านใต้ท้องสีขาว หางค่อนข้างสั้นสีน้ำตาลอ่อนด้านบนและสีขาวด้านล่าง ปกติชอบอยู่โดดเดี่ยว นอกจากในฤดูผสมพันธุ์จึงจะอยู่เป็นคู่ ออกหากินในเวลากลางคืน กินอาหารได้แก่ หญ้าอ่อน ๆ, ผลไม้, ยอดไม้ และใบไม้อ่อน ในเวลากลางวันจะหลบพักนอนตามหลืบหินและโพรงไม้ ออกลูกครั้งละ 1 ตัว แต่บางครั้งก็พบออกลูกแฝด ระยะตั้งท้องนานประมาณ 5-6 เดือน พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ตอนใต้ของประเทศพม่า, เทือกเขาตะนาวศรี ไปจนถึงแหลมมลายู, เกาะสุมาตรา และเกาะบอร์เนียว นอกจากนี้แล้วยังพบได้ที่ภาคตะวันออกของไทยไปจนถึงตอนใต้ของกัมพูชาและเวียดนาม จัดเป็นกระจงอีกชนิดหนึ่ง ที่สามารถพบได้ในประเทศไทยนอกจาก กระจงเล็ก (T.

ดู เกาะสุมาตราและกระจงควาย

กระต่ายลายเสือ

กระต่ายลายเสือ หรือ กระต่ายป่าลายเสือ (Striped rabbit) เป็นกระต่ายสกุล Nesolagus (/นี-โซ-ลา-กัส/) กระต่ายลายเสือ จัดเป็นกระต่ายที่มีขนาดเล็ก มีใบหูที่เล็กกว่ากระต่ายสกุลอื่น ๆ มีลักษณะเด่น คือ ขนตามลำตัวมีสีน้ำตาลเหลือง หรือน้ำตาลแกมส้ม มีลายสีดำพาดขวางตามลำตัว เป็นลวดลายแลดูคล้ายลายของเสือโคร่ง อันเป็นที่มาของชื่อ มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด กระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ คือ.

ดู เกาะสุมาตราและกระต่ายลายเสือ

กระซู่

กระซู่, แรดสุมาตรา หรือ แรดขน (Sumatran RhinocerosWilson, D. E., and Reeder, D. M. (eds), ed (2005).; ชื่อวิทยาศาสตร์: Dicerorhinus sumatrensis) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคี่จำพวกแรด กระซู่เป็นแรดที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก และเป็นแรดเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Dicerorhinus มีลักษณะเด่นคือมี นอ 2 นอ เหมือนแรดแอฟริกา โดยนอจะไม่ตั้งยาวขึ้นมาเหมือนแรดชวา นอหน้าใหญ่กว่านอหลัง โดยทั่วไปยาว 15-25 ซม.

ดู เกาะสุมาตราและกระซู่

กระแตหางขนนก

กระแตหางขนนก (pen-tailed treeshrew) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับกระแต (Scandentia) นับเป็นกระแตเพียงชนิดเดียวเท่านั้น ที่อยู่ในวงศ์ Ptilocercidae และสกุล Ptilocercus แบ่งออกเป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) กระแตหางขนนก มีตัวยาวประมาณ 13-14 เซนติเมตร หางยาว 16-19 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 40-62 กรัม หางมีสีได้หลากหลาย ตั้งแต่สีเทาจนถึงน้ำตาลอ่อน ท้องสีขาวหรือสีครีม ปลายหางตั้งแต่ระยะ 3 ใน 5 ของหางจนถึงปลายหาง ขนมีลักษณะคล้ายขนนกหรือพู่กัน ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของกระแตชนิดนี้ ทำให้แยกออกมาเป็นวงศ์และสกุลต่างหาก กระจายพันธุ์อยู่ในคาบสมุทรมลายู จนถึงเกาะสุมาตรา, ทางเหนือของเกาะบอร์เนียว และเกาะข้างเคียง ในประเทศไทยพบทางป่าชายแดนภาคใต้ตอนล่าง พบในป่าดั้งเดิมและป่าชั้นสอง, สวนยาง หรือแม้แต่ในหมู่บ้านที่อยู่ชายป่า มักพบอยู่ในที่ที่มีต้นปาล์มชนิด จากเขา (Eugeissona tristis) ทำรังบนต้นไม้ รังอยู่สูงจากพื้น 12-20 เมตร ปูพื้นด้วยใบไม้แห้ง กิ่งไม้และเยื่อไม้ เส้นผ่านศูนย์กลางรังประมาณ 3 นิ้ว และยาวประมาณ 18 นิ้ว ออกหากินในเวลากลางคืน เวลากลางวันจะค่อนข้างเฉื่อยชา หากถูกรบกวนในเวลากลางวัน มักจะหันหลังให้ อ้าปากกว้างและส่งเสียงดังข่มขู่ บางครั้งก็ถ่ายมูลหรือปัสสาวะใส่ด้วย แต่หากถูกรบกวนตอนกลางคืน จะวิ่งหนีไปอย่างรวดเร็ว กินอาหารได้หากหลายทั้งพืชและสัตว์เช่นเดียวกับกระแตส่วนใหญ่ เช่น กล้วย, องุ่น, จิ้งหรีด, ตั๊กแตน, มด, แมลงสาบ, จักจั่น, แมลงปีกแข็ง และสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็กจำพวกตุ๊กแก ทำรังอยู่ร่วมกันเป็นฝูงใหญ่ ฝูงหนึ่งมีรัง 2-7 รัง สามารถไต่กิ่งไม้ทางด้านใต้กิ่งได้ มีประสาทสัมผัสที่หางไวมาก เมื่อแสดงอาการก้าวร้าวจะแกว่งหางไปมาแบบลูกตุ้ม แต่ถ้าตื่นเต้นจะชูหางขึ้นชี้ด้านบน มีระยะเวลาตั้งท้องนานประมาณ 45-55 วัน คาดว่าออกลูกครั้งละ 1-4 ตัว ลูกแรกเกิดหนักประมาณ 10 กรัม ตัวเมียมีเต้านม 4 เต้.

ดู เกาะสุมาตราและกระแตหางขนนก

กระแตเล็ก

กระแตเล็ก (pygmy treeshrew, lesser treeshrew) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับกระแต (Scandentia) มีลักษณะคล้ายกับกระแตใต้หรือกระแตธรรมดาทั่วไป (T.

ดู เกาะสุมาตราและกระแตเล็ก

กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี

กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี (Sunda-Sulawesi languages) เป็นสาขาของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ได้แก่ภาษาที่ใช้พูดในเกาะซูลาเวซี และเกาะซุนดาใหญ่ เช่นเดียวกับในชามอโรและปาเลา โดยทั่วไป กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มตอนใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) และกลุ่มตอนนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) ซึ่งการแบ่งนี้ใช้หลักทางภูมิศาสตร์เป็นเกณฑ.

ดู เกาะสุมาตราและกลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี

กลี

กลี เป็นพืชในวงศ์ Araceae มีชื่อว่า ปูรากา ในหมู่เกาะคุก บาไบ ในคิริบาส ปูลาอา ในซามัว เวียกัน ในฟีจี ปูลากา ในตูวาลู และ นาเวีย ในวานูอาตู เป็นไม้ล้มลุกโตเร็ว ต้นเดี่ยวหรือเป็นกอ เหง้าสั้นเรียวเล็กจนเป็นหัวทรงกระบอกขนาดใหญ่ แผ่นใบลักษณะคล้ายหัวลูกศร ก้านใบกลมมีหนาม ยกเว้นบางพันธุ์ที่ไม่มีหนาม ดอกช่อ กาบหุ้มช่อดอกหนา สีขาว เขียวเหลือง หรือม่วง ผลมีเนื้อ สีส้มแกมแดง ไม่มีก้านผล เมล็ดมีลักษณะโค้ง การกระจายพันธุ์พบตั้งแต่มาเลเซียไปจนถึงมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ เป็นไม้หายากในเกาะสุมาตราและชวา กลีสะสมแป้งในหัวใต้ดิน นำมารับประทานได้ โดยการต้ม นึ่ง อบหรือขูดให้ละเอียด ใบอ่อนใช้เป็นผัก ใบใช่ห่ออาหาร เปลือกชั้นนอกของก้านใบลอกออกมาเป็นเส้นใยละเอียด ใช้สานเสื่อ ในฟิลิปปินส์ใช้น้ำต้มช่อดอกเป็นยาขับประจำเดือน ใช้เป็นไม้ประดับได้ ในบางพื้นที่ของฟิลิปปินส์ใช้หัวเป็นอาหารที่สำคัญ และเป็นอาหารสำรองในหมู่เกาะไมโครนีเซีย หัวเก็บเกี่ยวได้เมื่ออายุ 3-6 ปี สูงสุด 10 ปี ถ้าแกเกินไปเนื้อหัวจะแข็งเป็นไม้ มีเส้นใยมากเกินไป สายพันธุ์โตเร็วจะแย่กว่าพันธุ์ที่โตช้า หัวแก่เมื่อเริ่มออกดอก.

ดู เกาะสุมาตราและกลี

กล้วยป่ามะละกา

กล้วยป่ามะละกา subsp.

ดู เกาะสุมาตราและกล้วยป่ามะละกา

กล้วยเลือด

กล้วยเลือดหรือกล้วยมณี (blood banana; var. zebrina) เป็นสายพันธุ์หนึ่งของกล้วยป่า เป็นพืชพื้นเมืองในเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ใช้เป็นไม้ประดับ ใบมีรอยสีแดงคล้ำ ผลที่มีเมล็ดน้อยรับประทานได้.

ดู เกาะสุมาตราและกล้วยเลือด

การสำรวจ

นักสำรวจ คาซิเมียร์ โนวัก การสำรวจ (Exploration) คือการค้นหาเพื่อบรรลุเป้าหมายของการค้นพบหรือทรัพยากร การสำรวจเกิดขึ้นในทุกสิ่งมีชีวิตที่มีการเคลื่อนไหวรวมถึงมนุษย์ ในประวัติศาสตรของมนุษย์การสำรวจที่มีอิทธิพลมากที่สุดอยู่ในช่วงยุคแห่งการค้นพบเมื่อนักสำรวจชาวยุโรปแล่นเรือและเขียนแผนที่ในพื้นที่ส่วนที่เหลือของโลกด้วยเหตุผลหลายประการ ตั้งแต่นั้นมาการสำรวจครั้งใหญ่หลังยุคแห่งการสำรวจเกิดขึ้นจากการค้นพบข้อมูลสำคัญเป็นเหตุผลส่วนใหญ่ ในระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ การสำรวจเป็นหนึ่งในสามวัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงประจักษ์ (อีกสองอย่างคือการพรรณาและการอธิบาย).

ดู เกาะสุมาตราและการสำรวจ

การขนส่งระบบรางในประเทศอินโดนีเซีย

รถไฟ''อาร์โก''ขบวนหนึ่ง ที่สถานีรถไฟกัมบีร์ในจาการ์ตา การขนส่งระบบรางในประเทศอินโดนีเซีย ส่วนใหญ่จะอยู่บนเกาะชวาซึ่งมีรถไฟสายหลักอยู่ 2 สาย ส่วนในเกาะสุมาตราจะมีสายรถไฟที่ไม่เชื่อมต่อกันถึง 5 สาย ซึ่งจะมีในเขตปกครองพิเศษอาเจะห์, จังหวัดสุมาตราเหนือ (พื้นที่รอบเมืองเมดัน), จังหวัดสุมาตราตะวันตก (พื้นที่รอบเมืองปาดัง), จังหวัดสุมาตราใต้ และจังหวัดลัมปุง สำหรับรถไฟทางไกลในอินโดนีเซีย ดำเนินการโดยรัฐวิสาหกิจ เกอเรตาอาปีอินโดเนเซีย ส่วนรถไฟชานเมืองในจาการ์ตา ดำเนินการโดย พีที เกอเรตาอาปีจาโบเดตาเบะก์ ขนาดความกว้างรางรถไฟ ส่วนใหญ่ใช้รางขนาด นอกจากนี้ยังมีรางขนาด (รวมถึงสายรถไฟใหม่ในเขตปกครองพิเศษอาเจะห์) และ การจ่ายไฟฟ้าให้ระบบรางมีเฉพาะรถไฟชานเมืองในจาการ์ตาซึ่งใช้ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว ไฟฟ้ากระแสตรง ความต่างศักย์ 1500 โวลต.

ดู เกาะสุมาตราและการขนส่งระบบรางในประเทศอินโดนีเซีย

การขนส่งในประเทศอินโดนีเซีย

รือของบรัษัทเป็ลนี เป็นเรือขนาดใหญ่ เชื่อมระหว่างเกาะต่าง ๆ ของอินโดนีเซีย การขนส่งในอินโดนีเซีย มีกระจายอยู่ในเกาะกว่า 1,000 แห่งของประเทศ แต่เกาะที่มีปริมาณการขนส่งที่หนาแน่นที่สุดคือเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย มีการขนส่งครบทุกรูปแบบ โดยที่มีมากที่สุดคือ ถนน มีครอบคลุมทั่วทั้งประเทศกว่า 437,759 กิโลเมตรในปี..

ดู เกาะสุมาตราและการขนส่งในประเทศอินโดนีเซีย

การค้าเครื่องเทศ

วามสำคัญทางเศรษฐกิจเส้นทางสายไหมและเส้นทางเครื่องเทศของเส้นทางการค้าไปยังตะวันออกมาถูกปิดโดยจักรวรรดิออตโตมัน ราว ค.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและการค้าเครื่องเทศ

กาแฟขี้ชะมด

วไร่กาแฟขี้ชะมดที่เกาะสุมาตราแสดงมูลที่ชะมดถ่ายออกมา มีเมล็ดกาแฟอยู่ภายในแต่ยังไม่ได้ล้าง กาแฟขี้ชะมด หรือ กาแฟชะมด (Kopi Luwak, civet coffee) หมายถึงเมล็ดกาแฟที่สัตว์กลุ่มชะมดโดยเฉพาะคืออีเห็นข้างลาย (Paradoxurus hermaphroditus) ได้กินและถ่ายออกมาแล้ว นอกจากนั้นแล้ว ยังหมายถึงเครื่องดื่มกาแฟที่ทำมาจากเมล็ดกาแฟชนิดนี้ โดยที่คนอินโดนีเซียเรียกกาแฟชนิดนี้ว่า Kopi Luwak (โกปิ ลูวะก์) (ซึ่งคำว่า Kupi เป็นภาษาอินโดนีเซีย แปลว่า กาแฟ ส่วนคำว่า Luwak หมายถึงอีเห็นข้างลาย) มีราคาซื้อขายที่สูงมาก เมื่อขายปลีกเป็นกาแฟปรุงสำเร็จถ้วยละ 500-1,500 บาท และขายเป็นเมล็ดกาแฟ กิโลกรัมละ 100,000 บาท (ราคาในประเทศไทย) ผู้ผลิตการแฟอ้างว่า วิธีการที่ให้กำเนิดกาแฟนี้ เพิ่มคุณภาพผ่านกลไกสองอย่างคือ การคัดเลือกเมล็ด และการย่อย คือ ชะมดจะเลือกกินเมล็ดกาแฟซึ่งมีคุณภาพที่ดีกว่า และกลไกการย่อยของชะมดอาจจะเพิ่มรสชาติของเมล็ดกาแฟ คือ ชะมดจะกินเมล็ดกาแฟพร้อมกับเนื้อเข้าไป และจะเกิดการหมักในทางเดินอาหาร เอนไซม์ Protease ซึ่งช่วยย่อยโปรตีนจะซึมเข้าไปในเมล็ด ทำให้เกิดเพปไทด์ที่สั้นกว่าและจำนวนกรดอะมิโนอิสระที่มากกว่า ส่วนเมล็ดจะผ่านระบบทางเดินอาหารของตัวชะมดจนกระทั่งถ่ายออกมา ซึ่งชาวไร่จะเก็บและนำผ่านกระบวนการผลิตต่อไป วิธีการผลิตกาแฟดั้งเดิมที่เก็บมูลชะมดในป่า ได้เปลี่ยนไปเป็นกระบวนการขังชะมดไว้ในกรงแล้วบังคับให้กินเมล็ดกาแฟ ซึ่งได้สร้างปัญหาด้านจริยธรรมเกี่ยวกับวิธีการเลี้ยงชะมด เพราะชะมดถูกบังคับให้อยู่ใน "สิ่งแวดล้อมที่น่าสะพรึงกลัว" รวมทั้งการถูกขังแยก อาหารที่ไม่ดี กรงที่เล็ก และอัตราการตายในระดับสูง ในปี..

ดู เกาะสุมาตราและกาแฟขี้ชะมด

กูไล

กูไล (gulai) เป็นแกงรสเผ็ด มักปรุงกับเนื้อสัตว์ เช่น ไก่ เนื้อวัว เนื้อแกะ ปลา อาหารทะเล หรือผักเช่น ใบมันสำปะหลังและขนุนอ่อน น้ำแกงมักเป็นสีเหลืองเพราะเติมผงขมิ้น เครื่องแกงที่ใช้ ได้แก่ ขมิ้น ผักชี พริกไทยดำ ขิง ข่า พริกขี้หนู หัวหอม กระเทียม ยี่หร่า ตะไคร้ อบเชย ลูกผักชี ซึ่งตำให้ละเอียด และนำไปปรุงกับกะทิ พร้อมกับส่วนผสมหลัก.

ดู เกาะสุมาตราและกูไล

ญะมาอะห์ อิสลามียะห์

ญะมาอะห์ อิสลามียะห์ (Jama ah Islamiyah, الجماعه الإسلاميه) หรือกลุ่ม JI เป็นกลุ่มก่อการร้ายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คาดว่าก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู เกาะสุมาตราและญะมาอะห์ อิสลามียะห์

ภาษาชวา

ษาชวา คือภาษาพูด ของผู้ที่อาศัยอยู่บนตอนกลางและตะวันออกของเกาะชวาในประเทศอินโดนีเซีย เป็นภาษาแม่ของมากกว่า 75,500,000 คน ภาษาชวาอยู่ในภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน จึงสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซียและภาษามลายู ผู้พูดภาษาชวา พูดภาษาอินโดนีเซียด้วย สำหรับวัตถุประสงค์ทางการและธุรกิจ และเพื่อสื่อสารกับชาวอินโดนีเซียอื่น ๆ มีชุมชนผู้พูดภาษาชวาขนาดใหญ่ในประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะรัฐเซอลาโงร์และยะโฮร์ (คีร์ โตโย รัฐมนตรีของเซอลาโงร์ เป็นชนพื้นเมืองของชวา) อย่างไรก็ดี ภาษาชวาไม่สามารถเข้าใจกันกับภาษามลายูได้.

ดู เกาะสุมาตราและภาษาชวา

ภาษาบูกิส

ษาบูกิส เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรราว 4 ล้านคน ในภาคใต้ของเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซีย คำว่า บูกิส มาจากภาษามลายู ส่วนชาวบูกิสเรียกภาษาของตนว่า บาซา อูกิ แปลว่ากษัตริย์องค์แรก ซึ่งหมายถึง กษัตริย์ในอาณาจักรบุกิสโบราณ แต่เรื่องราวไม่ชัดเจนเพราะไม่มีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐานลายลักษณ์อักษรครั้งแรกที่พบคือ อี ลา กาลิโก ซึ่งเป็นภาพวงกลม เล่าถึงกำเนิดชีวิต พบในซูลาเวซีใต้.

ดู เกาะสุมาตราและภาษาบูกิส

ภาษากาโย

ภาษากาโย เป็นภาษาที่มีผู้พูดราว 180,000 คน (พ.ศ. 2532) ในเขตภูเขาของสุมาตราเหนือ รอบๆ ตาเกโงน เก็นเต็ง และ โลโกน ประเทศอินโดนีเซีย อยู่ในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตก ตระกูลออสโตรนีเซียน แต่ไม่ใกล้เคียงกับภาษาในกลุ่มเท่าใดนัก กาโย.

ดู เกาะสุมาตราและภาษากาโย

ภาษามลายู

ษามลายู (Bahasa Melayu) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย มีผู้พูดประมาณ 200–250 ล้านคน (ณ ปี พ.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและภาษามลายู

ภาษามลายูเกอดะฮ์

ษามลายูเกอดะฮ์, ภาษามลายูไทรบุรี หรือ ภาษามลายูสตูล (Bahasa Melayu Kedah) เป็นสำเนียงหนึ่งของภาษามลายู ใช้พูดในทางภาคตะวันตกของมาเลเซีย ได้แก่ รัฐเกอดะฮ์ (ไทรบุรี) รัฐปีนัง รัฐปะลิส และทางตอนเหนือของรัฐเประก์ ในประเทศไทยมีผู้พูดในจังหวัดสตูล บางส่วนของจังหวัดตรังและระนอง ข้ามไปยังเขตเขตเกาะสองของประเทศพม่า และยังพบว่ามีการพูดบางพื้นที่ทางตอนบนของเกาะสุมาตรา ของประเทศอินโดนีเซียด้ว.

ดู เกาะสุมาตราและภาษามลายูเกอดะฮ์

ภาษามลายูเนอเกอรีเซิมบีลัน

ษามลายูเนอเกอรีเซิมบีลัน (Bahasa Melayu Negeri Sembilan) หรือ ภาษามลายูมีนังกาเบา มีผู้พูดประมาณ 507,500 คน (พ.ศ. 2547) ทางตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงกัวลาลัมเปอร์ จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามาลาโย-โปลินีเซีย สาขามาลาโย-ซุมบาวา สาขาย่อยมลายูอิก ใกล้เคียงกับภาษามีนังกาเบาในเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ผู้พูดภาษานี้เป็นชาวมีนังกาเบาที่อพยพเข้ามาอยู่ในมาเลเซี.

ดู เกาะสุมาตราและภาษามลายูเนอเกอรีเซิมบีลัน

ภาษามีนังกาเบา

ภาษามีนังกาเบา (ชื่อในภาษาของตนเอง: Baso Minang (kabau); ภาษาอินโดนีเซีย: Bahasa Minangkabau) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใช้พูดโดยชาวมีนังกาเบาในสุมาตราตะวันตก ทางตะวันตกของเกาะเรียว และเมืองอื่น ๆ ในอินโดนีเซียเนื่องจากการอพยพ รวมทั้งในประเทศมาเลเซีย ภาษานี้ใกล้เคียงกับภาษามลายูทั้งในด้านศัพท์และไวยากรณ์ นักภาษาศาสตร์บางคนจัดให้เป็นสำเนียงของภาษามลายู ในมาเลเซีย ภาษานี้ใช้พูดในรัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน ซึ่งเป็นถิ่นที่อยู่ของชาวมีนังกาเบาที่อพยพมาจากสุมาตรา ภาษานี้เป็นภาษากลางในชายฝั่งตะวันตกของสุมาตราเหนือ และเคยใช้ในบางส่วนของอาเจะฮ์ ในชื่อ Aneuk Jamee มีนังกาเบา มีนังกาเบา.

ดู เกาะสุมาตราและภาษามีนังกาเบา

ภาษาอาเจะฮ์

ภาษาอาเจะฮ์ เป็นภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดในอาเจะฮ์ เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย และโบตา รัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย อาเจะฮ์ อาเจะฮ์.

ดู เกาะสุมาตราและภาษาอาเจะฮ์

ภาษาอินโดนีเซีย

ษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia; Indonesian language) เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตในหลายด้าน เริ่มต้นด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่พูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วนน้อยที่พูดเป็นภาษาแม่ในบางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและภาษาอินโดนีเซีย

ภาษาเม็นตาไว

ภาษาเม็นตาไว เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน พูดโดยชาวเม็นตาไวในเกาะเม็นตาไว สุมาตราตะวันตก มีหลายสำเนียง เช่น ซิมาเลอฆี ซากาลากัน ซีลาบู ตารีกากู ซัวมันฆันยา ซีเบอรุตเหนือ ซีเบอรุตใต้ ซีปูรา ปาไฆ เป็นต้น มเนตาไว.

ดู เกาะสุมาตราและภาษาเม็นตาไว

ภูเขาไฟกรากะตัว

ูเขาไฟกรากาตัวระหว่างการปะทุในปี ค.ศ. 2008 การเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่รอบเกาะกรากาตัว กรากาตัว (Krakatoa) หรือ กรากาเตา (Krakatau) เป็นชื่อภูเขาไฟที่ตั้งอยู่บนเกาะชื่อเดียวกัน การระเบิดครั้งใหญ่ของภูเขาไฟลูกนี้ก่อให้เกิดความหายนะครั้งใหญ่ในประเทศอินโดนีเซีย และเหตุการณ์นี้เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก.

ดู เกาะสุมาตราและภูเขาไฟกรากะตัว

ภูเขาไฟซีนาบุง

ูเขาไฟซีนาบุง (Gunung Sinabung) เป็นภูเขาไฟในสุมาตราเหนือ ประเทศอินโดนีเซีย การไหลของลาวาที่เย็นตัวแล้วด้านข้างของภูเขา การปะทุครั้งล่าสุดก่อนหน้..

ดู เกาะสุมาตราและภูเขาไฟซีนาบุง

มรดกของป่าฝนเขตร้อนบนเกาะสุมาตรา

มรดกของป่าฝนเขตร้อนบนเกาะสุมาตรา คือชื่อแหล่งมรดกโลกของประเทศอินโดนีเซียที่ตั้งอยู่บนเกาะสุมาตรา ประกอบด้วยเขตอุทยานแห่งชาติ 3 แห่งได้แก่ อุทยานแห่งชาติกุนุงลูเซอร์ (Gunung Leuser) อุทยานแห่งชาติเครินซีเซบลัต (Kerinci Seblat) และอุทยานแห่งชาติบูกิตบาริซานเซลาตัน (Bukit Barisan Selatan).

ดู เกาะสุมาตราและมรดกของป่าฝนเขตร้อนบนเกาะสุมาตรา

มอชตาร์ ลูบิส

มอชตาร์ ลูบิส (Mochtar Lubis; เกิด 7 มีนาคม ค.ศ. 1922 ถึงแก่กรรม 2 กรกฎาคม ค.ศ. 2004) ในเมืองปาดัง ตอนกลางของสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย เป็นนักเขียนนวนิยาย นักหนังสือพิมพ์ บรรณาธิการ และนักเรียกร้องเสรีภาพคนสำคัญของอินโดนีเซีย เคยได้รับรางวัลแมกไซไซ เมื่อ ค.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและมอชตาร์ ลูบิส

มอริส ก็อตลา

มอริส ก็อตลา (Maurice Kottelat) เป็นนักมีนวิทยาชาวสวิส เกิดเมื่อปี ค.ศ. 1957 ที่เมืองเดอเลมง ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เคยเป็นประธานสมาคมมีนวิทยาแห่งทวีปยุโรป ก็อตลาจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเนอชาแตลในปี ค.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและมอริส ก็อตลา

มะพร้าวแฝด

มะพร้าวแฝด, ตาลทะเล, มะพร้าวตูดนิโกร หรือ มะพร้าวทะเล มีชื่อในภาษาฝรั่งเศสว่า Coco de mer แปลว่า "มะพร้าวทะเล" สาเหตุที่ถูกขนานอย่างนี้ก็เพราะว่า พวกเดินเรือในอดีตจะพบลูกมะพร้าวทะเลอยู่ในมหาสมุทร แต่ไม่มีใครเห็นพบเห็นต้นของมัน จึงสันนิษฐานว่าคงมีต้นอยู่ใต้ทะเล บ้างก็ไปไกลยิ่งกว่านั้น คือเชื่อว่าคงเป็นผลไม้จากสวรรค์แน่ ๆ และอาจจะเป็นผลไม้แห่งความอมตะที่อีฟ ภรรยาอาดัม ถูกหลอกให้กินก็ได้ นาน ๆ ครั้งจะมีผู้พบเห็นมะพร้าวทะเลถูกคลื่นซัดเข้าฝั่ง มะพร้าวทะเลจึงกลายเป็นของแปลกและหายากยิ่งกว่าเพชรพลอย และแน่นอนผลไม้พิสดารนี้ก็จะถูกนำไปถวายให้แก่คนที่สำคัญที่สุดในแผ่นดิน นั่นคือกษัตริย์หรือสุลต่าน ไว้ประดับบารมีหรือเป็นยาวิเศษรักษาสารพัดโร.

ดู เกาะสุมาตราและมะพร้าวแฝด

มะพลับพรุ

มะพลับพรุ เป็นพืชในวงศ์มะพลับ (Ebenaceae) กระจายพันธุ์ทางใต้ของคาบสมุทรมลายู เกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว เป็นไม้ยืนต้น สูง 30-40 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทรงสูงแตกกิ่งชั้นเดียว โคนต้นมีพูพอนสูงถึง 1 เมตร ใบหนาเป็นรูปรีถึงรูปไข่ กว้าง 4-9 เซนติเมตร ยาว 8-20 เซนติเมตร ผิวใบเกลี้ยง ปลายใบมนถึงเป็นติ่งแหลม โคนใบสอบถึงมนกลม ดอกเพศผู้สีเขียวอ่อนถึงเหลืองนวล เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร เกิดบนช่อสั้น ๆ ตามซอกใบ เกสรเพศผู้ 12-15 อัน ดอกเพศเมียเกิดบนช่อสั้น ๆ ตามปลายกิ่ง ผลรูปไข่ปลายตัด กว้างประมาณ 2.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 3.5 เซนติเมตร มีขนคลุมหนาแน่น มี 8 เมล็.

ดู เกาะสุมาตราและมะพลับพรุ

มะไฟควาย

มะไฟควาย เป็นพืชท้องถิ่นในมาเลเซีย เกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียว และภาคใต้ของไทย ภาคกลางเรียกลังแขหรือลำแข ปัตตานีเรียกมะแค้ ลังแข ภาษาอินโดนีเซียเรียกตัมปุยซายาหรือตัมปุยบูลัน ภาษามลายูเรียกตัมโปย เงาะซาไกเรียกลารัก เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ใบเกลี้ยง ไม่มีขนอ่อน แผ่นใบเรียวเข้าหาโคน ไม่เว้า ช่อดอกยาว ออกเป็นกลุ่มตามกิ่งหรือลำต้น ผลมีขนาดใหญ่ที่สุดเมื่อเทียบกับพืชในสกุลเดียวกันทั้งหมด ผลกลม เปลือกหนามาก มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ ก้านของผลยาว แข็ง ผลดิบสีชมพูอมม่วง มีขน เมื่อแก่กลายเป็นสีน้ำตาล ไม่มีขน เนื้อสีขาวขุ่น แต่เมื่อถูกอากาศจะกลายเป็นสีดำอย่างรวดเร็ว มี 3-6 เมล็ด รสหวานอมเปรี้ยว ใช้รับประทานเป็นผลไม้.

ดู เกาะสุมาตราและมะไฟควาย

มันตาหยง

มันตาหยง เป็นไม้เถาในวงศ์ Dioscoreaceae แยกเพศ เถาเลื้อยพันไปด้านขวา ผิวเรียบ หัวรูปยาว สีขาว ไม่มีหัวย่อยบนเถา ใบเดี่ยว ก้านใบยาว มีขนละเอียดปกคลุม ใบอ่อนมีขนปกคลุม ปลายใบแหลม ดอกช่อ ผลเป็นแบบแคบซูล มีปีก พบทั่วไปในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย กระจายพันทางภาคใต้ของไทยไปจนถึงเกาะสุมาตรา หัวต้มสุกแล้วรับประทานได้ หัวดิบทำให้ระคายคออย่างรุนแรง.

ดู เกาะสุมาตราและมันตาหยง

ย่ามควาย

มควาย เป็นพืชในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เปลือกเรียบมีรอยแตกสีขาว สีเทาหรือน้ำตาล เนื้อไม้แข็ง แก่นไม้สีน้ำตาลอมเหลืองอ่อน ใบออกตรงข้ามหนาคล้ายหนัง ดอกขนาดเล็ก ออกเป็นช่อกระจุกตามซอกใบ ผลขนาดเล็ก เนื้อหนา สุกแล้วเป็นสีส้ม กระจายพันธุ์ตั้งแต่ภาคใต้ของไทยไปจนถึงเกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว ใช้ใบต้มน้ำดื่มแทนกาแฟ.

ดู เกาะสุมาตราและย่ามควาย

รัฐบาลปฏิวัติแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย

รัฐบาลปฏิวัติแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Revolutionary Government of Republic of Indonesia;ภาษาอินโดนีเซีย: Pemerintah Revolusioner Republik Indonesia/PRRI)) เป็นรัฐบาลของฝ่ายกบฏในอินโดนีเซีย เริ่มต้นขึ้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและรัฐบาลปฏิวัติแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย

รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน

นอเกอรีเซิมบีลัน (Negeri Sembilan, อักษรยาวี: نڬري سمبيلن) เป็น 1 ใน 13 รัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธ์มาเลเซีย ตั้งอยู่ทางชายฝั่งทะเลตะวันตกของมาเลเซียตะวันตก มีพื้นที่ประมาณ 6,650 ตารางกิโลเมตร คำว่า "เนอเกอรีเซิมบีลัน" แปลว่า 9 รัฐ สืบเนื่องจากในสมัยก่อนแบ่งการปกครองเป็น 9 อำเภอ มีเมืองหลวงชื่อ เซอเริมบัน เป็นเมืองท่าที่มีชายฝั่งทะเลสวยงาม เหมาะแก่การพักผ่อน องค์ประกอบของกลุ่มชาติพันธุ์ในปี..

ดู เกาะสุมาตราและรัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน

ราชวงศ์หมิง

ราชวงศ์หมิง หรือ ราชวงศ์เบ๋ง (ฮกเกี้ยน) หรือ ราชวงศ์เม้ง (แต้จิ๋ว) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิต้าหมิง เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิจีน ระหว่าง พ.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและราชวงศ์หมิง

ราชวงศ์หยวน

ตแดนของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์หยวน เครื่องปั้นดินเผา สมัยราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หยวน (หยวนเฉา) (พ.ศ. 1814 - 1911) คือหนึ่งในราชวงศ์ของจักรวรรดิจีน ก่อตั้งขึ้นเมื่อกุบไลข่านผู้นำเผ่าชาวมองโกล ได้โค่นอำนาจราชวงศ์ซ่งลง แล้วเปิดศักราชชาวมองโกลครองประเทศจีน ชาวมองโกลได้เข้ายึดครองภาคเหนือของจีนเป็นเวลากว่าทศวรรษ ได้มีความพยายามเปลี่ยนเป็นจีน ตั้งแต่สมัย มองเกอ ข่าน พระเชษฐาของกุบไลข่าน แต่ไม่สำเร็จ จนกระทั่งในสมัยของกุบไลข่าน ในปี..

ดู เกาะสุมาตราและราชวงศ์หยวน

รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิง

''N. mirabilis'' × ''N. sumatrana'', ลูกผสมหายากที่พบในสุมาตรา รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิง เป็นการรวบรวมรายชื่อลูกผสมทางธรรมชาติของพืชกินสัตว์ในสกุล หม้อข้าวหม้อแกงลิง ลูกผสมชนิดใดไม่ใช่พืชถิ่นเดียวจะมีเครื่องหมายดอกจันข้างหลังชื่อ.

ดู เกาะสุมาตราและรายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิง

รายชื่อชนิดของหม้อข้าวหม้อแกงลิง

การกระจายพันธุ์ของหม้อข้าวหม้อแกงลิง รายชื่อชนิดของหม้อข้าวหม้อแกงลิง นี้ได้รวมทุกชนิดที่เป็นที่รู้จักในสกุลของพืชกินสัตว์วงศ์หม้อข้าวหม้อแกงลิง โดยจำแจกตามลักษณะภูมิศาสตร์ที่ค้นพบ ถ้าชนิดไหนไม่ใช่พืชถิ่นเดียวจะมีเครื่องหมายดอกจันหลังชื่อนั้น.

ดู เกาะสุมาตราและรายชื่อชนิดของหม้อข้าวหม้อแกงลิง

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ดู เกาะสุมาตราและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

รายชื่อสปีชีส์ในสกุลทุเรียน

ท่าที่ทราบในปัจจุบันมีพืชในสกุลทุเรียนอยู่ 30 ชนิด มีอยู่ 9 ชนิดที่ผลสามารถรับประทานได้ แต่อาจยังมีบางชนิดที่ยังไม่ค้นพบและจัดจำแนก และมีผลที่สามารถรับประทานได้.

ดู เกาะสุมาตราและรายชื่อสปีชีส์ในสกุลทุเรียน

รายชื่อนกที่พบในประเทศไทย

นกกระจอกบ้านนกประจำถิ่นที่พบเห็นได้ง่ายมาก มีนกทั้งสิ้น 982 ชนิดที่มีบันทึกว่าพบในธรรมชาติของประเทศไทย มี 3 ชนิดเป็นนกถิ่นเดียว หนึ่งชนิดเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่นำเข้ามาโดยมนุษย์ และ 45 ชนิดพบเห็นได้ยาก 7 ชนิดในรายชื่อทั้งหมดสูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติแล้วในประเทศไทยซึ่งไม่ได้รวมอยู่ในบทความนี้ และ 49 ชนิดที่ถูกคุกคามทั่วโลก เรียงลำดับวงศ์และชนิดตาม เคลเมนต์ (2000) และเพิ่มชนิดตาม ร็อบสัน (2004) และหมอบุญส่ง ชื่อในภาษาไทยอ้างอิงตามหนังสือคู่มือดูนกของหมอบุญส่ง เลขะกุล ในปี..

ดู เกาะสุมาตราและรายชื่อนกที่พบในประเทศไทย

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอินโดนีเซีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศอินโดนีเซียทั้งสิ้น 8 แหล่ง.

ดู เกาะสุมาตราและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอินโดนีเซีย

รายชื่อเกาะเรียงตามขนาด

หน้านี้คือรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดทั่วโลก.

ดู เกาะสุมาตราและรายชื่อเกาะเรียงตามขนาด

รายการแผ่นดินไหว

นี่เป็นเนื้อหาของรายการแผ่นดินไหวและอันดับแผ่นดินไหวแบ่งตามแมกนิจูดและผู้เสียชีวิต.

ดู เกาะสุมาตราและรายการแผ่นดินไหว

รือบับ

รือบับ รือบับ (Rebab; الرباب หรือ رباب) เป็นที่เข้าใจกันว่าเป็นเครื่องดนตรีที่มีการละเล่นกันตั้งแต่ในบริเวณสามจังหวัดชายแดนใต้ มาเลเซีย สุมาตราเหนือของประเทศอินโดนีเซีย และชวา ใช้ในการแสดง เมาะโย่งหรือมะโย่ง ซึ่งการละเล่นนี้ไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นเป็นศิลปะละครรำในวัฒนธรรมหลวงหรือเป็นวัฒนธรรมราษฎร์ของคนถิ่นมลายู แต่ที่ปัตตานีปรากฏหลักฐานการละเล่นนี้ที่หนังสือ ฮิกายัดปัตตานีหรือพงศาวดารปัตตานี ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 รือบับมีลักษณะโดยรวมคล้ายกับซอสามสายของภาคกลาง.

ดู เกาะสุมาตราและรือบับ

ฤดูหนาวจากภูเขาไฟ

ูหนาวจากภูเขาไฟ คือการที่โลกมีอุณหภูมิลดลงจากการระเบิดของภูเขาไฟขนาดใหญ่ที่ทำให้เกิดเถ้าภูเขาไฟ, กรดซัลฟิวริกและน้ำจำนวนมากในชั้นบรรยากาศจนทำให้บดบังแสงจากดวงอาทิตย์และมีการเพิ่มอัลบีโด (ค่าการสะท้องแสง) ของโลกมากขึ้น ความหนาวเย็นของปรากฏการณ์นี้จะกินเวลานานเท่าไหร่ก็ขึ้นอยู่กับจำนวนก๊าซกำมะถันที่เปลี่ยนรูปเป็นอนุภาคชื่อว่าละอองลอยของกรดซัลฟิวริกซึ่งจะรวมตัวกันที่ชั้นสตราโทสเฟียร์Robock, Alan (2000).

ดู เกาะสุมาตราและฤดูหนาวจากภูเขาไฟ

ลัว ลี่

ลัว ลี่ เป็นนักแสดงภาพยนตร์จีนกำลังภายในชาวฮ่องกง ลัว ลี่เกิดที่เมืองเปอมาตังเซียนตาร์ ทางตอนเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย บิดามารดามาจากมณฑลกวางตุ้ง และส่งเขากลับไปอยู่ฮ่องกงตั้งแต่เมื่อยังเป็นวัยรุ่น เขาเริ่มฝึกฝนศิลปะป้องกันตัวและร่วมแสดงภาพยนตร์ของชอว์บราเดอร์ส ตั้งแต่ปี..

ดู เกาะสุมาตราและลัว ลี่

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)

รียงลำดับเหตุการณ์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 1 มกราคม จนถึง 31 ธันวาคม 1941 แผนที่ของเขตปฏิบัติการปฏิบัติการเข็มทิศ - ธันวาคม 1940 - กุมภาพันธ์ 1941 นายพลรอมเมลในแอฟรีกาเหนือ ประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี.

ดู เกาะสุมาตราและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)

ลิงลมใต้

ลิงลมใต้ หรือ นางอายใต้ (Sunda slow loris, Southern loris) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานร (Primates) ขนาดเล็ก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nycticebus coucang.

ดู เกาะสุมาตราและลิงลมใต้

ลิงแสม

ลิงแสม (Long-tailed macaque, Crab-eating macaque) เป็นลิงชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Macaca fascicularis จัดอยู่ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae).

ดู เกาะสุมาตราและลิงแสม

ลู่ตูง

ลู่ตูง (Lutung) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับวานร (Primates) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Trachypithecus จัดอยู่ในจำพวกค่าง ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) โดยชื่อสามัญคำว่า "Lutung" มาจากภาษามลายู เนื่องจากมีความแตกต่างจากค่างสกุลที่พบในอนุทวีปอินเดี.

ดู เกาะสุมาตราและลู่ตูง

วัฒนธรรมดงเซิน

กลองมโหระทึก เป็นวัตถุทางวัฒนธรรมที่สำคัญของวัฒนธรรมดงเซิน วัฒนธรรมดงเซิน หรือ วัฒนธรรมดองซอน เป็นวัฒนธรรมในยุคสำริด มีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำแดงทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม วัฒนธรรมดงเซินเป็นวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมอื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งในคาบสมุทรและในหมู่เกาะต่าง ๆ ผู้คนในวัฒนธรรมดงเซินมีความสามารถในการปลูกข้าว เลี้ยงสัตว์ การประมง และการล่องเรือ วัตถุทางวัฒนธรรมที่สำคัญของวัฒนธรรมนี้คือกลองมโหระทึก ซึ่งเป็นกลองที่ใช้ในพิธีกรรมและพบได้ทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วัฒนธรรมดงเซินมีความเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมของผู้คนที่พูดตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า วัฒนธรรมของชาวไทในยูนนาน วัฒธรรมของผู้คนที่พูดภาษากลุ่มมอญ-เขมร และวัฒนธรรมในบริเวณทุ่งไหหินในประเทศลาว มีการค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีที่ใกล้เคียงกับวัตถุของวัฒนธรรมดงเซินในประเทศกัมพูชาบริเวณริมแม่น้ำโขง ซึ่งมีอายุในช่วงประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสตกาล อิทธิพลของวัฒนธรรมดงเซินสามารถพบเห็นได้ทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาทิเช่น กลองโมโกในประเทศอินโดนีเซีย ไปจนถึงลวดลายของกริช ทางใต้ของสถานที่ที่พบวัฒนธรรมดงเซิน ยังพบวัฒนธรรม Sa Huỳnh ซึ่งเป็นวัฒนธรรมแรกเริ่มของชาวจาม.

ดู เกาะสุมาตราและวัฒนธรรมดงเซิน

วิวัฒนาการของมนุษย์

''Homo sapiens sapiens'' ชาวอาข่าในประเทศไทย วิวัฒนาการของมนุษย์ (Human evolution) เป็นกระบวนการวิวัฒนาการที่นำไปสู่การปรากฏขึ้นของ "มนุษย์ปัจจุบัน" (modern human มีนามตามอนุกรมวิธานว่า Homo sapiens หรือ Homo sapiens sapiens) ซึ่งแม้ว่าจริง ๆ แล้วจะเริ่มต้นตั้งแต่บรรพบุรุษแรกของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด แต่บทความนี้ครอบคลุมเพียงแค่ประวัติวิวัฒนาการของสัตว์อันดับวานร (primate) โดยเฉพาะของสกุล โฮโม (Homo) และการปรากฏขึ้นของมนุษย์สปีชีส์ Homo sapiens ที่จัดเป็นสัตว์วงศ์ลิงใหญ่เท่านั้น การศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการมนุษย์นั้นต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์หลายสาขา รวมทั้งมานุษยวิทยาเชิงกายภาพ (หรือ มานุษยวิทยาเชิงชีวภาพ), วานรวิทยา, โบราณคดี, บรรพชีวินวิทยา, พฤติกรรมวิทยา, ภาษาศาสตร์, จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary psychology), คัพภวิทยา และพันธุศาสตร์ กระบวนการวิวัฒนาการเป็นความเปลี่ยนแปลงของลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตผ่านหลายชั่วยุคชีวิต เป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดความหลายหลากกับสิ่งมีชีวิตในทุกระดับชั้น รวมทั้งระดับสปีชีส์ ระดับสิ่งมีชีวิตแต่ละชีวิต และแม้กระทั่งโครงสร้างระดับโมเลกุลเช่นดีเอ็นเอและโปรตีน สิ่งมีชีวิตทั้งหมดในโลกสืบสายมาจากบรรพบุรุษเดียวกันที่มีชีวิตประมาณ 3.8 พันล้านปีก่อน การเกิดสปีชีส์ใหม่ ๆ และการแยกสายพันธุ์ออกจากกันของสิ่งมีชีวิต สามารถอนุมานได้จากลักษณะสืบสายพันธุ์ทางสัณฐานและทางเคมีชีวภาพ หรือโดยลำดับดีเอ็นเอที่มีร่วมกัน คือ ลักษณะสืบสายพันธุ์และลำดับดีเอ็นเอที่มีกำเนิดเดียวกัน จะมีความคล้ายคลึงกันระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันเร็ว ๆ นี้มากกว่าระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันมานานแล้ว ดังนั้นความคล้ายคลึงกันและความแตกต่างกันจึงสามารถใช้สร้างแบบของต้นไม้สายพันธุ์สิ่งมีชีวิต ที่แสดงความสัมพันธ์เชิงญาติ โดยใช้สิ่งมีชีวิตที่ยังมีอยู่หรือใช้ซากดึกดำบรรพ์เป็นหลักฐานข้อมูล รูปแบบความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในโลกเปลี่ยนแปลงไปเพราะการเกิดขึ้นของสปีชีส์ใหม่ ๆ และการสูญพันธุ์ไปของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ งานวิจัยต่าง ๆ ทางพันธุศาสตร์แสดงว่า สัตว์อันดับวานรรวมทั้งมนุษย์แยกออกจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทอื่น ๆ เมื่อประมาณ โดยมีซากดึกดำบรรพ์ปรากฏเป็นครั้งแรกสุดเมื่อประมาณ ส่วนลิงวงศ์ชะนี (Hylobatidae) แยกสายพันธุ์ออกจากสายพันธุ์วงศ์ลิงใหญ่ (Hominidae) รวมทั้งมนุษย์ ซึ่งเป็นวงศ์หนึ่ง ๆ ของสัตว์อันดับวานรนั้น เมื่อ แล้วลิงวงศ์ Ponginae (ลิงอุรังอุตัง) ก็แยกออกจากสายพันธุ์เมื่อประมาณ จากนั้น การเดินด้วยสองเท้า (bipedalism) ซึ่งเป็นการปรับตัวพื้นฐานที่สุดของสัตว์เผ่า Hominini ซึ่งเป็นสายพันธุ์ของมนุษย์ที่ลิงชิมแปนซีได้แยกออกไปแล้ว ก็เริ่มปรากฏในสัตว์สองเท้าแรกสุดในสกุล Sahelanthropus หรือ Orrorin โดยมีสกุล Ardipithecus ซึ่งเป็นสัตว์สองเท้าที่มีหลักฐานชัดเจนกว่า ตามมาทีหลัง ส่วนลิงกอริลลาและลิงชิมแปนซีแยกออกจากสายพันธุ์ในช่วงเวลาใกล้ ๆ กัน คือลิงกอริลลาเมื่อ และลิงชิมแปนซีเมื่อ โดยอาจจะมี Sahelanthropus เป็นบรรพบุรุษสุดท้ายร่วมกันระหว่างชิมแปนซีและมนุษย์ สัตว์สองเท้ายุคเริ่มต้นเหล่านี้ในที่สุดก็วิวัฒนาการมาเป็นเผ่า hominini เผ่าย่อย Australopithecina (australopithecine ปกติรวมสกุล Australopithecus, Paranthropus, และในบางที่ Ardipithecus) ที่ และหลังจากนั้นจึงเป็นเผ่าย่อย Hominina ซึ่งรวมเอามนุษย์สกุล โฮโม เท่านั้น มนุษย์สกุลโฮโมที่มีหลักฐานยืนยันพวกแรกที่สุดเป็นสปีชีส์ Homo habilis ซึ่งเกิดขึ้นประมาณ โดยเชื่อกันว่า สืบสายพันธุ์มาจาก homonin ในสกุล Australopithecus เป็นสปีชีส์แรก ๆ ที่มีหลักฐานชัดเจนว่าใช้เครื่องมือหิน และการปรับตัวของสายพันธุ์มนุษย์อีกอย่างหนึ่งคือ การขยายขนาดของสมอง (encephalization) ก็ได้เริ่มขึ้นที่มนุษย์ยุคต้นนี้ ซึ่งมีขนาดสมองที่ประมาณ 610 ซม3 คือมีขนาดใหญ่กว่าของลิงชิมแปนซีเล็กน้อย (ระหว่าง 300-500 ซม3) มีนักวิทยาศาสตร์ที่เสนอว่า นี้อยู่ในช่วงเวลาที่ยีนมนุษย์ประเภท SRGAP2 มีจำนวนเป็นสองเท่าเทียบกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ซึ่งทำให้เกิดการพัฒนาของสมองกลีบหน้าได้รวดเร็วกว่าในสัตว์อื่น ๆ ต่อมา มนุษย์สปีชีส์ Homo erectus/ergaster ก็เกิดขึ้นในช่วงประมาณ ที่มีปริมาตรกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าของลิงชิมแปนซีคือ 850 ซม3 การขยายขนาดของสมองเช่นนี้เทียบเท่ากับมีเซลล์ประสาทเพิ่มขึ้น 125,000 เซลล์ทุกชั่วยุคคน สปีชีส์นี้เชื่อว่าเป็นพวกแรก ๆ ที่สามารถควบคุมไฟ และใช้เครื่องมือหินที่มีเทคโนโลยีที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น เป็นมนุษย์สกุล Homo พวกแรกที่อพยพออกไปตั้งถิ่นฐานทั่วทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย และทวีปยุโรป อาจเริ่มตั้งแต่ ดังนั้น การวิวัฒนาการของสายพันธุ์มนุษย์ก่อนหน้านี้ล้วนเป็นไปในแอฟริกาเท่านั้น ส่วนกลุ่มมนุษย์โบราณที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า Archaic humans ก็เกิดวิวัฒนาการขึ้นต่อมาประมาณ 600,000 ปีก่อน สืบสายพันธุ์มาจาก H.

ดู เกาะสุมาตราและวิวัฒนาการของมนุษย์

วงศ์อึ่งกราย

วงศ์อึ่งกราย (Asian toads) เป็นวงศ์ของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ ในอันดับกบ (Anura) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Megophryidae มีลักษณะเด่น คืิอ มีกระดูกสันหลังหน้ากระดูกก้นกบ 8 ปล้อง กระดูกสันหลังมีเซนทรัมเป็นแบบอย่างของแอมฟิซีลัส กระดูกหัวไหล่เป็นแบบอย่างของอาร์กซิฟเอรัล กระดูกแอสทรากาลัสและกระดูกแคลคาเนียมเชื่อมรวมกันเฉพาะส่วนต้นและส่วนปลาย ไม่มีชิ้นกระดูกแทรกระหว่างกระดูกนิ้ว 2 ชิ้นสุดท้าย ผิวหนังลำตัวมีต่อมเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้แล้วหลายชนิดของทั้งตัวผู้และตัวเมียยังมีกลุ่มของต่อมบริเวณขาหนีบและซอกขาหน้า มีขนาดตัวตั้งแต่ 2-12 เซนติเมตร อาศัยอยู่บนพื้นล่างของป่าหรือบริเวณใกล้ลำห้วยหรือลำธาร ส่วนใหญ่มีสีลำตัวกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม วางไข่ในแหล่งน้ำ โดยขณะผสมพันธุ์ตัวผู้จะกอดรัดตัวเมียในตำแหน่งเอว ลูกอ๊อดมีรูปร่างและโครงสร้างของปากแตกต่างกัน บางสกุลมีปากเป็นรูปกรวยและไม่มีจะงอยปาก รวมทั้งไม่มีตุ่มฟัน อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำนิ่ง แต่ขณะที่บางสกุลมีคุณสมบัติแตกต่างจากเหล่านี้สิ้นเชิง และอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำเชี่ยว เป็นต้น แพร่กระจายพันธุ์อยู่เฉพาะทวีปเอเชีย เช่น จีน, ปากีสถาน, อินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, หมู่เกาะฟิลิปปิน และเกาะสุมาตรา ในประเทศไทยพบประมาณ 25 ชน.

ดู เกาะสุมาตราและวงศ์อึ่งกราย

วงศ์นกยาง

นกยาง หรือ นกกระยาง (Heron, Bittern, Egret) เป็นนกวงศ์หนึ่ง ที่อยู่ในอันดับนกกระสา (Ciconiiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Ardeidae มีลักษณะโดยรวม คือ เป็นนกน้ำที่มีทั้งขนาดเล็ก, ขนาดกลาง และขนาดใหญ่มีคอและขายาว มักพบเดินท่องน้ำหากินหรือยืนนิ่งบนกอหญ้าหรือพืชน้ำ คอยใช้ปากแหลมยาวจับสัตว์น้ำเล็ก ๆ หรือแมลงบนพื้นเป็นอาหาร ขณะบินจะพับหัวและคอแนบลำตัว เหยียดขาไปข้างหลัง ทำรังรวมกันอยู่เป็นกลุ่มใหญ่บนต้นไม้ ใช้กิ่งไม้สานกันอย่างหยาบ ๆ พบทั้งหมด 61 ชนิดทั่วโลก พบในประเทศไทย 20 ชนิด หากินในเวลากลางวัน.

ดู เกาะสุมาตราและวงศ์นกยาง

วงศ์นกโพระดก

นกโพระดก เป็นนกขนาดกลาง อยู่ในวงศ์ Megalaimidae (บางข้อมูลจัดให้อยู่ในวงศ์ Ramphastidae หรือนกทูแคน ที่พบในอเมริกาใต้ โดยจัดให้เป็นวงศ์ย่อย Megalaiminae) จัดอยู่ในอันดับนกหัวขวานและนกโพระดก (Piciformes) มีลักษณะจะงอยปากหนาใหญ่ และมีขนที่โคนปาก ร้องเสียงดัง ได้ยินไปไกล ลำตัวอ้วนป้อม ส่วนหัวมีขนาดใหญ่ มีสีสันสวยงาม มีทั้งหมด 26 ชนิด พบทั่วไปในทวีปเอเชียตั้งแต่ทิเบต จนถึงอินโดนีเซีย พบมากในคาบสมุทรมลายู และเกาะสุมาตรา ทำรังในโพรงไม้ ด้วยการเจาะไม้ให้เป็นรูเหมือนกับนกหัวขวาน ซึ่งเป็นนกในอันดับเดียวกัน แต่โพรงของนกโพระดกจะมีขนาดพอดีตัวทำให้การเข้าออกรังบางทีทำได้ไม่คล่องเท่านกหัวขวาน วางไข่ครั้งละ 2-4 ฟอง ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 13-15 วัน เป็นนกที่กินผลไม้เช่น ลูกโพ, ลูกมะเดื่อฝรั่ง และแมลง เป็นอาหาร สำหรับนกในวงศ์นี้ที่พบในประเทศไทยมีทั้งหมด 15 ชนิด ได้แก่Short, L.

ดู เกาะสุมาตราและวงศ์นกโพระดก

วงศ์เขียดงู

วงศ์เขียดงู (Asiatic tailed caecilian, Fish caecilian; วงศ์: Ichthyophiidae) เป็นวงศ์ของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในอันดับ Gymnophiona ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ichthyophiidae มีลักษณะโดยรวม คือ มีกระดูกกะโหลกเชื่อมรวมกันมากขึ้นและไม่มีปล้องลำตัวจำนวนมากและเป็นลักษณะเด่น ประกอบด้วยปล้องลำตัวปฐมภูมิ ปล้องลำตัวทุติยภูมิ และปล้องลำตัวตติยภูมิ มีเกล็ดอยู่ในร่องปล้องลำตัวส่วนมาก ตาอยู่ในร่องของกระดูกใต้ผิวหนังแต่มองเห็นได้ชัดเจน ปากอยู่ที่ปลายสุดของหัวหรือต่ำลงมาเล็กน้อย ช่องเปิดของหนวดอยู่ระหว่างตากับช่องเปิดจมูกแต่อยู่ใกล้กับตามากกว่า ส่วนหางมีลักษณะคล้ายกับเขียดงูในวงศ์ Rhinatrematidae ที่พบในอเมริกาใต้ มีความยาวเฉลี่ยประมาณ 20-30 เซนติเมตร แต่บางชนิด เช่น Caudacaecilia nigroflava และIchthyophis glutinosus มีความยาวลำตัวประมาณ 40-50 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในโพรงดิน ตัวเมียวางไข่ในโพรงดินใกล้กับแหล่งน้ำและเฝ้าดูแลไข่จนกระทั่งตัวอ่อนออกจากไข่ ตัวอ่อนเมื่อออกจากไข่แล้วจะลงสู่แหล่งน้ำและอาศัยอยู่ในน้ำในช่วงต้นของวงจรชีวิต แบ่งออกได้เป็น 2 สกุล พบราว 37 ชนิด พบกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย เช่น อินเดีย, ศรีลังกา, เอเชียอาคเนย์, ฟิลิปปิน, มาเลเซีย, บอร์เนียว, สุมาตรา เป็นต้น ในประเทศไทยล้วนแต่พบเฉพาะในวงศ์นี้ราว 7 ชนิด เช่น เขียดงูดำ (Caudacaecilia larutensis), เขียดงูเกาะเต่า (Ichthyophis kohtaoensis), เขียดงูดอยสุเทพ (I.

ดู เกาะสุมาตราและวงศ์เขียดงู

วงแหวนไฟ

แผนที่วงแหวนไฟ การปะทุของภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 วงแหวนไฟ (Ring of Fire) เป็นบริเวณในมหาสมุทรแปซิฟิกที่เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดบ่อยครั้ง มีลักษณะเป็นเส้นเกือกม้า ความยาวรวมประมาณ 40,000 กิโลเมตร และวางตัวตามแนวร่องสมุทร แนวภูเขาไฟและบริเวณขอบแผ่นเปลือกโลก โดยมีภูเขาไฟที่ตั้งอยู่ภายในวงแหวนไฟทั้งหมด 452 ลูก และเป็นพื้นที่ที่มีภูเขาไฟคุกกรุ่นอยู่กว่าร้อยละ 75 ของภูเขาไฟคุกรุ่นทั้งโลก ซึ่งบางครั้งจะเรียกว่า circum-Pacific belt หรือ circum-Pacific seismic belt แผ่นดินไหวประมาณร้อยละ 90 ของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นทั่วโลกและกว่าร้อยละ 80 ของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ เกิดขึ้นในบริเวณวงแหวนไฟ นอกจากวงแหวนไฟ ยังมีแนวแผ่นดินไหวอีก 2 แห่ง ได้แก่ แนวเทือกเขาอัลไพน์ ซึ่งมีแนวต่อมาจากเกาะชวาสู่เกาะสุมาตรา ผ่านเทือกเขาหิมาลัย และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แนวแผ่นดินไหวแห่งนี้มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 17 ของทั้งโลก และอีกแห่งคือ แนวกลางมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 5-6 ของทั้งโลก วงแหวนไฟเป็นผลมาจากการเคลื่อนที่และการชนกันของแผ่นเปลือกโลก แบ่งเป็นส่วนวงแหวนทางตะวันออก มีผลมาจากแผ่นนัซกาและแผ่นโกโกส ที่มุดตัวลงใต้แผ่นอเมริกาใต้ ส่วนของแผ่นแปซิฟิกที่ติดกับแผ่นฮวนเดฟูกา ซึ่งมุดตัวลงแผ่นอเมริกาเหนือ ส่วนทางตอนเหนือที่ติดกับทางตะวันตกเฉียงเหนือของแผ่นแปซิฟิก มุดตัวลงใต้บริเวณหมู่เกาะอะลูเชียนจนถึงทางใต้ของประเทศญี่ปุ่น และส่วนใต้ของวงแหวนไฟเป็นส่วนที่มีความซับซ้อนของแผ่นเปลือกโลก มีแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กมากมายที่ติดกับแผ่นแปซิฟิก ซึ่งเริ่มตั้งแต่หมู่เกาะมาเรียนา ประเทศฟิลิปปินส์ เกาะบูเกนวิลล์ ประเทศตองกา และประเทศนิวซีแลนด์ แนววงแหวนไฟยังมีแนวต่อไปเป็นแนวแอลไพน์ ซึ่งเริ่มต้นจากเกาะชวา เกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย รอยเลื่อนที่มีชื่อเสียงที่ตั้งบนวงแหวนไฟนี้ ได้แก่ รอยเลื่อนแซนแอนเดรอัสในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีการเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กอยู่เป็นประจำ รอยเลื่อนควีนชาร์ลอตต์ ทางชายฝั่งตะวันตกของหมู่เกาะควีนชาร์ลอตต์ รัฐบริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา ซึ่งทำให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 3 ครั้ง ได้แก่ แผ่นดินไหวแมกนิจูด 7.0 เมื่อ..

ดู เกาะสุมาตราและวงแหวนไฟ

ศาสนาพุทธในประเทศอินโดนีเซีย

ประชากรของประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบันส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม แต่อดีตเคยมีพระพุทธศาสนาแบบมหายานเข้ามาประดิษฐานอยู่ พระพุทธศาสนาได้รุ่งเรืองมาก ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 มีโบราณสถานที่สำคัญ 2 แห่งอยู่ในอินโดนีเซียคือ บรมพุทโธ (โบโรบุดูร์) ตั้งอยู่ที่ราบเกฑุ (kedu) ในภาคกลางของชวา ห่างจากเมืองยอกจาการ์ตา (Jogjagata) ในปัจจุบันทางเหนือประมาณ 40 กิโลเมตร และพระวิหารเมนดุต (Mendut) ซึ่งอยู่ห่างจาก โบโรบุดูร์ไปทางทิศตะวันออก 3 กิโลเมตร ต่อมาเมื่ออิสลามได้ขยายอำนาจครอบงำอินโดนีเซียในปี..

ดู เกาะสุมาตราและศาสนาพุทธในประเทศอินโดนีเซีย

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ดู เกาะสุมาตราและศาสนาพุทธในประเทศไทย

ศาสนาฮินดูแบบบาหลี

ตรีบาหลีขณะประกอบพิธีกรรมทางศาสนาที่อูบุดก่อนถวายของบูชาแด่เทพเจ้า ปัทมาสน์ที่ประทับของอจินไตย ศาสนาฮินดูแบบบาหลี (Agama Hindu Dharma) หรือ ลัทธิวารีศักดิ์สิทธิ์ (Agama Tirtha) เป็นศาสนาฮินดูรูปแบบหนึ่งที่ปฏิบัติในกลุ่มชาวบาหลีบนเกาะบาหลีในประเทศอินโดนีเซีย อันมีความแตกต่างจากศาสนาฮินดูสายหลักคือมีการสักการะผีพื้นเมือง บูชาผีบรรพบุรุษ และเคารพพระโพธิสัตว์ซึ่งเป็นของคติทางศาสนาพุทธด้วย แม้ว่าประชากรส่วนใหญ่ของประเทศอินโดนีเซียจะนับถือศาสนาอิสลามและคริสต์ แต่ชาวบาหลียุคปัจจุบันยังคงยึดมั่นในหลักธรรมของตนและยังประกอบพิธีกรรมทางศาสนาอย่างฮินดูอยู.

ดู เกาะสุมาตราและศาสนาฮินดูแบบบาหลี

สกุลมะม่วง

Mangifera เป็นสกุลของพืชใบเลี้ยงคู้ในวงศ์ Anacardiaceae ประกอบด้วย 69 สปีชีส์ ที่รู้จักกันดีได้แก่ มะม่วง (Mangifera indica) ซึงมีการแพร่กระจายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยแหล่งที่หลากหลายที่สุดอยู่ที่คาบสมุทรมลายู เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตร.

ดู เกาะสุมาตราและสกุลมะม่วง

สกุลมะเม่า

Antidesma เป็นสกุลของพืชเขตร้อนในวงศ์ เป็นพืชที่มีความสูงได้หลากหลาย มีทั้งต้นเตี้ยและต้นสูง ช่อดอกเป็นช่อยาว และเมื่อติดผลจะเป็นช่อยาวด้วย ผลกลม ขนาดเล็ก มักมีรสเปรี้ยวเมื่อดิบ สุกแล้วเป็นสีแดงแล้วกลายเป็นดำ รสจะหวานขึ้น Antidesma เป็นสกุลของพืชพื้นเมืองในเขตร้อนของโลกเก่า มีประมาณ 100 สปีชีส์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยมี 18 สปีชี.

ดู เกาะสุมาตราและสกุลมะเม่า

สกุลหวายกุ้งน้ำพราย

กุลหวายกุ้งน้ำพราย หรือPlectocomiopsis เป็นสกุลของพืชในวงศ์ปาล์มที่แยกต้นตัวผู้และต้นตัวเมีย พบในไทย มาเลเซีย เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา จัดเป็นหวายชนิดปีนป่าย ใกล้เคียงกับหวายในสกุล Myrialepis Uhl, Natalie W.

ดู เกาะสุมาตราและสกุลหวายกุ้งน้ำพราย

สกุลเอื้องหมายนา

กุลเอื้องหมายนา หรือ Costus เป็นสกุลของไม้ล้มลุกอายุหลายปีอยู่ในวงศ์ Costaceae ซึ่งตั้งชื่อโดยลินเนียสใน..

ดู เกาะสุมาตราและสกุลเอื้องหมายนา

สมเสร็จมลายู

มเสร็จมลายู หรือ สมเสร็จเอเชีย (Malayan tapir, Asian tapir) บ้างเรียก ผสมเสร็.

ดู เกาะสุมาตราและสมเสร็จมลายู

สะเต๊ะ

ต๊ะไก่ในมาเลเซีย สะเต๊ะ (satay, saté) เป็นอาหารอย่างหนึ่งซึ่งทำจากเนื้อที่หั่นบางๆ หรือหั่นเป็นก้อน อาจจะเป็นเนื้อหมู เนื้อไก่ เนื้อวัว เนื้อแกะ เนื้อแพะ เนื้อปลา ฯลฯ เสียบด้วยไม้เสียบที่ทำจากไม้ไผ่ แล้วนำไปย่างบนเตาฟืนหรือเตาถ่าน เสิร์ฟพร้อมเครื่องปรุงรส ที่มีรสจัด (ซึ่งแตกต่างกันออกไปในแต่ละตำรับ) สะเต๊ะมีจุดกำเนิดมาจากเกาะชวาหรือเกาะสุมาตราในประเทศอินโดนีเซีย แต่ก็ยังได้รับความนิยมในประเทศอื่นๆ ด้วย เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ รวมทั้งประเทศไทย หรือแม้แต่เนเธอร์แลนด์ซึ่งรับเอาวัฒนธรรมไปกับอาณานิคมของตน คำว่า "สะเต๊ะ" เชื่อว่ามีที่มาจากประเทศจีนในอดีต โดยมาจากภาษาหมิ่นใต้คำว่า "แซบัก" (จีน: 三疊肉; พินอิน: sae bak) หมายถึง "เนื้อสามชิ้น" อย่างไรก็ตามนักวิชาการร่วมสมัยกล่าวว่าคำว่า "สะเต๊ะ" ในภาษาอังกฤษมาจากภาษาอินโดนีเซีย: "ซาเต" (sate) และภาษามลายู: "ซาเต" (saté) หรือ "ซาไท" (satai) ทั้งสองอย่างอาจจะมีที่มาจากภาษาทมิฬ สะเต๊ะของอินโดนีเซียอาจได้รับอิทธิพลจากคาบับที่เป็นอาหารพื้นเมืองของอินเดียภาคเหนือ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากชาวเตอร์กอีกต่อหนึ่ง ตำรับดั้งเดิมของชาวตุรกีเป็นเนื้อแพะหั่นเป็นชิ้นหมักแล้วเสียบเหล็กแหลมย่างไฟ ชาวเปอร์เซียและชาวอินเดียรับมาดัดแปลง อาจใช้เนื้อบดหรือเนื้อทั้งชิ้น จะเสียบหรือไม่เสียบไม้ก็ได้ เมื่อแพร่หลายมาถึงมลายู-ชวาจึงกลายเป็นสะเต๊ะอย่างที่เห็นในปัจจุบัน โดยร้านขายหมูสะเต๊ะร้านแรกในประเทศไทย คือ ร้านจึงอังลัก ย่านเยาวราช ข้างโรงภาพยนตร์เฉลิมบุรี ปัจจุบันได้ย้ายร้านไปที่ย่านถนนพระราม 4 เขตปทุมวัน.

ดู เกาะสุมาตราและสะเต๊ะ

สาธารณรัฐหลานฟาง

รณรัฐหลานฟาง (Lanfang Republic; ภาษาจีน: 蘭芳共和國; พินยิน: Lánfāng Gònghéguó; Pe̍h-ōe-jī: Lân-phang Kiōng-hô-kok) เป็นรัฐของชาวจีนที่ใช้ระบบกงสีในกาลีมันตันตะวันตก ประเทศอินโดนีเซีย ก่อตั้งโดยชาวจีนฮากกาชื่อหลัว ฟางปั๋ว (羅芳伯) เมื่อ..

ดู เกาะสุมาตราและสาธารณรัฐหลานฟาง

สถานีรถไฟจาการ์ตาโกตา

นีรถไฟจาการ์ตาโกตา (ตัวย่อ: JAKK) หรือชื่อเดิม บาตาวียาเซยด์ (บาตาเวียใต้) เป็นสถานีรถไฟปลายทางในเขตเมืองเก่าของจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย สถานีรถไฟแห่งนี้รู้จักกันดีในชื่อ สถานีเบโอส ซึ่งย่อมาจากชื่อ บาตาวียัสเคอ โอสเตอร์ สโปร์เวค มาตสคาไป หรือบริษัทรถไฟบาตาเวียตะวันออก สถานีรถไฟจาการ์ตาโกตาทำหน้าที่เป็นสถานีรถไฟแห่งหลักของจาการ์ตาร่วมกับสถานีรถไฟกัมบีร์ สถานีรถไฟจาตีเนอการา และสถานีรถไฟปาซาร์เซอเน็น รองรับรถไฟระหว่างเมืองบนเกาะชวา และรถไฟฟ้าชานเมืองอีก 3.

ดู เกาะสุมาตราและสถานีรถไฟจาการ์ตาโกตา

สงครามอาเจะฮ์

งครามอาเจะฮ์ (Aceh war) หรือ สงครามบันดาอาเจะฮ์ เป็นสงครามระหว่างรัฐสุลต่านอาเจะฮ์ในสุมาตราเหนือกับเนเธอร์แลนด์ ในสมัยที่อาเจะฮ์ยังเป็นรัฐอิสระ สงครามเริ่มขึ้นใน..

ดู เกาะสุมาตราและสงครามอาเจะฮ์

สงครามแปซิฟิก

งครามแปซิฟิก (Pacific War) หรือ สงครามมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia War; 大東亜戦争, Dai Tō-A Sensō) เป็นเขตสงครามหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง สู้รบกันในมหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกเป็นหลัก มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าสงครามแปซิฟิกเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 หรือ 8 ธันวาคม 1941 เมื่อญี่ปุ่นบุกครองประเทศไทยและโจมตีอาณานิคมของบริติช ได้แก่ มาลายา สิงคโปร์และฮ่องกง ตลอดจนฐานทัพสหรัฐในหมู่เกาะฮาวาย หมู่เกาะเวก เกาะกวมและฟิลิปปินส์ ทว่า สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและสาธารณรัฐจีนมีมาต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 1937 โดยมีความเป็นปรปักษ์ย้อนหลังไปถึงวันที่ 19 กันยายน 1931 เมื่อประเทศญี่ปุ่นบุกครองแมนจูเรีย จักรวรรดิญี่ปุ่นเริ่มนโยบายชาตินิยมโดยใช้คำขวัญที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asiatics) วันที่ 3 พฤศจิกายน..

ดู เกาะสุมาตราและสงครามแปซิฟิก

สนามกีฬาจากาบาริง

นามกีฬาจากาบาริงตั้งอยู่ที่เมืองปาเลมบัง ทางตอนใต้ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย เริ่มก่อสร้างในปี..

ดู เกาะสุมาตราและสนามกีฬาจากาบาริง

ส้มม่วงคัน

้มม่วงคัน เป็นพืชในวงศ์ Anacardiaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบเหนียวคล้ายหนัง ดอกช่อ สีขาวหรือขาวแกมเขียว ผลรูปกลมป้อม เปลือกสีม่วงเข้ม เนื้อผลสีเหลืองมีเส้นใยมาก เป็นไม้พื้นเมืองในเกาะบอร์เนียว สุมาตรา สิงคโปร์ และคาบสมุทรมลายู ผลมีรสหวานอมเปรี้ยว เนื้อผลหนาเพียง 1 เซนติเมตร เมล็ดมีเส้นใยมาก.

ดู เกาะสุมาตราและส้มม่วงคัน

หมาไม้

หมาไม้ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่งในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีรูปร่างคล้ายพญากระรอกดำ (Ratufa bicolor) มีลักษณะเด่นคือ ตั้งแต่ใต้คอลงไปถึงหน้าอกมีสีเหลือง ส่วนหัวด้านบนมีสีดำ ขาสั้นเมื่อเทียบกับขนาดตัว ตัวผู้มีฟันเขี้ยวขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย หางยาวพอ ๆ กับความยาวลำตัว หมาไม้ชนิดย่อยที่อาศัยอยู่ทางภาคเหนือของทวีปเอเชียจะมีขนาดใหญ่กว่าชนิดที่อาศัยอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร มีความยาวลำตัวและหัว 45–60 เซนติเมตร ความยาวหาง 38–43 เซนติเมตร น้ำหนัก 2–3 กิโลกรัม หมาไม้เป็นสัตว์ที่มีกลิ่นตัวแรงมาก มีความคล่องแคล่วปราดเปรียวมาก สามารถหากินได้ทั้งบนต้นไม้และพื้นดิน กินอาหารได้หลากหลายประเภททั้งพืชและสัตว์ ทั้งสัตว์ฟันแทะ, แมลง, สัตว์เลื้อยคลาน, นก หรือ ไข่นก บางครั้งอาจเข้ามาหาอาหารที่นักท่องเที่ยวป่าทิ้งไว้ตามเต๊นท์ นอกจากนี้ยังสามารถกินผึ้งและน้ำผึ้งเหมือนหมีได้อีกด้วย มักหากินในเวลากลางวัน แต่บางครั้งอาจหากินในเวลากลางคืน มักจะหากินแต่เพียงลำพังหรือเป็นคู่ไม่มากกว่านั้น หมาไม้ตัวเมียจะตั้งท้องนาน 220–290 วัน ออกลูกครั้งละ 3–5 ตัว อายุขัยในสถานที่เลี้ยงประมาณ 14 ปี เป็นสัตว์ที่มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทางตะวันออกของอัฟกานิสถาน, ภาคเหนือของปากีสถาน, รัฐแคชเมียร์และรัฐอัสสัมของอินเดีย, ภาคเหนือของพม่า, ภาคใต้และภาคตะวันออกของจีน, ไต้หวัน, ไทย, ลาว, ตอนเหนือของกัมพูชา, ภาคเหนือและภาคกลางของเวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว สถานะของหมาไม้ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ดู เกาะสุมาตราและหมาไม้

หมูหริ่ง

หมูหริ่ง, หมูหรึ่ง หรือ หมูดิน (hog badger, Indian badger) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดกลางชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Arctonyx collaris อยู่ในวงศ์ Mustelidae อันเป็นวงศ์เดียวกับเพียงพอนหรือวีเซล โดยที่หมูหริ่งอยู่ในสกุล Arctonyx นับเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุลนี้.

ดู เกาะสุมาตราและหมูหริ่ง

หมู่เกาะบังกา-เบอลีตุง

หมู่เกาะบังกา-เบอลีตุง (อินโดนีเซีย: Kepulauan Bangka Belitung) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศอินโดนีเซีย และเคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดสุมาตราใต้ ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะสุมาตรา ประกอบด้วยเกาะหลักสองแห่ง ได้แก่ เกาะบังกา และเกาะเบอลีตุง ซึ่งคั่นด้วยช่องแคบกัสปาร์ จังหวัดนี้ถูกแยกจากเกาะสุมาตราโดยช่องแคบบังกา จังหวัดนี้ติดกับทะเลนาตูนาทางทิศเหนือ ติดกับทะเลชวาทางทิศใต้ ติดกับช่องแคบการีมาตาทางทิศตะวันออก และติดกับจังหวัดสุมาตราใต้ทางทิศตะวันตก เมืองหลักคือปังกัลปีนัง ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการปกครอง เมืองอื่น ๆ ที่สำคัญ ได้แก่ ซุงไกลีอัต ตันจงปันดัน และมังการ์ สำหรับในปี..

ดู เกาะสุมาตราและหมู่เกาะบังกา-เบอลีตุง

หมู่เกาะลิงกา

หมู่เกาะลิงกา (Lingga Islands; Kepulauan Lingga) เป็นกลุ่มเกาะที่ตั้งอยู่ในประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ทางใต้ของสิงคโปร์และทางตะวันออกของจังหวัดหมู่เกาะเรียวของเกาะสุมาตรา หมู่เกาะลิงกามีการปกครองแบบผู้สำเร็จราชการ มีพื้นที่การปกครองทั้งหมด 2,205.95 ตารางกิโลเมตร จากการสำรวจสำมะโนครัวประชากรในปี 2010 มีประชากร 86,150 คน เมืองเอกชื่อเมืองดายิก์ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวมลายู, บูกิส และจีน (โดยเฉพาะแคะ, แต้จิ๋ว และฮกเกี้ยน).

ดู เกาะสุมาตราและหมู่เกาะลิงกา

หมู่เกาะซุนดา

กลุ่มเกาะมลายู หมู่เกาะซุนดา (Sunda Islands) เป็นกลุ่มของเกาะในส่วนตะวันตกของกลุ่มเกาะมลายู.

ดู เกาะสุมาตราและหมู่เกาะซุนดา

หมู่เกาะนิโคบาร์

แผนที่หมู่เกาะนิโคบาร์ หมู่เกาะนิโคบาร์ (Nicobar Islands) ปรากฏในแผนที่โบราณสมัยกรุงศรีอยุธยาและต้นกรุงรัตนโกสินทร์ว่า นาควารีเกาะคนเปลือย เป็นหมู่เกาะทางตะวันออกของมหาสมุทรอินเดีย ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเขตปกครองพิเศษอาเจะห์และเกาะสุมาตรา ราว 150 กม.

ดู เกาะสุมาตราและหมู่เกาะนิโคบาร์

หมู่เกาะเรียว

หมู่เกาะเรียว (Kepulauan Riau) เป็นหมู่เกาะแห่งหนึ่งในเกาะสุมาตรา ซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 6 ของโลกและเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในประเทศอินโดนีเซีย และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะมลายู อยู่ทางตอนใต้ของประเทศสิงคโปร์ ทางตะวันออกของหมู่เกาะนี้คือมหาสมุทรอินเดีย และมีเมืองหลวงชื่อตันจุงปีนัง.

ดู เกาะสุมาตราและหมู่เกาะเรียว

หมีหมา

หมีหมา หรือ หมีคน (Malayan sun bear, Honey bear;; อีสาน: เหมือย).

ดู เกาะสุมาตราและหมีหมา

หมีขอ

หมีขอ หรือ บินตุรง หรือ หมีกระรอก (Binturong, Bearcat;; อีสาน: เหง็นหางขอ, เหง็นหมี) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม แม้จะมีหน้าตาคล้ายหมีจนได้ชื่อว่าหมี แต่เป็นสัตว์จำพวกชะมดและอีเห็น (Viverridae) ที่ใหญ่ที่สุด จัดเป็นสัตว์เพียงชนิดเดียวในสกุล Arctictis มีหางยาวเป็นพวงคล้ายกระรอก ขนตามลำตัวค่อนข้างยาวสีดำและหยาบ สีขนบริเวณหัวอาจมีสีเทา หูกลม บริเวณขอบหูมีสีขาว หางที่ยาวสามารถใช้เกาะเกี่ยวต้นไม้ได้เป็นอย่างดี มีความยาวลำตัวและหัว 61-96.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 50-84 เซนติเมตร น้ำหนัก 9-20 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ภูฐาน, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย ภาคตะวันตกของพม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, พรมแดนระหว่างเวียดนามติดกับลาวและกัมพูชา, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียวในอินโดนีเซีย และเกาะปาลาวันในฟิลิปปินส์ หมีขอเป็นสัตว์หากินในเวลากลางคืน อาศัยและหากินตามลำพัง แต่ในบางครั้งอาจอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ประกอบไปด้วย แม่และลูก ในเวลากลางวันจะอาศัยโพรงไม้เป็นที่หลับนอน อาหารได้แก่ ผลไม้และสัตว์ที่มีขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ บนต้นไม้ทั้งแมลงและสัตว์เลื้อยคลาน ปีนต้นไม้ได้เก่งมาก โดยใช้หางที่ยาวเกาะเกี่ยวกิ่งไม้จากต้นหนึ่งไปยังอีกต้นหนึ่ง นอกจากนี้ยังสามารถว่ายน้ำได้อีกด้วย มีการผสมพันธุ์กันได้ตลอดทั้งปี ใช้เวลาตั้งท้องนาน 92 วัน ออกลูกครั้งละ 1-3 ตัว หมีขอตัวเมียจะมีเต้านมทั้งหมด 2 คู่ ลูกที่เกิดใหม่ยังไม่สามารถขาและหางเกี่ยวกิ่งไม้ได้ชำนาญเหมือนตัวพ่อแม่ หมีขอเป็นสัตว์ที่เลี้ยงตั้งแต่เล็กแล้วจะเชื่อง จนสามารถนำมาฝึกให้แสดงโชว์ต่าง ๆ ได้ตามสวนสัตว์ สถานะปัจจุบันเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 2 ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ดู เกาะสุมาตราและหมีขอ

หม้อข้าวหม้อแกงลิง

ทความนี้เป็นบทความสำหรับชื่อวงศ์ และสกุล หม้อข้าวหม้อแกงลิง (nepenthes; ชื่อสามัญ: tropical pitcher plants หรือ monkey cups) (nə'pεnθiːz / มาจากภาษากรีก: ne.

ดู เกาะสุมาตราและหม้อข้าวหม้อแกงลิง

หม้อแกงลิง

หม้อแกงลิง (Nepenthes ampullaria) (มาจากภาษาละติน: ampulla.

ดู เกาะสุมาตราและหม้อแกงลิง

หลังกับ

หลังกับ เป็นพืชในวงศ์ปาล์ม ในอินโดนีเซียเรียกลังกับ ในมาเลเซียเรียกรังกับหรือปังกับ เป็นปาล์มกอ ออกดอกได้ตลอดปี ไม่ตายหลังออกดอก มีไหลในส่วนโคนต้น ใบประกอบขนนก ใบย่อยประมาณ 8 ใบ ขอบใบเป็นรอยแหว่งห่าง ๆ ดอกช่อ ช่อดอกเพศผู้เหมือนช่อดอกตัวเมีย ผลกลมรี รูปไข่ สีแดงเข้ม กระจายพันธุ์ในไทย กัมพูชา มาเลเซีย เกาะสุมาตรา และเกาะชวา สามารถปาดช่อดอกเพื่อเก็บน้ำหวานมาผลิตน้ำตาลได้ โดยปาดช่อดอกตัวผู้ ยอดอ่อนรับประทานได้ ใบใช้มุงหลังคา ทำเครื่องจักสาน ผลเป็นพิษ เปลือกผลมีแคลเซียมออกซาเลต ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับได้.

ดู เกาะสุมาตราและหลังกับ

หวายชุมพร

หวายชุมพร เป็นหวายชนิดหนึ่งที่เป็นพืชพื้นเมืองในอินเดีย รัฐอัสสัม บังกลาเทศ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม เกาะชวา และเกาะสุมาตรา ชอบขึ้นในเขตร้อนที่เป็นพื้นที่ลุ่มต่ำหรือบนภูเขาที่มีความชื้นสูง เป็นพืชใกล้สูญพัน.

ดู เกาะสุมาตราและหวายชุมพร

หวายช้าง

หวายช้าง เป็นหวายกอขนาดใหญ่ แยกเพศ ส่วนข้อโป่งพอง ใบขนาดใหญ่ กาบหุ้มลำสีเขียวอ่อนถึงเขียวเข้ม มีหนามขนาดใหญ่ สีดำ โคนหนามสีเหลือง ปลายหนามชี้ขึ้นด้านบน โคนก้านใบบวมพองชัดเจน หูใบสั้น ขาดเป็นริ้ว ๆ มือเกี่ยวขนาดใหญ่สีเขียวเข้ม ดอกช่อ ผลกลมรี เปลือกผลเป็นเกล็ดสีน้ำตาลอมเหลืองไปจนถึงสีเกือบดำกระจายพันธุ์ทางภาคใต้ของไทย ไปจนถึงเกาะสุมาตรา ซูลาเวซี บอร์เนียวไปจนถึงฟิลิปปินส์ ใช้ทำเครื่องเรือนและของใช้ต่าง ๆ ในฟิลิปปินส์รับประทานผล ในซาราวะก์เชื่อว่าพืชชนิดนี้เป็นยา น้ำคั้นจากยอดอ่อนรักษาอาการท้องเสียได้.

ดู เกาะสุมาตราและหวายช้าง

หวายกุ้ง

หวายกุ้ง เป็นหวายกอขนาดใหญ่เป็นพุ่มหนาม มีมือเกาะ หนามบนกาบหุ้มลำที่ยังอ่อนเรียงตัวเป็นวง หนามแหลมโค้งงอ ต้องการแสงแดดจัดในการเจริญเติบโต พบในสุมาตรา สิงคโปร์ คาบสมุทรมลายู ไทย ไปจนถึงพม่า กัมพูชาและเวียดนาม ใช้สานตะกร้าแบบห.

ดู เกาะสุมาตราและหวายกุ้ง

หวายกุ้งน้ำพราย

หวายกุ้งน้ำพราย เป็นหวายกอขนาดใหญ่ ออกดอกครั้งเดียวแล้วตาย กาบหุ้มลำเมื่อสดมีสีเขียวอ่อนมีขุยสีน้ำตาล และมีสีน้ำตาลมีขุยสีเทาเมื่อแห้ง หนามขนาดใหญ่ค่อนข้างแน่น ผลกลมเมื่อแห้งมีสีน้ำตาลแดง ขอบเกล็ดหุ้มผลสีดำสลับกับริ้วสีเหลือง กระจายพันธุ์ในบอร์เนียว สุมาตรา คาบสมุทรมลายู ไปจนถึงภาคใต้ของไทย ใช้ผูกมัดหรือสานตะกร้าแบบหยาบๆ ใช้สานเครื่องมือดักปลาหรือกรงไก่ ยอดรับประทานได้และมีจำหน่ายในท้องตลาดในซาราวะก์ แต่ชนพื้นเมืองในคาบสมุทรมลายูเชื่อว่ามีพิษ.

ดู เกาะสุมาตราและหวายกุ้งน้ำพราย

หวายมน

หวายมนหรือหวายส้ม หวายสามใบเถา เป็นหวายกอ ใบมีหลายแบบ มีมือเกี่ยวยาว กระจายพันธุ์ในไทย กัมพูชา คาบสมุทรมลายู เกาะสุมาตราและเกาะบาหลี ใช้จัดสานตะกร้าและทอเสื่อ.

ดู เกาะสุมาตราและหวายมน

หวายหิน

หวายหิน เป็นหวายกอ ลำต้นเรียวเล็ก ปีนป่ายได้สูง ลำต้นสีเขียวอ่อนเป็นมัน กาบหุ้มลำมีสีเขียวเมื่อสด สีเทาแกมน้ำตาลเมื่อแห้ง มีหนามรูปเล็บเหยี่ยวขนาดเล็ก ฐานเป็นปุ่มนูนขึ้นเป็นสันกลม มีสีเหลืองปลายหนามชี้ขึ้น ผลรูปไข่ ปลายยังคงมีส่วนปลายของเกสรตัวเมียยื่นออกเล็กน้อย พบในสุมาตรา มาเลเซีย สิงคโปร์และไทย ใช้ทำหวายเส้นเพื่อจักสานงานที่ต้องการความละเอียด ชาวทีมวนในมาเลเซียใช้มัดของ นำกาบหุ้มที่มีหนามมาใช้ขูดเนื้อมันสำปะหลังเป็นเส้นๆ หรือใช้สีเมล็ดข้าวโพดออกจากฝัก.

ดู เกาะสุมาตราและหวายหิน

หวายจาก

หวายจาก เป็นหวายกอขนาดใหญ่ ลำต้นปีนป่ายไปได้สูงถึง 20 เมตร กระจายพันธุ์ในแถบสุมาตรา สิงคโปร์ คาบสมุทรมลายู และไทย ใบใช้มุงหลังคา ก้านใบใช้ทำเบ็ดตกปลา ชนพื้นเมืองในคาบสมุทรมลายูใช้เปลือกนอกของก้านใบสานตะกร้าและกระด้ง.

ดู เกาะสุมาตราและหวายจาก

หวายจากจำ

หวายจากจำ เป็นหวายกอเจริญเป็นพุ่ม ออกดอกแล้วตาย เกือบจะไม่มีลำต้น ไม่ปีนป่ายบนต้นไม้อื่น ใบใช้มุงหลังคา เปลือกนอกของก้านใบใช้สานตะกร้า พบทั่วไปในคาบสมุทรมลายู และตอนเหนือของเกาะสุมาตร.

ดู เกาะสุมาตราและหวายจากจำ

หวายจากเขา

หวายจากเขาหรือหวายเขา เป็นหวายกอ เจริญบนพื้นล่าง ไม่พุ่งขึ้นไปด้านบน ไม่มีมือเกาะ กาบหุ้มลำมีหนามแหลมปกคลุม โคนหนามสีเทาแกมเหลือง ใบย่อยมีผงรังแคสีเทาปกคลุมด้านล่าง พบในภาคใต้ของไทย มาเลเซีย และตอนเหนือของสุมาตรา ใช้มุงหลังคา ในมาเลเซียใช้ผลอ่อนแก้ไอ.

ดู เกาะสุมาตราและหวายจากเขา

หวายทราย

หวายทราย เป็นหวายกอลำต้นขนาดเล็ก เกือบทุกส่วนมีสีดำ กาบหุ้มลำเมื่อสดมีสีเขียวออกเหลือง และมีสีน้ำตาลออกเขียวค่อนข้างดำเมื่อแห้ง หนามรูปสามเหลี่ยมฐานโค้งคว่ำ มีหนามขนาดเล็กกว่าแทรกอยู่สม่ำเสมอ หนามเป็นมันมีสีอ่อนกว่ากาบหุ้มลำ สันหนามตอนโคนมีรอยแตก ผลกลม มีสีเหลืองออกน้ำตาล ปลายแหลม สันเกล็ดเป็นร่อง พบในสุมาตรา มาเลเซียและไทย ใช้ทำหวายซีกเพื่อใช้ในการผูกมั.

ดู เกาะสุมาตราและหวายทราย

หวายขี้ผึ้ง

หวายขี้ผึ้งหรือหวายขนุน เป็นหวายกอ มีมือเกี่ยว ปลายใบย่อยเป็นรูปสามเหลี่ยม พบในภาคใต้ของไทย มาเลเซีย เกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียว เป็นหวายคุณภาพดี แต่มีไม่มากพอสำหรับการค้า ในซาราวะก์นำไปสานตะกร้าและเสื่อ.

ดู เกาะสุมาตราและหวายขี้ผึ้ง

หวายขี้เป็ด

หวายขี้เป็ด เป็นหวายกอขนาดปานกลาง เกล็ดบนเปลือกผลมีเรซินสีแดง ชาวซีไมในคาบสมุทรมลายู สกัดเรซินจากผลไปใช้เป็นสมุนไพร ในซาราวะก์นำผลไปรับประทาน พบในบอร์เนียว สุมาตรา คาบสมุทรมลายู และตอนใต้ของไท.

ดู เกาะสุมาตราและหวายขี้เป็ด

หวายดำ

หวายดำ เป็นหวายลำต้นเดี่ยวไม่ค่อยปีนป่าย พบในไทย มาเลเซีย และเกาะสุมาตรา ค่อนข้างหายากบนเกาะบอร์เนียว ใช้ทำไม้เท้.

ดู เกาะสุมาตราและหวายดำ

หวายตะค้าน้ำ

หวายตะค้าน้ำ เป็นหวายกอขนาดกลาง ลำต้นเลื้อยพันขึ้นที่สูง ลักษณะคล้ายหวายตะค้าทองแต่ไม่มีสีเหลือบขาวบริเวณด้านล่างของใบ พบในภาคใต้ของไทย มาเลเซีย เกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียว เป็นหวายค่อนข้างหายากในมาเลเซีย พบเฉพาะในปะหัง ยะโฮร์ และเประก์ ใช้สานตะกร้า เครื่องมือดักปลา และใช้ผูกมั.

ดู เกาะสุมาตราและหวายตะค้าน้ำ

หวายไม้เท้า

หวายไม้เท้า เป็นหวายกอขนาดใหญ่ ปีนป่ายได้สูงมาก มีหนามรูปแบน ทรงสามเหลี่ยมปลายหนามสีดำ โคนสีเหลือง โคนก้านใบเป็นรูปเข่าชัดเจน มือเกี่ยวขนาดใหญ่สีเขียวเข้ม ปลายใบมีขนแข็งๆปกคลุม ดอกช่อ ผลแก่มีลักษณะกลมรี มีจะงอยสั้นๆ เปลือกนอกสีเขียวทึบ พบทั่วไปในพม่า เวียดนาม ไทย มาเลเซีย เกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียว เกาะปาลาวัน ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์ ลำต้นช่วงที่ปล้องยาวนิยมใช้ทำไม้เท้าและก้านร่ม.

ดู เกาะสุมาตราและหวายไม้เท้า

หนูผีป่า

หนูผีป่า หรือ หนูเหม็น (Gymnures, Moonrats) เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับเฮดจ์ฮอก (Erinaceomorpha) ในวงศ์ Erinaceidae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Galericinae เป็นวงศ์ที่แยกออกมาจากวงศ์ย่อยเฮดจ์ฮอก (Erinaceinae) ด้วยมีรูปร่างลักษณะที่ต่างกันหลายประการ สัตว์ที่อยู่ในวงศ์ย่อยนี้ มีรูปร่างโดยทั่วไปแลคล้ายหนู ซึ่งเป็นสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) มีส่วนหัวใหญ่ ปลายจมูกและจะงอยปากแหลมยาว มีฟันที่แหลมคมและมีขนาดใหญ่ คิดเป็นสัดส่วน 1/3 ของร่างกายทั้งหมด มีขนปกคลุมร่างกายทั้งหมด หางเรียวยาวไม่มีขน เพื่อควบคุมสมดุลของร่างกายและอุณหภูมิภายในร่างกาย มีความไวในประสาทการรับกลิ่นเป็นอย่างดีมาก หนูผีป่า เป็นสัตว์ที่มีเอกลักษณ์ คือ มีกลิ่นเหม็นมากเหมือนกลิ่นแอมโมเนียโดยมีต่อมผลิตกลิ่น ปกติเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ตามลำพัง ยกเว้นฤดูผสมพันธุ์ เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน โดยหากินสัตว์ขนาดเล็กที่อยู่ตามพื้นดินเป็นหลัก เช่น แมลง เป็นอาหารหลัก และอาจกินสัตว์ได้อย่างอื่นได้ด้วย เช่น สัตว์เลื้อยคลานหรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ หรือสัตว์ฟันแทะขนาดเล็ก บางครั้งอาจกินผลไม้หรือเห็ดรา พบกระจายพันธุ์แต่เฉพาะในป่าดิบของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยไม่พบในเมือง เช่น อินโดจีน, สุมาตรา, จีนและคาบสมุทรมลายู มีทั้งหมด 5 สกุล (ดูในตาราง) 8 ชนิด โดยชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ หนูเหม็น (Echinosorex gymnura) หรือสาโท ซึ่งเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ด้ว.

ดู เกาะสุมาตราและหนูผีป่า

หนูเหม็น

ำหรับสาโทที่หมายถึงเครื่องดื่มประเภทสุรา ดูที่: สาโท หนูเหม็น หรือ สาโท (อังกฤษ: Moonrat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Echinosorex gymnurus จัดอยู่ในวงศ์ Erinaceidae ซึ่งจัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Echinosorex หนูเหม็น มีรูปร่างลักษณะคล้ายหนูที่อยู่ในอันดับสัตว์ฟันแทะ แต่หนูเหม็นเป็นสัตว์ที่อยู่ในอันดับเฮดจ์ฮอกเช่นเดียวกับเฮดจ์ฮอก มีขนยาวปุกปุยรุงรังสีดำแซมขาว หัวมีขนสีขาวและมีแถบดำพาดผ่านตาเห็นได้ชัดเจน ปลายปากด้านบนและดั้งจมูกยาวเรียวยื่นออกไปมากกว่าปลายริมฝีปากล่าง หางมีเกล็ดเล็ก ๆ ปกคลุมคล้ายหางหนู มีสีดำและปลายหางสีขาว พบกระจายพันธุ์อยู่ในแถบเทือกเขาตะนาวศรีในเขตพม่า และภาคใต้ของไทยตั้งแต่คอคอดกระลงไปตลอดแหลมมลายู, เกาะสุมาตรา และเกาะบอร์เนียว มีขนาดลำตัวยาว 26-45 เซนติเมตร หางยาว 20-21 เซนติเมตร มีน้ำหนัก 0.5-1.1 กิโลกรัม ถือว่าเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์และอันดับนี้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย คือ E.g.albus พบในตอนตะวันออกและตอนใต้ของเกาะบอร์เนียว และ E.g.cadidus พบในตอนตะวันตกของเกาะบอร์เนียว เป็นสัตว์ที่มีกลิ่นตัวเหม็นรุนแรงจึงเป็นที่มาของชื่อ ซึ่งกลิ่นตัวนี้คล้ายกับกลิ่นระเหยของแอมโมเนีย สามารถส่งกลิ่นออกไปได้ไกลเป็นระยะหลายเมตร ใช้สำหรับติดต่อกับหนูเหม็นตัวอื่น มักอาศัยอยู่ตามลำพัง ชอบอาศัยอยู่ในที่ชื้นแฉะตามป่าดิบชื้น เช่น ป่าโกงกาง, ป่าตามพื้นที่ราบเชิงเขา โดยเฉพาะตามหุบเขาที่มีป่ารกทึบ ติดกับลำธารที่มีน้ำไหลผ่าน ซึ่งเหมาะเป็นแหล่งในการหาอาหารได้สะดวก เป็นสัตว์ที่ออกหากินในเวลากลางคืน อาหาร ได้แก่ หนอน, ด้วง และแมลงต่าง ๆ, ไส้เดือนดิน สามารถที่จะล่าสัตว์เล็ก ๆ กิน เช่น ลูกกบ, เขียด, กุ้ง, ปู, ปลา และหอย ได้ด้วย กลางวันจะพักอาศัยหลบซ่อนอยู่ในรูดิน โพรงไม้และตามซอกใตัรากไม้ในป่าทั่วไป มีฤดูผสมพันธุ์ตลอดทั้งปี ๆ ละ 2 ครอก มีลูกครอกละ 2 ตัว มีนิสัยค่อนข้างดุร้าย ปัจจุบันเป็นสัตว์ที่หายาก มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากสภาพพื้นที่ ๆ อยู่อาศัยถูกทำลาย และเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 หนูเหม็น มีความเชื่อมาแต่โบราณว่า หากเก็บกระดูกไว้จะสามารถแก้เสน่ห์ยาแฝดหรือมนต์ดำได้.

ดู เกาะสุมาตราและหนูเหม็น

อับดุล มูอิส

อับดุล มูอิส อับดุล มูอิส (Abdul Muis) เป็นนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์ชาวอินโดนีเซียที่มีบทบาทมากในกลุ่มปัญญาชนชาตินิยมยุคแรกและเป็นผู้เขียนวรรณกรรมที่มีบทบาทอย่างมากในสังคมอินโดนีเซี.

ดู เกาะสุมาตราและอับดุล มูอิส

อักษรกวิ

ตราประทับ "บูตวน คำว่าบูตวนเขียนด้วยอักษรกวิ (ด้านซ้ายเป็นตรา; ด้านขวาเป็นรอยประทับ) อักษรกวิ (กะ-วิ) เป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรในอินเดียใต้ ใช้ในบริเวณหมู่เกาะ เช่น ชวา สุมาตรา ทางภาคใต้ของไทยมีหลักฐานว่าเคยใช้อักษรนี้แต่ไม่แพร่หลายมากนัก ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้อักษรไทยและอักษรขอม อักษรกวิไม่มีบ่าอักษรเช่นเดียวกับอักษรมอญโบราณ.

ดู เกาะสุมาตราและอักษรกวิ

อักษรยาวี

ตัวอย่างอักษรยาวี อักษรยาวี (حروف جاوي) เป็นอักษรอาหรับดัดแปลงสำหรับเขียนภาษามลายู ภาษาอาเจะฮ์ ภาษาบันจาร์ ภาษามีนังกาเบา ภาษาเตาซูก และภาษาอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ นักปราชญ์คนหนึ่งของปัตตานี ชื่อ ชัยค์ อะห์มัด อัลฟะฏอนี (Syeikh Ahmad al-Fathani) ได้วางกฎเกณฑ์การใช้อักษรยาวีเพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการเขียนภาษามลายูในท้องถิ่นนี้ ในอดีต โลกมลายูใช้อักษรยาวีมาช้านาน ก่อนที่จะเปลี่ยนไปใช้อักษรรูมี ปัจจุบันชาวมุสลิมในประเทศไทยที่พูดภาษามลายู นิยมใช้อักษรยาวีบันทึกเรื่องราวในศาสนา และการสื่อสารต่าง ๆ ส่วนนักเรียนในโรงเรียนปอเนาะ หรือโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จะเริ่มเรียนอักษรยาวีสำหรับอ่านเขียนภาษาอาหรับ (ภาษาในคัมภีร์อัลกุรอาน) ตั้งแต่ยังเยาว์ อักษรยาวียังคงใช้กันอยู่บ้างในมาเลเซีย บรูไน และสุมาตรา คำว่า ยาวี นั้นมาจากคำว่า jawa หมายถึง ชวา นั่นเอง ทั้งนี้ก็เพราะชาวชวาได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานในมะละกาและปัตตานี ได้นำอักษรอาหรับดัดแปลงมาเผยแพร่ และในที่สุดได้รับมาใช้ในชุมชนที่พูดภาษามลายูปัตตานีมาช้านาน เป็นที่น่าสังเกตว่า ยังมีความสับสนในการเรียกชื่ออักษรยาวี และภาษามลายูว่า "ภาษายาวี" แม้กระทั่งในหมู่ผู้พูดภาษามลายู ทว่าความจริงแล้วไม่มีภาษายาวี มีแต่อักษรยาวีกับภาษามลายู.

ดู เกาะสุมาตราและอักษรยาวี

อักษรฮานูโนโอ

อักษรฮานูโนโอ (Hanunó'o) หรืออักษรมังยัน ใช้ในฟิลิปปินส์เมื่อราว..

ดู เกาะสุมาตราและอักษรฮานูโนโอ

อักษรตักบันวา

อักษรตักบันวา ใช้ในฟิลิปปินส์เมื่อราว..

ดู เกาะสุมาตราและอักษรตักบันวา

อักษรเรชัง

อักษรเรชัง (Rejang, บางครั้งอาจสะกดเป็น Redjang) พัฒนามาจากอักษรพราหมี โดยผ่านทางอักษรปัลวะ หรืออักษรกวิ นักภาษาศาสตร์บางคนเชื่อว่า มีความต่อเนื่องระหว่าง อักษรเรชัง ไฮโรกลิฟฟิคของอียิปต์ และอักษรตระกูลเซมิติก เช่น อักษรฮีบรู.

ดู เกาะสุมาตราและอักษรเรชัง

อากุส ซาลิม

ซูการ์โนและอากุส ซาลิม พ.ศ. 2492 หะยีอากุส ซาลิมในการลงนามข้อตกลงมิตรภาพกับอียิปต์ พ.ศ. 2490 ฮัจญี อากุส ซาลิม (Haji Agus Salim) เป็นนักการเมืองชาวอินโดนีเซียในสมัยที่เรียกร้องเอกราชจากเนเธอร์แลนด์ เป็นผู้นำพรรคซาเรกัตอิสลาม และเป็นผู้ร่วมร่างกฎบัตรจาการ์ต.

ดู เกาะสุมาตราและอากุส ซาลิม

อามีร์ ซารีฟุดดิน

อามีร์ ซารีฟุดดิน (Amir Sjarifuddin) เป็นนักชาตินิยมอินโดนีเซียผู้ก่อตั้งพรรคสังคมนิยมอินโดนีเซีย และเป็นนายกรัฐมนตรีระหว่าง..

ดู เกาะสุมาตราและอามีร์ ซารีฟุดดิน

อาหารสิงคโปร์

้าวมันไก่แบบสิงคโปร์เป็นอาหารสิงคโปรที่ได้รับความนิยมมากและเป็นหนึ่งในอาหารประจำชาติของสิงคโปร์ อาหารสิงคโปร์ เป็นตัวบ่งชี้ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในสิงคโปร์ ซึ่งเดิมเป็นส่วนหนึ่งของมาเลเซีย และได้มีปฏิสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมมานานนับศตวรรษ อาหารได้รับอิทธิพลจากชาวพื้นเมืองมลายู ชาวจีน อินโดนีเซีย เปอรานากัน วัฒนธรรมตะวันตกซึ่งมาจากอังกฤษ และกลุ่มที่ได้รับอิทธิพลโปรตุเกสซึ่งเรียกชาวคริสตัง อิทธิพลจากพื้นที่อื่นๆ เช่น ศรีลังกา ไทย ฟิลิปปินส์ และตะวันออกกลาง พบในอาหารพื้นเมืองเช่นกัน ในสิงคโปร์ อาหารถือเป็นสิ่งสำคัญ ในการกำหนดเอกลักษณ์ของชาติและความเป็นหนึ่งเดียว ซึ่งในสิงคโปร์ การพบปะและรับประทานอาหารระหว่างวัฒนธรรมเป็นเรื่องปกติ อาหารสิงคโปร์ได้รับการส่งเสริมเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว รัฐบาลสิงคโปร์ได้จัดเทศกาลอาหารสิงคโปร์ในเดือนกรกฎาคมเพื่อส่งเสริมอาหารสิงคโปร์ สิงคโปร์เป็นประเทศเล็กที่มีประชากรหนาแน่นมาก ที่ดินเป็นทรัพยากรสำคัญที่จำเป็นสำหรับอุตสาหกรรมและที่อยู่อาศัย ผลิตภัณฑ์และเครื่องปรุงส่วนใหญ่นำเข้ามา แม้ว่าจะมีกลุ่มเกษตรกรขนาดเล็กที่ปลูกผัก ผลไม้ หรือสัตว์ปีกและปลา เนื่องจากสิงคโปร์ตั้งอยู่บนเส้นทางการค้าที่สำคัญ จึงสามารถพบผลิตภัณฑ์และเครื่องปรุงทั่วโลกได้ที่นี.

ดู เกาะสุมาตราและอาหารสิงคโปร์

อาณาจักรมัชปาหิต

อาณาจักรมัชปาหิต เป็นอาณาจักรในชวาตะวันออก มีอำนาจอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1293 ถึงประมาณ ค.ศ. 1500.

ดู เกาะสุมาตราและอาณาจักรมัชปาหิต

อาณาจักรรีวกีว

อาณาจักรรีวกีว (琉球王国 Ryūkyū Ōkoku; รีวกีว: Ruuchuu-kuku;; ค.ศ. 1429 — 1879) เป็นรัฐเอกราช ครอบครองหมู่เกาะรีวกีว เกือบทั้งหมดตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 - 19 ชื่อของอาณาจักรรีวกีวปรากฏในเอกสารต้นกรุงรัตนโกสินทร์ว่า ลิชี่ว (ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์) หรือ ลิ่วขิ่ว (โคลงภาพคนต่างภาษา) กษัตริย์ของอาณาจักรรีวกีวได้รวบรวมเกาะโอะกินะวะ ให้เป็นปึกแผ่น และขยายอาณาเขตไปถึงหมู่เกาะอะมะมิ (ปัจจุบันอยู่ในเขตจังหวัดคะโงะชิมะ และหมู่เกาะซะกิชิมะ ใกล้กับเกาะไต้หวัน แม้ว่าจะเป็นอาณาจักรเล็ก ๆ แต่ก็มีบทบาทสำคัญทางด้านการค้าทางทะเลในยุคกลางของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ดู เกาะสุมาตราและอาณาจักรรีวกีว

อาณาจักรศรีวิชัย

อาณาจักรศรีวิชัย หรือ อาณาจักรศรีโพธิ์ เกิดในปี พ.ศ. 1202 (ราวพุทธศตวรรษที่ 13) ก่อตั้งโดยราชวงศ์ไศเลนทร์ ในช่วงที่อาณาจักรฟูนันล่มสลาย เป็นอาณาจักรของชาติพันธุ์มลายูโบราณ มีอาณาเขตครอบคลุมมลายู เกาะชวา เกาะสุมาตรา ช่องแคบมะละกา ช่องแคบซุนดา และบริเวณภาคใต้ของประเทศไทย พื้นที่อาณาจักรแบ่งได้สามส่วน คือส่วนคาบสมุทรมลายู เกาะสุมาตรา และหมู่เกาะชวา โดยส่วนของชวาได้แยกตัวออกไปตั้งเป็นอาณาจักรมัชปาหิต ต่อมาเมื่ออาณาจักรศรีวิชัยอ่อนแอลง อาณาจักรมัชปาหิตได้ยกทัพเข้ามาตีศรีวิชัย ได้ดินแดนสุมาตราและบางส่วนของคาบสมุทรมลายูไป และทำให้ศรีวิชัยล่มสลายไปในที่สุด ส่วนพื้นที่คาบสมุทรที่เหลือ ต่อมาเชื้อพระวงศ์จากอาณาจักรเพชรบุรี ได้เสด็จมาฟื้นฟูและตั้งเป็นอาณาจักรนครศรีธรรมร.

ดู เกาะสุมาตราและอาณาจักรศรีวิชัย

อำเภอไชยา

อำเภอไชยา เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เคยเป็นเมืองเก่าแก่มากแห่งหนึ่งในทางใต้ของภูมิภาคนี้ เชื่อกันว่าเคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรศรีวิชัยในสมัยโบราณ โดยมีหลักฐานทั้งโบราณวัตถุและโบราณสถานจำนวนมาก.

ดู เกาะสุมาตราและอำเภอไชยา

อำเภอเบตง

ตง เป็นอำเภอที่มีขนาดใหญ่ในจังหวัดยะลา นับเป็นอำเภอที่ตั้งอยู่ใต้สุดของประเทศไทย โดยมีลักษณะเป็นหัวหอกยื่นเข้าไปในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ในแนวเทือกเขาสันกาลาคีรี มีเนื้อที่ประมาณ 1,328 ตารางกิโลเมตร ห่างจากตัวเมืองยะลาประมาณ 140 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 1,220 กิโลเมตร ด้วยภูมิประเทศของอำเภอเบตงส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงจึงทำให้เบตงมีอากาศดี และมีหมอกตลอดปี ดังคำขวัญประจำอำเภอที่ว่า “เมืองในหมอก ดอกไม้งาม ใต้สุดสยาม เมืองงามชายแดน”.

ดู เกาะสุมาตราและอำเภอเบตง

อิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์

อิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์ (Isabella Stewart Gardner) (14 สิงหาคม ค.ศ. 1840-17 กรกฎาคม ค.ศ. 1924) อิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์เป็นนักสะสมศิลปะ, นักการกุศลสังคม (philanthropist) และ นักอุปถัมภ์ศิลปะคนสำคัญชาวอเมริกัน งานสะสมศิลปะของอิซาเบลลา สจวตในปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์อิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์ที่บอสตันในรัฐแมสซาชูเซตส์ในสหรัฐอเมริกา อิซาเบลลา สจวตบุตรีของเดวิดและอเดเลีย สจวตเกิดที่นครนิวยอร์ก และแต่งงานกับจอห์น โลเวลล์ “แจ็ค” การ์ดเนอร์ บุตรชายของจอห์น แอล.

ดู เกาะสุมาตราและอิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์

อุรังอุตัง

อุรังอุตัง (Orangutan) เป็นไพรเมตจำพวกลิงไม่มีหาง ที่อยู่ในสกุล Pongo (/พอง-โก/) เป็นสัตว์พื้นเมืองของเกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา ในประเทศอินโดนีเซียเท่านั้น มีขนาดใหญ่คล้ายมนุษย์ ไม่มีหาง หูเล็ก แขนและขายาว ตัวผู้มีน้ำหนัก 75–200 กิโลกรัม ส่วนตัวเมียหนัก 50–80 กิโลกรัม มีขนหยาบสีแดงรุงรัง เมื่อโตขึ้นกระพุ้งแก้มจะห้อยเป็นถุงขนาดใหญ่ มันชอบอยู่บนต้นไม้โดดเดี่ยว เว้นแต่ช่วงผสมพันธุ์จะอยู่เป็นคู่ ชอบห้อยโหนจากกิ่งหนึ่งไปอีกกิ่งหนึ่ง มีการสร้างรังนอน แบบเดียวกับชิมแปนซี เชื่อง ไม่ดุ หัดง่ายแต่เมื่อเติบโตแล้วจะดุมาก เมื่ออุรังอุตังอายุ 10 ปี จะสามารถผสมพันธุ์ได้ ออกลูกทีละ 1 ตัว และอายุยืนถึง 40 ปีเลย ปัจจุบัน เป็นสัตว์หายาก อาหารหลักคือผลไม้ชนิดต่าง ๆ โดยเฉพาะทุเรียน นอกจากนี้ยังกินแมลง ไข่นก สัตว์เล็ก ๆ อื่น ๆ อีกด้วย แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ (สูญพันธุ์ไป 1).

ดู เกาะสุมาตราและอุรังอุตัง

อุรังอุตังสุมาตรา

อุรังอุตังสุมาตรา (Sumatran orangutan) เป็นหนึ่งในอุรังอุตังสองสปีชีส์ ซึ่งพบเฉพาะบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียเท่านั้น อุรังอุตังชนิดนี้หายากและมีขนาดตัวเล็กกว่าอุรังอุตังบอร์เนียว (P.

ดู เกาะสุมาตราและอุรังอุตังสุมาตรา

อุรังอุตังตาปานูลี

อุรังอุตังตาปานูลี (Tapanuli orangutan) เป็นสายพันธุ์ของอุรังอุตังที่อาศัยอยู่ในอำเภอตาปานูลีใต้ จังหวัดสุมาตราเหนือ ประเทศอินโดนีเซีย และเป็นสายพันธุ์ที่สามของอุรังอุตังบนเกาะสุมาตรา หลังจากที่อุรังอุตังตาปานูลีนั้นได้รับการระบุให้เป็นสายพันธุ์ใหม่ที่แตกต่างจากอุรังอุตังสุมาตราและอุรังอุตังบอร์เนียวเมื่อ..

ดู เกาะสุมาตราและอุรังอุตังตาปานูลี

อีกันบาการ์

อีกันบาการ์ (มาเลเซียและikan bakar) เป็นอาหารมาเลเซียและอินโดนีเซียที่ทำจากปลาย่างหรืออาหารทะเลอย่างอื่น แปลตรงตัวว่าปลาเผา เป็นอาหารที่เป็นที่นิยมในอินโดนีเซียโดยเฉพาะทางตะวันออก ปลามักจะปรุงด้วยเครื่องเทศบด บางครั้งใส่กะปิหรือซีอิ๊วหวานแล้วนำไปย่าง บางครั้งห่อด้วยใบตองขณะย่าง.

ดู เกาะสุมาตราและอีกันบาการ์

อีเห็นลายเสือโคร่ง

อีเห็นลายเสือโคร่ง หรือ อีเห็นลายพาด (Banded palm civet) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่งในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hemigalus derbyanus มีรูปร่างหน้าตาเหมือนสัตว์จำพวกอีเห็นหรือชะมดทั่วไป แต่มีหน้ายาวและมีรูปร่างเพรียวบางกว่า ขนตามลำตัวสีน้ำตาลอ่อน มีลักษณะเด่น คือ มีแถบสีดำ 7-8 แถบพาดขวางลำตัว โดยแถบดังกล่าวมีรูปทรงเป็นสามเหลี่ยมยาว ๆ และมีแถบสีดำพาดยาวผ่านใบหน้าและหน้าผาก 2 เส้น ด้านล่างของลำตัวและขามีสีอ่อนกว่าบริเวณหลัง มีหูยาวและมีประสิทธิภาพในการฟังเสียงที่สูง ตามีขนาดใหญ่ ส่วนโคนหางจะมีแถบสีดำเป็นปล้อง ๆ มีต้อมกลิ่นขนาดเล็ก สามารถหดเล็บเก็บได้เหมือนพวกแมว มีความยาวลำตัวและหัว 45-50 เซนติเมตร ความยาวหาง 25-32.5 เซนติเมตร น้ำหนัก 1-3 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภาคใต้ของพม่า ภาคตะวันตกและภาคใต้ของไทย, มาเลเซีย, เกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว มักอาศัยอยู่ในป่าดิบชื้นใกล้แหล่งน้ำ มักอาศัยและออกหากินตามลำพัง นอกจากในฤดูผสมพันธุ์ หรือ มีลูกอ่อนที่อาจพบว่ามีอยู่ด้วยกัน 2 หรือ 3 ตัว ออกหากินในเวลากลางคืน มีลิ้นที่สากเหมือนพวกแมว กินสัตว์ขนาดเล็กจำพวกแมลง, ไส้เดือน, มด, แมงมุม, สัตว์น้ำขนาดเล็ก หอยทาก รวมทั้งพืช อย่าง ผลไม้เป็นต้น ปัจจุบัน การศึกษานิเวศวิทยาของอีเห็นลายเสือโคร่งนั้นยังมีอยู่น้อยมาก เนื่องจากเป็นสัตว์ที่พบเห็นตัวได้ยาก เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและอีเห็นลายเสือโคร่ง

อีเห็นหน้าขาว

อีเห็นหน้าขาว หรือ อีเห็นหูด่าง (Small-toothed palm civet) เป็นสัตว์จำพวกชะมดและอีเห็น มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Arctogalidia trivirgata มีรูปร่างหน้าตาคล้ายอีเห็นเครือ (Paguma larvata) แต่มีขนาดเล็กกว่า มีสีขนที่แตกต่างหลากหลายออกไป ในบางตัวอาจมีสีน้ำตาลแดง บางตัวเป็นสีน้ำตาลดำ มีลักษณะเด่นคือ ขอบใบหูจะมีสีขาว บริเวณหลังมีแถบสีดำ 3 เส้นพาดเป็นทางยาวจนถึงโคนหาง บางตัวอาจมีลายเส้นสีขาวพาดยาวมาจรดปลายจมูก หางมีความยาวมากใช้สำหรับทรงตัวบนต้นไม้ ตัวเมียจะมีเต้านม 2 คู่ และมีต่อมกลิ่นด้วย มีความยาวลำตัวและหัว 43-53 เซนติเมตร ความยาวหาง 51-56 เซนติเมตร น้ำหนัก 2-2.5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่รัฐอัสสัม, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวาและเกาะบอร์เนียว มีชนิดย่อยทั้งหมด 14 ชนิด (ดูในตาราง) มีพฤติกรรมอาศัยอยู่ในป่าที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าดิบชื้น, ป่าเบญจพรรณ ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ตามลำพังและหากินบนต้นไม้เป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นในช่วงผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อนที่จะอยู่ด้วยกันเป็นคู่ ออกหากินในเวลากลางคืน มีความปราดเปรียวว่องไวกว่าอีเห็นธรรมดา (Paradoxurus hermaphroditus) มาก โดยมักล่าสัตว์ที่อยู่บนต้นไม้เป็นอาหาร เช่น หนู, กระรอก, นก และช่วยควบคุมปริมาณกระรอกที่ทำลายสวนมะพร้าวไม่ให้มีมากไป สามารถผสมพันธุ์ได้ทั้งปี ใช้เวลาตั้งท้องนาน 45 วัน ออกลูกครั้งละ 2-3 ตัว จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ดู เกาะสุมาตราและอีเห็นหน้าขาว

อีเห็นข้างลาย

อีเห็นข้างลาย หรือ อีเห็นธรรมดา หรือ มูสังหอม ในภาษาใต้ (Asian palm civet) เป็นอีเห็นขนาดเล็ก สีขนตามลำตัวเป็นสีเทาเข้มจนเกือบดำ ยกเว้นบริเวณรอบจมูก หู ขา และปลายหางมีสีดำมีลายสีขาวพาดขวางบริเวณหน้าผาก หลังมีจุดเล็ก ๆ สีดำเรียงตัวเป็นแนวยาว 3 เส้น จากไหล่ถึงโคนหาง หางมีความยาวพอ ๆ กับลำตัว ขนปลายหางบางตัวอาจมีสีขาว มีต่อมน้ำมันและจะส่งกลิ่นออกมาเมื่อเวลาตกใจ ซึ่งต่อมน้ำมันนี้จะแตกต่างจากชะมดหรืออีเห็นชนิดอื่น ๆ ตัวเมียมีเต้านม 3 คู่ มีความยาวลำตัวและหัว 43–71 เซนติเมตร ความยาวหาง 40.6–66 เซนติเมตร น้ำหนัก 2–5 กิโลกรัม อีเห็นข้างลายมีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมาก โดยพบตั้งแต่รัฐชัมมูและกัศมีร์ และภาคใต้ของอินเดีย, ศรีลังกา, เนปาล, รัฐสิกขิม, ภูฏาน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, สิงคโปร์, ฟิลิปปินส์, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, เกาะซูลาเวซี และหมู่เกาะซุนดาน้อย และมีชนิดย่อยมากถึง 30 ชนิด (ดูในตาราง) มีพฤติกรรมมักอาศัยและหากินตามลำพัง สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ตั้งแต่ ป่าดิบชื้น, ป่าดิบแล้ง ไปจนถึงชายป่าที่ใกล้กับพื้นที่เกษตรกรรมของมนุษย์ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น สัตว์ขนาดเล็กจำพวกแมลง และน้ำหวานของเกสรดอกไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน นอนหลับในเวลากลางวัน ใช้เวลาส่วนมากตามพื้นดินและจะใช้เวลาน้อยมากอยู่บนต้นไม้ ออกลูกครั้งละ 2–4 ตัว โดยจะเลี้ยงลูกอ่อนไว้ตามโพรงไม้หรือโพรงหิน อีเห็นข้างลายไม่ได้ถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2546 ปัจจุบันทางสวนสัตว์เชียงใหม่ได้มีโครงการในการเพาะเลี้ยงอีเห็นข้างลาย เพื่อผลิต "กาแฟขี้ชะมด" ซึ่งเป็นกาแฟที่ได้จากมูลของอีเห็นข้างลาย มีราคาซื้อขายที่สูงมาก และในการเพาะเลี้ยงเพื่อใช้ประโยชน์ในการนี้ที่จังหวัดตรังโดยเอกชนด้วยหน้า 27, อะเมซซิง..."กาแฟขี้ชะมดตรัง" โดย มนตรี สังขาว.

ดู เกาะสุมาตราและอีเห็นข้างลาย

อีเห็นน้ำมลายู

อีเห็นน้ำมลายู หรือ อีเห็นน้ำซุนดา (Otter civet) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีรูปร่างอ้วน ขาสั้น ขนตามลำตัวเป็นสีน้ำตาลเข้ม หรือดำสนิท ลักษณะเด่นคือ หัวค่อนข้างแบน จมูกและปากยื่นออกมามีสีขาว จมูกมีขนาดใหญ่ รูจมูกด้านบนเปิดขึ้นและสามารถปิดได้เมื่ออยู่ใต้น้ำ ใบหูมีขนาดเล็กและมีลิ้นปิดหูไม่ให้น้ำเข้าขณะว่ายน้ำ ห่างค่อนข้างสั้นเมื่อเทียบกับความยาวลำตัว มีพังผืดยืดระหว่างนิ้วคล้ายกับนิ้วเท้าของนากเล็กเล็บสั้น (Amblonyx cinerea) มีความยาวลำตัวและหัว 70-80 เซนติเมตร ความยาวหาง 12-20 เซนติเมตร น้ำหนัก 3-5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์อยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำของภาคใต้ของไทย, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวาและเกาะบอร์เนียว มีพฤติกรรมอาศัยและหากินตามลำพัง โดยล่าพวกสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ เช่น กุ้ง, หอย, ปู, ปลา และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำ เช่น หนู สามารถปรับตัวให้อาศัยแบะหากินอยู่ในน้ำได้ดีเช่นเดียวกับนาก มักอาศัยอยู่ในป่าพรุหรือพื้นที่ชุ่มน้ำอื่น ๆ ปีนต้นไม้ได้เก่ง บางครั้งพบว่าอาจปีนต้นไม้เพื่อกินผลไม้สุกได้.

ดู เกาะสุมาตราและอีเห็นน้ำมลายู

อีเห็นเครือ

อีเห็นเครือ (Masked palm civet) สัตว์จำพวกชะมดและอีเห็นชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Paguma larvata จัดเป็นสัตว์ขนาดใหญ่ในสัตว์จำพวกนี้ ขนตามลำตัวสีน้ำตาลเข้ม ไม่มีจุดหรือลวดลายใด ๆ บริเวณท้องมีสีอ่อนกว่าส่วนหลัง หลังหูและหลังคอมีสีเข้ม ม่านตามีสีน้ำตาลแดง มีหนวดเป็นเส้นยาวบริเวณจมูกและแก้ม ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย ตัวเมียมีเต้านม 2 คู่ ขนาดลำตัวและหัวยาว 50.8-76.2 เซนติเมตร ความยาวหาง 50.8-63.6 เซนติเมตร น้ำหนัก 3-5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง พบตั้งแต่ภาคเหนือของอินเดีย, ปากีสถาน, ตะวันออกของอัฟกานิสถาน, ไต้หวัน, ตะวันออกของจีน, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียว, ตะวันตกของพม่า, สิกขิม, ภูฐาน, เนปาล มีชนิดย่อยทั้งหมด 4 ชนิด (ดูในตาราง) สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ตั้งแต่ป่าเบญจพรรณ, ป่าดิบแล้ง ไปจนถึงชายป่าที่ติดกับพื้นที่ทำการเกษตรกรรม สามารถปีนต้นไม้ได้คล่องแคล่ว และจะใช้เวลาส่วนใหญ่บนต้นไม้ โดยจะกินทั้งพืชและสัตว์ แต่ในบางครั้งอาจมาหากินบนพื้นดินด้วย จากการศึกษาในเนปาลพบว่า มีการผสมพันธุ์กันในฤดูร้อน โดยในช่วงปลายฤดูฝนอีเห็นเครือตัวเมียจะสร้างรังในโพรงไม้ เพื่อใช้เลี้ยงดูลูกอ่อน ใช้เวลาตั้งท้องนาน 2 เดือน ออกลูกครั้งละ 2-4 ตัว อีเห็นเครือถูกสันนิษฐานว่าเป็นสัตว์ที่เป็นต้นตอแพร่เชื้อของโรคซาร์สที่ระบาดในฮ่องกงและจีนแผ่นดินใหญ่ ในช่วงปี พ.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและอีเห็นเครือ

อ่าวเบงกอล

แผนที่แสดงตำแหน่งที่ตั้งอ่าวเบงกอล เรือประมงในอ่าวเบงกอล เกาะเซนต์มาร์ติน อ่าวเบงกอล ชายหาดมารีนา เจนไน อ่าวเบงกอล (Bay of Bengal) เป็นอ่าวที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของมหาสมุทรอินเดีย มีลักษณะคล้ายรูปสามเหลี่ยมล้อมรอบด้วยประเทศอินเดียและศรีลังกาทางด้านตะวันตก บังกลาเทศและรัฐเบงกอลตะวันตกของอินเดียทางด้านเหนือ (ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ) และประเทศพม่า ภาคใต้ของประเทศไทย หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ทางด้านตะวันออก อาณาเขตด้านใต้แผ่ถึงเส้นเขตจินตนาการที่ลากจากดอนดราเฮดตอนใต้ของศรีลังกาไปถึงปลายด้านเหนือของเกาะสุมาตรา อ่าวเบงกอลมีเนื้อที่ 2,172,000 กม² มีแม่น้ำสำคัญหลายสายไหลมาลงทะเล เช่น แม่น้ำคงคา แม่น้ำพรหมบุตร แม่น้ำอิรวดี แม่น้ำโคทาวรี แม่น้ำมหานที แม่น้ำกฤษณา และแม่น้ำกาเวรี เมืองท่าสำคัญของอ่าวเบงกอล ได้แก่ กัททะลูร์ เจนไน กากีนาทะ มะจิลีปัตนัม วิศาขปัตนัม พาราทิพ โกลกาตา จิตตะกอง และย่างกุ้ง.

ดู เกาะสุมาตราและอ่าวเบงกอล

จระเข้น้ำจืด

ระเข้น้ำจืด, จระเข้บึง, จระเข้สยาม หรือ จระเข้น้ำจืดสายพันธุ์ไทย (freshwater crocodile, Siamese crocodile) มีถิ่นกำเนิดในบริเวณเวียดนาม, กัมพูชา, ลาว ไทย, กาลีมันตัน, ชวา และสุมาตรา จัดเป็นจระเข้ขนาดปานกลางค่อนมาทางใหญ่ (3 - 4 เมตร) มีเกล็ดท้ายทอด มีช่วงวัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุ 10-12 ปี จระเข้ชนิดนี้วางไข่ครั้งละ 20-48 ฟอง โดยมีระยะเวลาฟักไข่นาน 68-85 วัน เริ่มวางไข่ในช่วงต้นฤดูฝนประมาณเดือนพฤษภาคม โดยขุดหลุมในหาดทรายริมแม่น้ำ ใช้เวลาเฉลี่ยราว 80 วัน ชอบอยู่และหากินเดี่ยว โดยปกติจระเข้น้ำจืดจะกินปลาและสัตว์อื่นที่เล็กกว่าเป็นอาหาร จะไม่ทำร้ายมนุษย์หากไม่ถูกรบกวนหรือมีอาหารเพียงพอ ในอดีตในประเทศไทยเคยพบชุกชุมในแหล่งน้ำทั่วทุกภาคของประเทศ โดยเฉพาะในแถบที่ราบลุ่มภาคกลาง เช่น ที่บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ได้ชื่อว่าเป็นสถานที่จระเข้ชุม เคยมีรายงานว่าพบจระเข้ถึง 200 ตัว หรือในวรรณกรรมพื้นบ้านเรื่องต่าง ๆ เช่น ไกรทอง ของจังหวัดพิจิตร เป็นต้น แต่ปัจจุบันได้สูญหายไปจนหมดแล้ว แต่ในต่างประเทศยังคงพบอยู่เช่นที่ทะเลสาบเขมร ประเทศกัมพูชา โดยเฉพาะทิวเขาพนมกระวาน ซึ่งช่วงแรกค้นพบเพียง 3 ตัว จนนำไปสู่การค้นพบจระเข้นับร้อยตัวที่อาศัยโดยไม่พึ่งพาอาศัยมนุษย์ แต่ที่นี่ก็ประสบปัญหาการจับจระเข้ไปขายฟาร์มจำนวนมาก สถานะในอนุสัญญาของไซเตส ได้ขึ้นบัญชีจระเข้น้ำจืดไว้อยู่ในบัญชีหมายเลข 1 (Appendix 1) ปัจจุบัน จระเข้สายพันธุ์นี้แท้ ๆ ก็ยังหายากในสถานที่เลี้ยง เนื่องจากถูกผสมสายพันธุ์กับจระเข้สายพันธุ์อื่นจนเสียสายพันธุ์แท้ไปด้วยจากเหตุผลทางด้านเศรษฐก.

ดู เกาะสุมาตราและจระเข้น้ำจืด

จักรวรรดิบรูไน

ักรวรรดิบรูไน (Bruneian Empire) จัดตั้งขึ้นเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 12 บนเกาะบอร์เนียว ในยุคแรกปกครองโดยกษัตริย์ที่นับถือศาสนาฮินดู ก่อนจะเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งได้รับอิทธิพลทั้งจากมุสลิมอินเดียและชาวอาหรับที่เข้ามาค้าขาย ไม่มีหลักฐานในท้องถิ่นที่จะยืนยันการมีอยู่ แต่ในเอกสารจีนได้อ้างถึงบรูไนในยุคเริ่มแรก โบนี (Boni) ในภาษาจีนอ้างถึงดินแดนเกาะบอร์เนียว ในขณะที่ โปลี (Poli 婆利) ที่อาจจะตั้งอยู่ที่เกาะสุมาตรา มักจะถูกกล่าวว่าหมายถึงบรูไนด้วย หลักฐานเก่าสุดที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างบอร์เนียว (โบนี 渤泥) และจีนบีนทึกไว้ใน (Taiping huanyuji 太平環宇記) ในสมัยของสุลต่านโบลเกียห์ ซึ่งเป็นสุลต่านองค์ที่ 5 ของบรูไน บรูไนมีอำนาจครอบคลุมเกาะบอร์เนียวทั้งหมด และบางส่วนของฟิลิปปินส์ เช่น เกาะมินดาเนา ซึ่งถือเป็นยุคทองของบรูไน กองทัพบรูไนมีกองทัพเรือที่แข็งแกร่ง บางส่วนเป็นโจรสลัดในทะเลจีนใต้ และชายฝั่งของเกาะบอร์เนียว หลักฐานทางตะวันตกชิ้นแรกที่กล่าวถึงบรูไนคืองานเขียนของชาวอิตาลี ลูโดวิโก ดี วาร์เทมา ผู้เดินทางมายังหมู่เกาะโมลุกกะและแวะพักที่เกาะบอร์เนียวเมื่อราว..

ดู เกาะสุมาตราและจักรวรรดิบรูไน

จักรวรรดิมองโกล

อาณาเขตของจักรวรรดิมองโกล จักรวรรดิมองโกล (มองโกล: Mongolyn Ezent Güren; Mongol Empire) ซึ่งมีอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 เป็นจักรวรรดิทางบกที่มีอาณาเขตต่อเนื่องใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ กำเนิดในสเต็ปป์เอเชียกลาง สุดท้ายจักวรรดิมองโกลมีอาณาเขตครอบคลุมยุโรปตะวันออกจนถึงทะเลญี่ปุ่น ขยายไปทางเหนือเข้าไปในไซบีเรีย ทางตะวันออกและใต้เข้าไปในอนุทวีปอินเดีย อินโดจีนและที่ราบสูงอิหร่าน และทางตะวันตกไปไกลถึงเลแวนต์และคาบสมุทรอาหรับ จักรวรรดิรวมเผ่าชนเร่ร่อนมองโกเลียในประวัติศาสตร์ภายใต้การนำของเจงกิสข่าน ผู้ได้รับประกาศเป็นผู้ปกครองชาวมองโกลทั้งปวงใน..

ดู เกาะสุมาตราและจักรวรรดิมองโกล

จักรวรรดิปาละ

ักรวรรดิปาละ (Pala Empire) เป็นจักรวรรดิที่ปกครองบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของเอเชียใต้ ปาละมักจะได้รับการบรรยายโดยศัตรูว่าเป็น “ประมุขแห่งกวาดา” (Gaur, West Bengal) คำว่า “ปาละ” ในภาษาเบงกอล (পাল pal) แปลว่า “ผู้พิทักษ์” และใช้เป็นสร้อยพระนามของกษัตริย์ทุกพระองค์ ปาละเป็นผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายมหายานและลัทธิตันตระ พระเจ้าโคปาละทรงเป็นกษัตริย์องค์แรกของราชวงศ์ผู้ขึ้นครองราชย์ในปี..

ดู เกาะสุมาตราและจักรวรรดิปาละ

จังหวัดสุมาตราตะวันตก

มาตราตะวันตก (Sumatera Barat) หรือเรียกอย่างย่อว่า ซุมบาร์ (Sumbar) เป็นจังหวัดทางภาคตะวันตกของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ประชากรในปี..

ดู เกาะสุมาตราและจังหวัดสุมาตราตะวันตก

จังหวัดสุมาตราใต้

มาตราใต้ (Sumatera Selatan) เป็นจังหวัดหนึ่งทางตอนใต้ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย มีประชากรทั้งหมด 7,446,401 คน (สำมโนประชากรปี 2553) มีเมืองหลักชื่อปาเล็มบัง.

ดู เกาะสุมาตราและจังหวัดสุมาตราใต้

จังหวัดสุมาตราเหนือ

มาตราเหนือ (Sumatera Utara) เป็นจังหวัดหนึ่งบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย มีประชากรมากกว่า 13 ล้านคน เป็นจังหวัดที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศหากไม่นับรวมกรุงจาการ์ต.

ดู เกาะสุมาตราและจังหวัดสุมาตราเหนือ

จังหวัดอาเจะฮ์

อาเจะฮ์ (Aceh) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ทางเหนือสุดของเกาะสุมาตร.

ดู เกาะสุมาตราและจังหวัดอาเจะฮ์

จังหวัดจัมบี

ัมบี (Jambi) เป็นจังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย จังหวัดอยู่ทางตอนกลางของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย มีเมืองหลักชื่อจัมบี จังหวัดมีเนื้อที่ 50,058.16 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 3,092,265 คน ตามการสำรวจสำมะโนประชากร ปี..

ดู เกาะสุมาตราและจังหวัดจัมบี

จังหวัดเรียว

รียว (Riau) เป็นหนึ่งใน 33 จังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของเกาะสุมาตราซึ่งจรดช่องแคบมะละกา มีเมืองหลักชื่อเปอกันบารู จังหวัดมีเนื้อที่ 72,569 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 5,538,367 คน ตามการสำรวจสำมะโนประชากร ปี..

ดู เกาะสุมาตราและจังหวัดเรียว

จารึกสิงคโปร์

จารึกสิงคโปร์ จารึกสิงคโปร์ เป็นชิ้นส่วนของศิลาจารึกที่พบในบริเวณปากแม่น้ำสิงคโปร์ ซึ่งเชื่อกันว่าจารึกดังกล่าวอาจจะทำขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 13 หรืออาจจะเก่าแก่ถึงศตวรรษที่ 10 หรือ จารึกดังกล่าวยังไม่มีผู้ถอดความได้ นักวิชาการได้ตั้งข้อสังเกตว่าข้อความในจารึกดังกล่าวอาจจะเป็นภาษาชวาโบราณหรือภาษาสันสกฤต โดยผู้ที่ทำจารึกดังกล่าวขึ้นน่าจะเป็นชาวสุมาตรา ปัจจุบันจารึกดังกล่าวได้จัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑ์แห่งชาติสิงคโปร์ และถือว่าเป็นสมบัติประจำชาติของสิงคโปร์ หมวดหมู่:จารึก หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์สิงคโปร์ หมวดหมู่:ประเทศสิงคโปร์.

ดู เกาะสุมาตราและจารึกสิงคโปร์

ทะเลสาบโตบา

ทะเลสาบโตบา (Lake Toba Danau Toba) เป็นทะเลสาบและซูเปอร์ภูเขาไฟ มีความยาว 100 กิโลเมตร กว้าง 33 กิโลเมตร จุดที่ลึกที่สุดลึก 505 เมตร ตั้งอยู่ที่ทางเหนือของเกาะสุมาตราในอินโดนีเซีย ที่ระดับความสูง 900 เมตร พิกัดตั้งแต่ ถึง เป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในอินโดนีเซีย และเป็นทะเลสาบปล่องภูเขาไฟที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทะเลสาบโตบาเคยเป็นสถานที่เกิดเหตุซูเปอร์ภูเขาไฟปะทุเมื่อประมาณ 69,000-77,000 ปีก่อน ซึ่งเป็นการปะทุครั้งใหญ่ที่ทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง โดยถูกประมาณให้อยู่ที่ระดับ 8 ของดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟ และเป็นเหตุระเบิดครั้งใหญ่ที่สุดเท่าที่ค้นพบในรอบ 25 ล้านปีที่ผ่านมา ตามทฤษฎีมหันตภัยโตบาแล้ว การปะทุครั้งนั้นส่งผลกระทบไปทั่วโลก มนุษย์ส่วนใหญ่ในขณะนั้นเสียชีวิต และเกิดภาวะคอขวดทางประชากรในแอฟริกาตะวันออกตอนกลางและอินเดีย ซึ่งส่งผลต่อ Genetic inheritance ของมนุษย์ทุกคนในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม สมมุติฐานนี้ไม่เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายเนื่องจากขาดหลักฐานที่แสดงถึงการเสียชีวิตหมู่หรือสูญพันธุ์ของสัตว์ชนิดอื่น แม้แต่สัตว์ที่อ่อนไหวต่อสภาพแวดล้อมGathorne-Hardy, F.

ดู เกาะสุมาตราและทะเลสาบโตบา

ทะเลอันดามัน

แนวแผ่นดินไหวของเกาะสุมาตรา (2547) ภาพดาวเทียมของทะเลอันดามัน แสดงให้เห็นสาหร่ายสีเขียวและตะกอนจากแม่น้ำอิรวดี ทะเลอันดามัน (Andaman Sea; আন্দামান সাগর; अंडमान सागर) หรือ ทะเลพม่า (မြန်မာပင်လယ်,; มยะหม่าปิ่นแหล่) เป็นทะลที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของอ่าวเบงกอล เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอินเดีย ทางเหนือของทะเลติดกับปากแม่น้ำอิระวดีในประเทศพม่า ทางตะวันออกเป็นคาบสมุทรประเทศพม่า ประเทศไทย และประเทศมาเลเซีย ทางตะวันตกเป็นหมู่เกาะอันดามัน และหมู่เกาะนิโคบาร์ ภายใต้การปกครองของอินเดีย ทางใต้ติดกับเกาะสุมาตรา ของอินโดนีเซีย และช่องแคบมะละกา ทะเลอันดามันมีความยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ 1,200 กิโลเมตร กว้าง 645 กิโลเมตร มีพื้นน้ำประมาณ 600,000 ตร.กม.

ดู เกาะสุมาตราและทะเลอันดามัน

ทาร์เซียร์

วีดีโอคลิปทาร์เซียร์ไม่ทราบชนิด ทาร์เซียร์ (tarsier) หรือ มามัก (mamag) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กในอันดับไพรเมตที่วิวัฒนาการมาจากยุคไอโอซีนจนมาถึงยุคปัจจุบัน ที่มีรูปร่างลักษณะไม่เปลี่ยนแปลงจากเดิมมากนัก มีเพียงวงศ์เดียว คือ Tarsiidae และสกุลเดียวเท่านั้น คือ Tarsius.

ดู เกาะสุมาตราและทาร์เซียร์

ทางหลวงสายทรานส์-สุมาตรา

แผนที่แสดงถนนในเกาะสุมาตราและเส้นทางคมนาคมที่เชื่อมต่อไปยังเกาะชวา ทางหลวงสายทรานส์-สุมาตรา (Jalan Raya Trans-Sumatra, Jalan Raya Lintas Sumatera) เป็นถนนแนวเหนือ-ใต้สายหลักในเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย มีระยะทาง 2,508.5 กิโลเมตร และเชื่อมต่อตอนเหนือของเกาะที่เมืองบันดาอาเจะฮ์ เข้ากับตอนใต้ที่เมืองบันดาร์ลัมปุง โดยตัดผ่านเมืองใหญ่ต่าง ๆ เช่น เมดัน, ปาดัง และคาดว่าจะเริ่มพัฒนาถนนให้เป็นทางหลวงเต็มรูปแบบในเดือนมีนาคม..

ดู เกาะสุมาตราและทางหลวงสายทรานส์-สุมาตรา

ทุเรียน

ทุเรียน เป็นไม้ผลในวงศ์ฝ้าย (Malvaceae) ในสกุลทุเรียน (Durio) (ถึงแม้ว่านักอนุกรมวิธานบางคนจัดให้อยู่ในวงศ์ทุเรียน (Bombacaceae) ก็ตาม) เป็นผลไม้ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นราชาของผลไม้วันดี กฤษณพันธ์, สมุนไพรน่ารู้, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 3..

ดู เกาะสุมาตราและทุเรียน

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลานามู

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลานามู (Bandar Udara Internasional Kualanamu) เป็นสนามบินนานาชาติในเดลีเซอดังรีเจนซี จังหวัดสุมาตราเหนือ ประเทศอินโดนีเซีย อยู่ห่างจากเมืองเมดันไปประมาณ 39 กิโลเมตร สนามบินแห่งนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้งานแทนท่าอากาศยานนานาชาติโพโลเนีย สนามบินแห่งนี้ตั้งอยู่ใกล้แหล่งเพาะปลูกปาล์มน้ำมัน และมีแผนพัฒนาให้เป็นสนามบินศูนย์กลางของเกาะสุมาตรา โดยสนามบินแห่งนี้ใหญ่เป็นอันดับที่สองรองจากท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตา แต่ที่นี่เป็นสนามบินแห่งแรกที่มีระบบขนส่งมวลชนโดยตรงกับตัวเมือง สนามบินแห่งนี้ถูกรวมในแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอินโดนีเซีย (MP3EI) และเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์สำคัญของตลาดการบินอาเซียน (ASEAN-SAM) สนามบินเปิดใช้งานครั้งแรกอย่างไม่เป็นทางการในวันที่ 25 กรกฎาคม..

ดู เกาะสุมาตราและท่าอากาศยานนานาชาติกัวลานามู

ท่าอากาศยานนานาชาติสุลต่านมะห์มุด บาดารูดินที่ 2

ท่าอากาศยานนานาชาติสุลต่านมะห์มุด บาดารูดินที่ 2 (Bandar Udara Internasional Sultan Mahmud Badarudin II) เป็นสนามบินนานาชาติในเมืองปาเล็มบัง จังหวัดสุมาตราใต้ ประเทศอินโดนีเซีย ชื่อสนามบินมาจาก สุลต่านมะห์มุด บาดารูดินที่ 2 ซึ่งเป็นสุลต่านแห่งปาเล็มบัง ในช่วงปี..

ดู เกาะสุมาตราและท่าอากาศยานนานาชาติสุลต่านมะห์มุด บาดารูดินที่ 2

ขบวนการอาเจะฮ์เสรี

งของขบวนการอาเจะฮ์เสรี ขบวนการอาเจะฮ์เสรี (Gerakan Aceh Merdeka; GAM) หรือ แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติอาเจะฮ์สุมาตรา (Aceh Sumatra National Liberation Front) เป็นขบวนการแบ่งแยกดินแดนที่เรียกร้องเอกราชในบริเวณอาเจะฮ์ที่อยู่ในเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย การต่อสู้ด้วยความรุนแรงขององค์กรยุติลงหลังจากการเจรจาสันติภาพกับรัฐบาลอินโดนีเซีย เมื่อ..

ดู เกาะสุมาตราและขบวนการอาเจะฮ์เสรี

ดอกบุกยักษ์

อกบุกยักษ์ หรือ ดอกซากศพ (Titan arum) เป็นพืชที่มีดอกลักษณะคล้ายกับองคชาต ซึ่งจะบาน 72 ชั่วโมง และมีกลิ่นเหม็นคล้ายปลา เนื้อสัตว์เน่า หรือซากศพ ถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อปี..1878 ทางหมู่เกาะสุมาตรา สูงโดยเฉลี่ยราว 1.6 เมตร.

ดู เกาะสุมาตราและดอกบุกยักษ์

ดารุลอิสลาม

รุลอิสลาม (Darul Islam) หมายถึง สำนักอิสลาม เป็นกลุ่มกบฏต่อต้านรัฐบาลสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ก่อตั้งเมื่อเดือนมีนาคม..

ดู เกาะสุมาตราและดารุลอิสลาม

ดินแดนสุวรรณภูมิ

วรรณภูมิ เป็นชื่อเรียกดินแดนที่มีการกล่าวถึงในคัมภีร์โบราณหลายฉบับในทางพระพุทธศาสนา ซึ่งคำว่าสุวรรณภูมินี่มีความหมายว่า แผ่นดินทอง ดินแดนสุวรรณภูมิ จึงแปลว่า ดินแดนแห่งทองคำ หมายถึงดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์ ปรากฏในคัมภีร์ของพระพุทธศาสนา ส่วนมากปรากฏในคัมภีร์ชาดก (เรื่องราวที่มีอดีตมายาวนาน) เช่น มหาชนกชาดก กล่าวถึงพระมหาชนกเดินทางมาค้าขายที่สุวรรณภูมิ แต่เรือแตกกลางทะเล ในสมัยสังคายนาครั้งที่ 3 ราว พ.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและดินแดนสุวรรณภูมิ

ดีปา นูสันตารา ไอดิต

ท้ายที่ปรากฏต่อสาธารณชนของดีปา นูสันตารา ไอดิต ดีปา นูสันตารา ไอดิต (Dipa Nusantara Aidit) เป็นผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียระหว่าง..

ดู เกาะสุมาตราและดีปา นูสันตารา ไอดิต

ด้วงกว่างสามเขาจันทร์

้วงกว่างสามเขาจันทร์ หรือ ด้วงกว่างสามเขาคอเคซัส (Giant rhinoceros beetle) เป็นด้วงกว่างสามเขาสีดำที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ตัวที่ใหญ่ที่สุดพบเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์แมลงของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มีขนาดลำตัวยาวถึง 120 มิลลิเมตร.

ดู เกาะสุมาตราและด้วงกว่างสามเขาจันทร์

ครามนอก

รามนอก เป็นพืชในสกุลคราม พบใน ลาว เวียดนาม เกาะสุมาตรา ในไทยพบทางตะวันออกเฉียงเหนือตามทุ่งโล่งและริมถนน กิ่งอ่อนมีขนกระจายทั่วไป ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ ดอกย่อยสีชมพู ฝักทรงกระบอก เหยียดตรง.

ดู เกาะสุมาตราและครามนอก

ครามเครือ

รามเครือ var.

ดู เกาะสุมาตราและครามเครือ

คริสต์ทศวรรษ 2000

ริสต์ทศวรรษ 2000 (2000s) คือคริสต์ทศวรรษตามปฏิทินเกรโกเรียน เริ่มต้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ดู เกาะสุมาตราและคริสต์ทศวรรษ 2000

ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน

มลหมอกจากไฟไหม้ป่าจากสุมาตรา, อินโดนีเชียในใจกลางเมืองสิงคโปร์เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศ. 2006 ภาพจากดาวเทียมแสดงไฟไหม้ป่าในบอร์เนียวในปี ค.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน

คาบสมุทรมลายู

มุทรมลายู คาบสมุทรมลายู หรือ แหลมมลายู (Semenanjung Tanah Melayu; Malay Peninsula) เป็นคาบสมุทรขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วางตัวเกือบอยู่ในแนวเหนือ-ใต้ และเป็นจุดที่อยู่ใต้สุดของทวีปเอเชีย ส่วนที่แคบที่สุดของคาบสมุทรมลายู คือ คอคอดกระ ชายฝั่งด้านตะวันตกเฉียงใต้แยกออกจากเกาะสุมาตราด้วยช่องแคบมะละกา มีเกาะบอร์เนียวอยู่ทางตะวันออกในทะเลจีนใต้.

ดู เกาะสุมาตราและคาบสมุทรมลายู

ค่างดำมลายู

งดำมลายู หรือ ค่างดำ (Banded surili) เป็นค่างชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย มีรูปร่างทั่วไปคล้ายค่างชนิดอื่น ๆ ขนตามลำตัวสีน้ำตาลเข้มจนถึงดำ ขนบริเวณท้องอ่อนกว่าสีตามลำตัว หน้าอกมีสีขาว มีวงแหวนสีขาวรอบดวงตามากกว่าค่างชนิดอื่น ๆ เหมือนสวมแว่นตา ปลายหางมีรูปทรงเนียวเล็กและมีสีอ่อนกว่าโคนหาง ลูกเมื่อยังแรกเกิดจะมีขนสีทอง ส่วนหัวมีสีเทาเข้ม มีความยาวลำตัวและหัวประมาณ 48-58 เซนติเมตร ความยาวหาง 72-84 เซนติเมตร มีน้ำหนักประมาณ 5-7 กิโลกรัม ค่างดำมลายูพบกระจายพันธุ์ตั้งแต่แหลมมลายูลงไปจนถึง เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา ในอินโดนีเซีย มีนิเวศวิทยามักอาศัยในป่าที่ใกล้กับแหล่งน้ำ อาทิ บึงหรือชายทะเล บางครั้งอาจพบในป่าที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 600-2,200 เมตร อยู่รวมกันเป็นฝูง ในจำนวนสมาชิกไม่มากนักเมื่อเทียบกับค่างชนิดอื่น คือ ประมาณ 5-10 ตัวเท่านั้น สถานะของค่างดำมลายูในประเทศไทย เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ดู เกาะสุมาตราและค่างดำมลายู

ค่างแว่นโฮส

งแว่นโฮส (Miller's grizzled langur, Hose's langur, Gray leaf monkey) เป็นค่างชนิด Presbytis hosei มีขนบริเวนใบหน้าสีดำและมีขนปุกปุยสีขาวคล้ายสวมเสื้อคลุมตั้งแต่คางลงไปตลอดหน้าท้อง จมูกและริมฝีปากสีชมพู มีสีขาวเป็นวงรอบดวงตาคล้ายสวมแว่นตา มีหางยาว มีอุปนิสัยอยู่รวมกันเป็นฝูง ค่างแว่นโฮสเป็นสัตว์ที่ตกอยู่ในสภาวะใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากถิ่นที่อยู่อาศัยในธรรมชาติถูกทำลายลงจากการบุกรุกตัดไม้ทำลายป่าของมนุษย์และไฟป่า รวมทั้งฆ่าเพื่อเอาหินบีซอร์ที่อยู่ในกระเพาะเพื่อใช้ในทำพิธีกรรมทางเวทมนตร์ตามความเชื่อ อันเนื่องจากค่างจะกินหินบีซอร์ลงไปเพื่อช่วยในการย่อยอาหาร โดยจะพบได้เฉพาะทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว เกาะสุมาตรา เกาะชวา และคาบสมุทรมลายูเท่านั้น ในต้นปี ค.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและค่างแว่นโฮส

ค่างเทา

งเทา หรือ ค่างหงอก (อังกฤษ: Silvered langur, Silvery lutung, Silvered leaf monkey) ค่างชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Trachypithecus cristatus จัดเป็นลิงโลกเก่าชนิดหนึ่ง ค่างเทามีรูปร่างหน้าตาคล้ายกับค่างดำมลายู (Presbytis femoralis) ขนตามลำตัวเป็นสีเทาเข้ม ปลายขนเป็นสีขาวหรือสีเงิน ทำให้แลดูคล้ายผมหงอกของมนุษย์ อันเป็นที่มาของชื่อ บนหัวจะมีขนยาวเป็นหงอนแหลม ใบหน้ามีสีดำไม่มีวงแหวนสีขาวรอบดวงตา มือและเท้าเป็นสีดำ ลูกค่างที่เกิดใหม่ขนตามลำตัวจะเป็นสีเหลืองทอง มีความยาวลำตัวถึงหัว 49-57 เซนติเมตร ความยาวหางประมาณ 72-84 เซนติเมตร น้ำหนัก 6-8 กิโลกรัม มีชนิดย่อยด้วยกัน 2 ชนิด มีพฤติกรรมอาศัยอยู่บนต้นไม้สูง ในบางครั้งอาจพบในป่าพรุด้วย อาหารของค่างชนิดนี้ได้แก่ ใบอ่อนของต้นไม้, ผลไม้ และแมลงตัวเล็ก ๆ จะออกหากินในเวลากลางวัน มักอยู่รวมเป็นฝูงประมาณ 10-15 ตัว มีการกระจายพันธุ์ในแถบภาคตะวันตก, ภาคเหนือของไทย, ภาคใต้ของลาว, พม่า, เวียดนาม, ตอนใต้ของจีน, กัมพูชา, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวาและเกาะบอร์เนียว.

ดู เกาะสุมาตราและค่างเทา

งูก้นขบ

งูก้นขบ (Red-tailed pipe snakeSpecies at The Reptile Database. Accessed 17 August 2007.) เป็นงูไม่มีพิษชนิดหนึ่ง ยาวได้ถึง 1 เมตรBurnie D, Wilson DE.

ดู เกาะสุมาตราและงูก้นขบ

งูหลามปากเป็ด

งูหลามปากเป็ด (Blood python) เป็นงูไม่มีพิษ มีลำตัวที่อ้วน หนา กว่างูหลามและงูเหลือม แต่มีหางที่สั้นแลดูไม่สมส่วน และมีลวดลายที่แปลกออกไป มีหลายหลากสี ทั้งน้ำตาล, แดง, เหลือง, ส้ม หรือ เขียว โดยงูแต่ละตัวจะมีสีสันและลวดลายต่างกันออกไป ขนาดโตเต็มที่ได้ประมาณ 1.50 เมตร จัดเป็นงูที่มีขนาดเล็กที่สุดในสกุลนี้Mehrtens JM.

ดู เกาะสุมาตราและงูหลามปากเป็ด

งูเหลือม

งูเหลือม (Reticulated python) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลื้อยคลาน เป็นงูขนาดใหญ่ ลำตัวยาวเฉลี่ยประมาณ 3.5-6 เมตร จัดเป็นงูที่ยาวที่สุดของโลกซึ่งตัวที่ยาวที่สุดยาวถึง 9.6 เมตร ถูกจับได้เมื่อปี..

ดู เกาะสุมาตราและงูเหลือม

งูเขียวหัวจิ้งจกมลายู

งูเขียวหัวจิ้งจกมลายู (Malayan green whipsnake, Big-eye green whipsnake) เป็นงูพิษอ่อนชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ahaetulla mycterizans อยู่ในวงศ์ Colubridae มีลักษณะทางกายภาพทั่วไปคล้ายคลึงกับงูเขียวปากจิ้งจก (A.

ดู เกาะสุมาตราและงูเขียวหัวจิ้งจกมลายู

งูเขียวหางไหม้ลายเสือ

งูเขียวหางไหม้ลายเสือ หรือ งูพังกา (Shore pit viperBrown JH.U.S. Navy. 1991. Poisonous Snakes of the World. US Govt. New York: Dover Publications Inc. 203 pp. ISBN 0-486-26629-X.) เป็นงูพิษชนิดหนึ่ง มีพิษอ่อน เมื่อเข้าใกล้จะสั่นหางขู่และฉกกัดอย่างรวดเร็ว ออกหากินในเวลากลางคืน อาศัยบนต้นไม้เป็นพุ่มเตี้ยๆ ตามป่าชายเลน หรือตามริมฝั่งคลองที่ติดกับทะเล พบในประเทศอินเดีย (รัฐอัสสัม, หมู่เกาะอันดามัน), ประเทศบังกลาเทศ, ประเทศพม่า, ประเทศไทย, มาเลเซียตะวันตก, ประเทศสิงคโปร์ และ ประเทศอินโดนีเซีย (เกาะสุมาตรา).

ดู เกาะสุมาตราและงูเขียวหางไหม้ลายเสือ

ตะพาบแก้มแดง

ตะพาบแก้มแดง (Malayan solf-shell turtle) เป็นตะพาบชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย จัดเป็นตะพาบขนาดเล็กที่สุดเป็นอันดับสองที่พบในประเทศไทย (เล็กที่สุด คือ ตะพาบหับพม่า (Lissemys scutata)) กระดองสีเทาเข้มมีจุดสีดำทั่วไป หัวสีเทานวลมีรอยเส้นสีดำตลอดตามแนวกระดูกสันหลังจนถึงส่วนท้ายกระดอง มีสีแดงที่แก้มและข้างคอ เมื่อยังเล็กมีจุดสีดำคล้ายดวงตากระจายไปทั่วกระดองเห็นชัดเจน ตะพาบที่พบที่จังหวัดตากและกาญจนบุรีมีสีเข้มกว่าและไม่มีสีแดงที่แก้ม มีจมูกยาว หางสั้น และมีขาเล็ก จัดเป็นตะพาบเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Dogania ขนาดโตเต็มที่กระดองยาวประมาณ 1 ฟุต หนักประมาณ 15 กิโลกรัม ถิ่นที่อยู่อาศัย พบในพม่า, มาเลเซีย, บรูไน, สุมาตรา, อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ สำหรับประเทศไทยพบบ้างที่จังหวัดตาก, กาญจนบุรี และพบมากทางภาคใต้ แถบจังหวัดชุมพร และจังหวัดนครศรีธรรมราช ชอบอยู่ในห้วยหนอง คลองบึงทั่วไป และมีชุกชุมตามลำธารบนภูเขา การสืบพันธุ์ออกไข่ครั้งละ 3-7 ฟอง ปัจจุบันเป็นสัตว์น้ำคุ้มครองตามประกาศของกรมประมง และสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 โดยมีชื่อเรียกในภาษาอีสานว่า "ปลาฝาดำ".

ดู เกาะสุมาตราและตะพาบแก้มแดง

ตะโขง

ตะโขง หรือ จระเข้ปากกระทุงเหว หรือ ตะโขงมลายู (Malayan gharial, False gharial) เป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ในอันดับจระเข้ อยู่ในวงศ์ตะโขง (Gavialidae) จัดเป็นหนึ่งในสองชนิดของวงศ์นี้ที่ยังสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน แต่จัดว่าเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นในสกุล Tomistoma อนึ่ง บางข้อมูลได้จัดให้ตะโขงอยู่ในวงศ์จระเข้ (Crocodylidae).

ดู เกาะสุมาตราและตะโขง

ติมอร์ก่อนเป็นอาณานิคม

ติมอร์ เป็นเกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาเกาะที่อยู่ระหว่างเกาะชวากับเกาะนิวกินี ชาวยุโรปเข้ามายึดติมอร์ไว้เป็นอาณานิคมตั้งแต..

ดู เกาะสุมาตราและติมอร์ก่อนเป็นอาณานิคม

ตูอัก

ทหารและชาวพื้นเมืองกำลังดื่มตูอัก ตูอัก (Tuak) เป็นเครื่องดื่มที่หมักด้วยยีสต์จากปาล์มและน้ำตาล นิยมดื่มในอินโดนีเซียบริเวณสุมาตรา ซูลาเวซี บอร์เนียว และบางส่วนของมาเลเซีย เช่น เกาะปีนังและมาเลเซียตะวันออก ในบางครั้งหมายถึงไวน์ข้าวได้ด้วย เป็นเครื่องดื่มที่นิยมในหมู่ชาวอีบันและชาวดายักอื่นๆในซาราวะก์ระหว่างเทศกาลกาไว งานแต่งงาน ต้อนรับแขก และโอกาสพิเศษ การทำตูอักจากข้าวจะแผ่ข้าวเหนียวที่หุงสุกแล้วบนพื้นเรียบที่เย็น เติมยีสต์ ถ้าเติมเท่ากับข้าวจะได้ตูอักขม ถ้าต้องการรสหวานจะเติมยีสต์น้อยลง ผสมให้เข้ากับข้าว นำไปหมักในเหยือก 3-10 วัน ส่วนที่เป็นของแข็งจะลอยขึ้นมาข้างบน เคี่ยวน้ำตาลกับน้ำให้เป็นน้ำเชื่อม พักให้เย็นเติมลงในส่วนผสมที่หมักไว้ เมื่อหมักครบกำหนดจะรับประทานได้ ถ้าเก็บไว้นานสีจะเข้มและมีกลิ่นคล้ายผึ่ง.

ดู เกาะสุมาตราและตูอัก

ซิตีลิงก์

การบินซิติ้ลิ้งเป็นสายการบินราคาประหยัดที่ตั้งโดยสายการบินแห่งชาติ การูด้าอินโดนีเซียเป็นสายการบินลูกของการูด้าอินโดนีเซี.

ดู เกาะสุมาตราและซิตีลิงก์

ซุนดาแลนด์

แม่น้ำคาปัวส์ในภาคตะวันออกของเกาะบอร์เนียว อินโดนีเซีย ซุนดาแลนด์ (Sundaland, Sundaic region) เป็นชื่อเรียกการแบ่งเขตภูมิศาสตร์ทางชีวภาพในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเรียกบริเวณตั้งแต่ภาคใต้ของประเทศไทยลงไปถึงมาเลเซีย, อินโดนีเซีย, เกาะบอร์เนียว, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา และเกาะบาหลี โดยสภาพอากาศของซุนดาแลนด์นั้น มีความชื้นสูง ในบางพื้นที่ฝนอาจตกติดต่อกันหลายวันจนเป็นสัปดาห์ ความแตกต่างของแต่ละฤดูกาลมีไม่มากนัก พรรณพืชที่ขึ้นนั้นโดยมากเป็นพืชที่ไม่ต้องใช้แสงอาทิตย์ในการเติบโต ลักษณะป่าเป็นป่าดิบชื้นมีต้นไม้ขนาดใหญ่ขึ้นหนาแน่น สัตว์ป่าที่อยู่อาศัย มักเป็นสัตว์ที่หากินตามพื้นหรือสามารถอาศัยหากินได้บนต้นไม้สูง เช่น บ่าง (Cynocephalus variegatus), เซียแมง (Symphalangus syndactylus), แมวป่าหัวแบน (Prionailurus planiceps) เป็นต้น.

ดู เกาะสุมาตราและซุนดาแลนด์

ประวัติศาสตร์บรูไน

ประวัติศาสตร์บรูไน สุลต่านแห่งบรูไนทรงสร้างจักรวรรดิบรูไนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ปกครองตั้งแต่ทางตอนเหนือของเกาะบอร์เนียวและทางตอนใต้ของฟิลิปปินส์ ต่อมามีสงครามกับสเปนสั้น ๆ ทำให้บรูไนเริ่มอ่อนกำลังลง จนบรูไนเสียดินแดนซาราวะก์ให้กับรายาผิวขาว จนกระทั่งต้องยอมอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ จนบรูไนได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ดู เกาะสุมาตราและประวัติศาสตร์บรูไน

ประวัติศาสตร์หน่วยเงินในประเทศไทย

วิวัฒนาการเงินตราไทยในอดีต วิวัฒนาการเงินตราไทย เริ่มตั้งแต่กลุ่มชนดั้งเดิมในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ได้อาศัยอยู่ในดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบันตั้งแต่ราว 38,000 ปีมาแล้ว ก่อนจะได้รับวัฒนธรรมจากอินเดียนั้น กลุ่มชนเหล่านี้ติดต่อค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้ากัน โดยใช้สิ่งของเป็นสื่อกลาง เมื่อวัฒนธรรมอินเดียแพร่เข้ามาจึงเริ่มผลิตเงินตราเป็นสื่อกลางค้าขาย ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-16 ในวัฒนธรรมแบบฟูนัน-ทวารวดี ได้ผลิตเหรียญกลมแบนจากโลหะเงิน ดีบุก ทองแดง โดยใช้แม่พิมพ์ตราสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น พระอาทิตย์ สังข์ แพะ ปูรณกลศ ตัวอักษร เป็นต้น ซึ่งสื่อถึงความเชื่อทางศาสนาพราหมณ์ อำนาจรัฐ กษัตริย์ และความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์ ช่วงพุทธศตวรรษที่ 13-18 อาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งเป็นเมืองท่าค้าขายบริเวณคาบสมุทรภาคใต้ของไทยมีอำนาจควบคุมเส้นทางการค้าทางทะเล มีการผลิตเงินดอกจันทน์และเงินนโม เพื่อระบบเศรษฐกิจอย่างแพร่หลาย ราวพุทธศตวรรษที่ 19 ราชอาณาจักรสุโขทัยและล้านนาก็ถือกำเนิดขึ้นและได้ติดต่อค้าขายกับราชอาณาจักรในลุ่มเจ้าพระยา คือ กรุงศรีอยุธยา ตลอดจนดำเนินการค้าทางทะเลกับจีน อินเดีย ยุโรป และได้ติดต่อค้าขายกับกลุ่มชนทางตอนเหนือของไทย เช่น ล้านช้าง ยูนาน น่านเจ้า เป็นต้น และไปไกลถึงเปอร์เซีย อาหรับ ในดินแดนตะวันออกกลาง ราชอาณาจักรสุโขทัย ล้านนา กรุงศรีอยุธยา ได้ผลิตคิดค้นเงินตราขึ้นใช้ในระบบเศรษฐกิจ พร้อมกันนั้นก็ยอมรับเงินตราของต่างชาติด้วย เงินตราที่ใช้ในอาณาจักรล้านนา ได้แก่ เงินไซซี เงินกำไล เงินเจียง เงินท้อก เงินดอกไม้ ส่วนราชอาณาจักรสุโขทัยและอยุธยาได้ผลิตเงินพดด้วง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะของตนเองขึ้นใช้ และใช้เบี้ยหอยแทนเงินปลีกย่อย บางครั้งเบี้ยหอยขาดแคลนก็ได้ผลิตเบี้ยโลหะและประกับดินเผาขึ้นใช้ร่วมด้วย ภายหลังราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาสลายลง กรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ถือกำเนิดขึ้นตามลำดับ ก็ยังคงใช้เงินพดด้วงเช่นครั้งกรุงศรีอยุธยา จนกระทั่งถึงรัชกาลที่ 4 การเปิดประเทศสยามสู่อารยประเทศ มีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบเงินตราให้เป็นสากล นำไปสู่การผลิตเงินตราในลักษณะเหรียญกลมแบนออกใช้เป็นครั้งแรก ต่อมารัชกาลที่ 5 จึงทรงประกาศยกเลิกการใช้เงินพดด้วง นับตั้งแต่นั้นเงินตราไทยจึงคงลักษณะเป็นเหรียญกลมแบนต่อเนื่องมาจวบจนปัจจุบัน.

ดู เกาะสุมาตราและประวัติศาสตร์หน่วยเงินในประเทศไทย

ประวัติศาสนาพุทธ

นาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน นิกายมหายานได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเสื่อมลง พุทธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมตามไปด้วย ยังคงเหลือในจีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม ส่วนนิกายเถรวาทได้เฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งในศรีลังกา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังโลกตะวันตกตั้งแต่ครั้งโบราณ แต่ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ดู เกาะสุมาตราและประวัติศาสนาพุทธ

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ดู เกาะสุมาตราและประเทศอินโดนีเซีย

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2472

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2472 ในประเทศไท.

ดู เกาะสุมาตราและประเทศไทยใน พ.ศ. 2472

ปลาช่อนจุดอินโด

ปลาช่อนจุดอินโด (Green spotted snakehead, Ocellated snakehead, Eyespot snakehead) เป็นปลาช่อนชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Channa pleurophthalma ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) มีรูปร่างเพรียวยาวในวัยอ่อน แต่เมื่อปลาโตขึ้นแล้วจะเปลี่ยนเป็นหัวแหลมแต่ส่วนลำตัวกลับป้อม คล้ายปลาชะโด (C.

ดู เกาะสุมาตราและปลาช่อนจุดอินโด

ปลาบ้า (สกุล)

ปลาบ้า (Leptobarbus) เป็นสกุลปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะที่สำคัญทางอนุกรมวิธาน คือ มีหัวกว้าง มีหนวดยาว 2 คู่ ปากค่อนข้างกว้าง มุมปากอยู่หน้านัยน์ตา เกล็ดมีขนาดปานกลาง เส้นข้างลำตัวอยู่ต่ำกว่าแนวกลางลำตัว ไปสิ้นสุดลงที่ส่วนล่างของโคนหาง ครีบหลังมีก้านครีบแขนง 7 ก้าน และที่ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 5 ก้าน เป็นปลาที่กินพืช โดยเฉพาะเมล็ดพืชเป็นอาหาร สกุลปลาบ้ามีทั้งหมด 4 ชนิด พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ประเทศไทย ไปจนถึงเกาะบอร์เนียว และเกาะสุมาตรา นับเป็นปลาจำพวกปลาซิวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบได้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นี้ สำหรับในประเทศไทยพบเพียงแค่ชนิดเดียว.

ดู เกาะสุมาตราและปลาบ้า (สกุล)

ปลากระดี่ช็อกโกแลต

ปลากระดี่ช็อกโกแลต (Chocolate gourami) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sphaerichthys osphromenoides ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) มีรูปร่างบางเฉียบ ส่วนหัวแหลมโดยเฉพาะบริเวณปลายปาก ตากลมโต สีลำตัวเป็นสีน้ำตาลเข้มคล้ายสีของช็อกโกแลตจึงเป็นที่มาของชื่อ มีจุดวงกลมสีดำที่ใกล้โคนครีบหาง ในขณะที่ชื่อวิทยาศาสตร์นั้น คำว่า Sphaerichthys หมายถึงวงกลม และ osphromenoides หมายถึงเหมือน osphromenus อันที่เคยเป็นชื่อพ้อง มีจุดเด่นคือ มีลายพาดวงกลมสีขาว 3-4 วง พาดผ่านตลอดทั้งลำตัวทั้งสองข้าง ปลาตัวผู้จะมีสีแดงเข้มกว่าปลาตัวเมีย และมีขนาดลำตัวที่ใหญ่กว่า มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 6 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในคาบสมุทรมลายูของมาเลเซีย จนถึงเกาะบอร์เนียวและสุมาตรา ในอินโดนีเซีย เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ทว่าเลี้ยงได้ยากมาก ต้องอาศัยการดูแลอย่างดี เนื่องจากเป็นปลาที่อาศัยอยู่ในน้ำค่อนข้างเย็น กล่าวคือ อุณหภูมิประมาณ 22-26 องศาเซลเซียส และค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำเป็นสภาพเป็นกรดเล็กน้อย คือประมาณ 6-6.5 pH มีพฤติกรรมเช่นเดียวกับปลาในวงศ์นี้ชนิดอื่น ๆ คือ รักสงบ ชอบลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ บริเวณผิวน้ำ หรือแอบอยู่ตามพืชน้ำ การแพร่พันธุ์ตัวผู้จะเป็นฝ่ายสร้างหวอดในการวางไข่ และเป็นฝ่ายดูแลไข่จนกว่าจะเป็นตัว โดยไข่จะมีปริมาณ 18 ฟอง ใช้เวลาฟักเป็นตัวราว 10-14 วัน แต่เมื่อเป็นตัวแล้วปลาตัวผู้จะไม่ดูแลไข่ ซึ่งถ้าเป็นในที่เลี้ยงอาจจะกินลูกตัวเองได้ เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันมากในยุโรป ซึ่งถือว่าเป็นปลาที่มีราคาถูก แต่สำหรับในประเทศทางเอเชียถือเป็นปลาราคาแพง และหาได้ค่อนข้างยาก.

ดู เกาะสุมาตราและปลากระดี่ช็อกโกแลต

ปลากระดี่ช็อกโกแลต (สกุล)

ปลากระดี่ช็อกโกแลต เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Sphaerichthys ในวงศ์ Macropodusinae อันเป็นวงศ์เดียวกับปลาในปลากัด (Betta spp.) และปลากริม (Trichopsis spp.) โดยอยู่ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae รูปร่างโดยรวมของปลาในสกุลนี้ คือ มีลำตัวขนาดเล็ก มีรูปร่างบาง แบนข้าง ส่วนหัวแหลม ตากลมโตมีขนาดใหญ่ มีสีลำตัวออกไปทางสีน้ำตาลเข้มหรือสีน้ำตาลแดงเหมือนช็อกโกแลต อันเป็นที่มาของชื่อ โดยที่ปลาตัวผู้จะมีสีแดงสดกว่าตัวเมีย และที่สำคัญคือ มีจุดเด่นที่เห็นได้ชัดคือ มีลายพาดขวางลำตัวเหมือนสร้อยสีขาว 3-4 ขีด (คำว่า Sphaerichthys ซึ่งเป็นชื่อสกุลหมายถึง วงกลม)ขนาดลำตัวโดยเฉลี่ยประมาณ 6 เซนติเมตร เป็นปลาที่พบได้ในมาเลเซีย, เกาะบอร์เนียว และเกาะสุมาตรา ในอินโดนีเซียเท่านั้น พบทั้งสิ้น 4 ชนิดนี้.

ดู เกาะสุมาตราและปลากระดี่ช็อกโกแลต (สกุล)

ปลากะทิ

ปลากะทิ เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cyclocheilichthys heteronema ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาชนิดหนึ่งที่อยู่ในสกุล Cyclocheilichthys.

ดู เกาะสุมาตราและปลากะทิ

ปลากัดค็อกซินา

ปลากัดค็อกซินา (Wine-red betta) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) จัดเป็นปลากัดป่าชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในประเภทปลากัดก่อหวอด มีลำตัวเรียวยาว หัวและตามีขนาดใหญ่ ลำตัวและครีบสีแดงสดทั้งตัว ซึ่งชื่อวิทยาศาสตร์ที่ว่า "coccina" นั้น หมายถึง "แดงดั่งเหล้าองุ่น" เมื่อตกใจหรืออยู่ในภาวะเครียดสีจะซีด แลเห็นจุดวงกลมขนาดใหญ่สีเขียวที่กลางลำตัว อย่างชัดเจน ขณะที่เมื่อมีสีสดใสจุดดังกล่าวจะเป็นสีน้ำเงิน เห็นได้ขัดเจน ปลายครีบหางและครีบหลังมีแถบสีขาวเล็ก ๆ มีขนาดโตเต็มที่ 30-40 มิลลิเมตร ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่ตัวผู้จะมีสีสันสดใสและครีบต่าง ๆ ยาวกว่า พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำบนเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย, รัฐยะโฮร์และมะละกาของมาเลเซีย แต่ไม่พบในประเทศไทย นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีราคาขายค่อยข้างแพงและหายาก ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง โดยเลี้ยงรวมกันเป็นฝูงก่อน จากนั้นจึงค่อยให้ปลาจับคู่กัน จะประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี หากเลี้ยงในน้ำที่มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างต่ำกว่าค่าความเป็นกลาง (ค่า pH ต่ำว่า 7) ในที่เลี้ยงชอบก่อหวอดในโพรงไม้หรือกระถางใต้น้ำ และบนผิวน้ำ.

ดู เกาะสุมาตราและปลากัดค็อกซินา

ปลาการ์ตูนแดง

ปลาการ์ตูนแดง หรือ ปลาการ์ตูนแก้มหนาม (Maroon clownfish, Spine-cheeked clownfish) เป็นปลาน้ำเค็มขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Premnas biaculeatus จัดอยู่ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae) วงศ์ย่อยปลาการ์ตูน (Amphiprioninae) จัดเป็นปลาการ์ตูนเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Premnas ซึ่งแตกต่างไปจากปลาการ์ตูนชนิดอื่น ๆ ที่อยู่ในสกุล Amphiprion สิ่งที่ทำให้ปลาการ์ตูนแดงมีความแตกต่างจากปลาการ์ตูนชนิดอื่น ๆ คือ บริเวณแก้มหรือแผ่นปิดเหงือกมีหนามยื่นออกมาจากตรงกลาง อยู่เหนือริมฝีปากเล็กน้อยขึ้นไปจนถึงบริเวณใต้ดวงตา ซึ่งสามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่า มีลักษณะลำตัวแบนกว้าง มีโครงสร้างที่ค่อนข้างใหญ่กว่าปลาการ์ตูนชนิดอื่น ๆ โดยเฉพาะปลาเพศเมียที่โดยปกติจะมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้อยู่แล้ว และมีสีที่คล้ำกว่า ครีบอกมีขนาดใหญ่ ลำตัวมีสีแดงก่ำ บริเวณแผ่นปิดเหงือก กึ่งกลางลำตัว และโคนหาง มีแถบสีขาวพาด สีของปลาการ์ตูนแดงค่อนข้างหลากหลาย ในปลาขนาดเล็กจะมีตั้งแต่สีแดงสดจนถึงแดงก่ำ และจะค่อย ๆ เข้มขึ้นจนปลาเจริญเติบโตเต็มที่ ขณะที่บางตัวในขนาดเล็กจะมีแต้มสีดำบริเวณตามครีบต่าง ๆ และจะจางหายไปเมื่อปลาโตขึ้น จัดเป็นปลาการ์ตูนที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง โดยมีความยาวเต็มที่ประมาณ 17 เซนติเมตร มีอุปนิสัยก้าวร้าวห่วงถิ่นค่อนข้างมาก พบแพร่กระจายพันธุ์ในทะเลเขตอินโด-แปซิฟิกจนถึงเกาะไต้หวัน เช่น เกาะสุมาตราในอินโดนีเซีย และเกรต แบร์ริเออร์ รีฟ ในออสเตรเลีย เป็นต้น โดยจะอาศัยอยู่กับดอกไม้ทะเลชนิด Entacmaea quadricolor เพียงชนิดเดียวเท่านั้น ซึ่งปลาการ์ตูนแดงในเริ่มแรกที่มีการค้นพบและทำการอนุกรมวิธาน ถูกเข้าใจว่าเป็นปลาในวงศ์เดียวกับปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) โดยถูกจับได้ในปี ค.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและปลาการ์ตูนแดง

ปลาการ์ตูนแดงดำ

ปลาการ์ตูนแดงดำ หรือ ปลาสลิดหินส้ม (Red saddleback anemonefish, Saddle clownfish, Black-backed anemonefish) เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง มีลักษณะและสีสันคล้ายกับปลาการ์ตูนมะเขือเทศ (A.

ดู เกาะสุมาตราและปลาการ์ตูนแดงดำ

ปลายอดม่วงลาย

ปลายอดม่วงลาย (River tonguesole) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cynoglossus fledmanni ในวงศ์ปลายอดม่วง (Cynoglossidae) มีรูปร่างคล้ายปลายอดม่วงเกล็ดถี่ (C.

ดู เกาะสุมาตราและปลายอดม่วงลาย

ปลาสลาด

ปลาสลาด หรือ ปลาฉลาด เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Notopterus notopterus อยู่ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) มีปากกว้างไม่เกินลูกตาเหมือนปลาในวงศ์นี้ชนิดอื่น ๆ พื้นลำตัวมีสีเรียบ ยกเว้นปลาวัยอ่อนจะมีลายบั้งเหมือนปลากราย (Chitala ornata) วัยอ่อน จมูกมีสองคู่ คู่หน้ายื่นออกมาคล้ายหลอดหรือหนวด มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 20-30 เซนติเมตร จัดเป็นปลาที่เล็กที่สุดชนิดหนึ่งของวงศ์นี้ และเป็นเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Notopterus พบในแม่น้ำและแหล่งน้ำนิ่งทั่วประเทศไทย ในต่างประเทศพบได้ที่ภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ไปจนถึงเกาะสุมาตราและชวาหรือบอร์เนียว เป็นปลาที่หาง่าย มักอยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ อาหารได้แก่ ลูกกุ้ง ลูกปลา สัตว์น้ำขนาดเล็ก เป็นปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง และนิยมนำเนื้อไปทำทอดมันแทนเนื้อปลากรายซึ่งมีราคาแพงกว่าได้ นอกจากนี้ยังแปรรูปเป็นอาหารอื่น ๆ ได้อีก เช่น ลูกชิ้นสับนก หรือรมควัน เป็นต้น และยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีก โดยเฉพาะปลาที่กลายสีเป็นสีเผือก ปลาสลาด ยังมีชื่อเรียกอย่างอื่นอีก เช่น "ปลาตอง" หรือ "ปลาตองนา".

ดู เกาะสุมาตราและปลาสลาด

ปลาสวายหนู

ปลาสวายหนู เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Helicophagus waandersii อยู่ในวงศ์ปลาสวาย (Pangasiidae) มีลักษณะหัวหลิม ตาเล็ก ขอบตามีแผ่นหนังคลุม จะงอยปากเรียว ปากเล็กกว่าปลาในวงศ์นี้ชนิดอื่น ๆ ริมฝีปากบางมีแผ่นหนังนิ่มหุ้ม รูจมูกอยู่ห่างกัน หนวดทั้ง 2 คู่ยาวถึงช่องเปิดเหงือก รูปร่างเพรียวแบนข้างเล็กน้อย ครีบก้นยาว ครีบไขมันยาว ลำตัวสีเทาอ่อนหรืออมฟ้า ด้านข้างลำตัวสีจางไม่มีแถบสี หัวและท้องสีจางอมชมพู ครีบสีจาง ปลาวัยอ่อนมีสีเทาอมชมพู มีขนาดประมาณ 30-40 เซนติเมตร ใหญ่สุดประมาณ 60 เซนติเมตร อาหารกินแต่เฉพาะหอยขนาดเล็ก ทั้งหอยฝาเดียวและหอยฝาคู่ โดยมักหากินใกล้พื้นท้องน้ำ มักกินจุจนท้องป่อง แล้วถ่ายออกมาเฉพาะเปลือก อาศัยอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ พบในแม่น้ำโขงและเจ้าพระยา ไม่พบในภาคใต้ของไทย แต่มีในมาเลเชียจนถึงเกาะสุมาตรา ในอินโดนีเชีย ในประเทศไทยบริโภคโดยการปรุงสุดและหมักสับปะรด (เค็มบักนัด) ปลาสวายหนู มีชื่อที่เรียกในภาษาถิ่นอีสานว่า "ยอนหนู" และ "หน้าหนู" ปัจจุบัน กรมประมงได้มีการศึกษาเอนไซน์ในระบบการย่อยอาหารของปลาสวายหนู เพื่อนำไปศึกษาเพื่อพัฒนาเป็นการเลี้ยงในเชิงพาณิชย์ต่อไป.

ดู เกาะสุมาตราและปลาสวายหนู

ปลาหมูอินโด

ปลาหมูอินโด (Clown loach) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมู (Botiidae) ลำตัวมีลักษณะกลมยาวรี แบนข้างเล็กน้อย ปกคลุมด้วยเกล็ดขนาดเล็กละเอียด มีปากขนาดเล็กแหลม มีหนวดสั้น ๆ ที่ริมฝีปาก 2 คู่ มีตาขนาดเล็ก ใต้ตาจะมีหนามแหลมสั้นทั้งสองข้าง สามารถกางออกมาป้องกันตัวได้ ลำตัวมีสีเหลืองอมส้ม มีแถบสีดำขนาดใหญ่ขอบสีขาวพาดขวางลำตัว 3 แถบ คือ พาดผ่านลูกตา 1 แถบ พาดลำตัวช่วงต้นคอรอบอก 1 แถบ ใกล้โคนหาง โดยพาดจากครีบหลังถึงครีบทวาร 1 แถบ ครีบว่ายและครีบหางมีสีแดง ครีบนอกนั้นมีสีดำ จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ในวงศ์นี้ชนิดหนึ่ง คือ สามารถโตเต็มที่ได้ราว 1 ฟุต มีถิ่นกำเนิดที่เกาะบอร์เนียวและสุมาตรา ในอินโดนีเซีย เดิมปลาหมูอินโดใช้ชื่อสกุล ว่า Botia แต่ในปี ค.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและปลาหมูอินโด

ปลาหนวดพราหมณ์หนวดเจ็ดเส้น

ปลาหนวดพราหมณ์หนวดเจ็ดเส้น หรือ ปลาหนวดพราหมณ์ (Paradise threadfin) ปลาน้ำกร่อยที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดได้ อยู่ในวงศ์ปลากุเรา (Polynemidae) มีส่วนหัวขนาดเล็ก ตามีขนาดเล็กอยู่เกือบสุดปลายส่วนหัวและมีเยื่อไขมันคลุม ปากกว้างมีฟันซี่เล็กละเอียดบนขากรรไกร ลำตัวแบนข้าง ครีบอกยาว ส่วนที่เป็นเส้นยาวมีความยาวมากกว่าลำตัวถึง 2 เท่า โดยเฉพาะเส้นบนมีทั้งหมดข้างละ 10 เส้น ครีบหางเว้าลึกปลายแหลม เกล็ดเล็กละเอียดมีลักษณะเป็นปากฉลาม ตัวมีสีเงินวาวอมชมพูหรือสีเนื้อ หัวสีจางอมชมพูหรือสีเนื้อ ครีบสีจาง ด้านท้องสีจาง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10 - 15 เซนติเมตร ใหญ่สุดพบถึง 20 เซนติเมตร นิยมอยู่เป็นฝูง บางครั้งหากินด้วยการหงายท้องล่าเหยื่อ พบมากในแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง แม่น้ำบางปะกง, แม่น้ำแม่กลอง และแม่น้ำโขงตอนล่าง ในต่างประเทศพบได้จนถึงบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา เป็นปลาที่นิยมใช้บริโภคโดยการปรุงสดและทำปลาตากแห้ง นิยมตกเป็นเกมกีฬา อีกทั้งด้วยความสวยงามของหนวดที่ยาว ทำให้ได้รับความนิยมในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย แต่เลี้ยงให้รอดได้ยากมาก เนื่องจากเป็นปลาที่เปราะบาง มักตายอย่างง่าย ๆ จึงทำให้มีราคาค่อนข้างสูงแต่ในต่างประเทศนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามเป็นอย่างมาก โดยมีราคาเฉลี่ย 500 ถึง 1,500 บาท แล้วแต่ขนาดและความสมบูรณ์ของปล.

ดู เกาะสุมาตราและปลาหนวดพราหมณ์หนวดเจ็ดเส้น

ปลาอิแกลาเอ๊ะ

ปลาอิแกลาเอ๊ะ เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาหวีเกศ (Schilbeidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Pseudeutropius (/ซู-ดิว-โทร-เพียส/) เป็นปลาหนังขนาดเล็ก พบอาศัยครั้งแรกบนเกาะบอร์เนียวและสุมาตรา ลำตัวเรียวยาวและแบนข้าง แต่หัวเป็นรูปกระสวย มีหนวด 4 คู่ ระหว่างจมูกคู่หน้ากับคู่หลัง 1 คู่ ริมฝีปากบน 1 คู่ ริมฝีปากล่าง 1 คู่ และที่คาง 1 คู่ นัยน์ตาโตมีบางส่วนอยู่ใต้มุมปาก ครีบหลังสั้นมีเงี่ยงปลายแหลมขอบจักเป็นฟันเลื่อย 1 อัน และมีก้านครีบแขนง 5-6 ก้าน ครีบไขมันเล็ก ครีบก้นมีฐานยาว ครีบอกมีเงี่ยงแข็งและขอบจักเป็นฟันเลื่อย ครีบหางเว้าเป็นแฉกลึก มีการจำแนกไว้ทั้งหมด 6 ชนิด กระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย ได้แก.

ดู เกาะสุมาตราและปลาอิแกลาเอ๊ะ

ปลาดัง

ปลาดัง ชื่อสกุลของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาหนังจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Hemisilurus (/เฮม-อิ-ซิ-ลู-รัส/) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลาในสกุล Ceratoglanis ซึ่งเคยถูกจัดให้อยู่ในสกุลเดียวกันมาก่อน แต่ทว่าปลาในสกุลปลาดังนั้น จะมีความลาดที่ส่วนหลังหลังจากหัวสูงกว่า หนวดมีขนาดยาวกว่าและมีพฤติกรรมกระดิกหนวดเพื่อช่วยในการหาอาหารได้เร็วน้อยกว่าปลาสกุล Ceratoglanis มีความยาวตั้งแต่ 50–80 เซนติเมตร โดยที่คำว่า Hemisilurus นั้นมาจากภาษากรีก ที่หมายถึง "ครึ่ง" (ημι) ของ "ปลาเนื้ออ่อน" (silurus) พบทั้งหมด 3 ชนิด ได้แก.

ดู เกาะสุมาตราและปลาดัง

ปลาดุกด้าน

ปลาดุกด้าน (อังกฤษ: Walking catfish, Batrachian walking catfish; ชื่อวิทยาศาสตร์: Clarias batrachus) เป็นปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาดุก (Clariidae) มีรูปร่างค่อนข้างยาวเรียว ส่วนหางค่อนข้างแบน มีสีเทาปนดำ ส่วนท้องมีสีขาว สามารถเคลื่อนที่บนบกได้เป็นระยะทางสั้น ๆ โดยใช้ครีบ เรียกว่า "ปลาแถก" ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 50 เซนติเมตร พบได้ในพื้นที่ลุ่มน้ำโขง, ลุ่มน้ำเจ้าพระยา, คาบสมุทรมลายู, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, ฟิลิปปินส์ และมีรายงานว่าพบในศรีลังกา, บังกลาเทศ, อินเดีย และพม่า ถูกควบคุมการซื้อขายในประเทศเยอรมนี และมีรายงานจากบางประเทศว่าส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศหลังจากนำเข้าไป เนื่องจากเป็นเอเลี่ยนสปีชีส์ ปลาดุกด้านเป็นปลาที่ใช้เป็นอาหารชนิดสำคัญชนิดหนึ่ง และปลาสีเผือกหรือสีที่แปลกไปจากปกติ ยังถูกเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย ในประเทศไทย ปลาดุกด้านถือเป็นปลาน้ำจืดเศรษฐกิจที่สำคัญอีกชนิดหนึ่ง ถูกนำมาปรุงเป็นอาหารต่าง ๆ เช่น ปลาดุกย่าง, ปลาดุกฟู หรือปลาหยอง เป็นต้น.

ดู เกาะสุมาตราและปลาดุกด้าน

ปลาตอง

ปลาตอง (Clown knifefishes, Featherbackfishes) เป็นสกุลปลากระดูกแข็งที่อยู่ใน วงศ์ปลากราย (Notoperidae) อันดับปลาลิ้นกระดูก (Osteoglossiformes) ใช้ชื่อสกุลว่า Chitala (/ไค-ตา-ลา/).

ดู เกาะสุมาตราและปลาตอง

ปลาตะพัด

ปลาตะพัด หรือที่นิยมเรียกว่า ปลาอาโรวาน่า (Malayan bonytongue fish, Arowana, Asian arowana, Arawana) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae) ซึ่งถือได้ว่าเป็นปลาที่สืบเผ่าพันธุ์มาตั้งแต่ปลาในยุคก่อนประวัติศาสตร์ จัดได้ว่าเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตชนิดหนึ่ง นับว่าเป็นปลาที่ใกล้สูญพันธุ์ในธรรมชาติ เนื่องจากเป็นปลาที่สืบพันธุ์ยาก ประกอบกับแหล่งที่อยู่ถูกทำลายไป ได้รับความนิยมอย่างสูงของนักเลี้ยงปลาสวยงาม ในฐานะของปลาสวยงาม ราคาแพง และถือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ดู เกาะสุมาตราและปลาตะพัด

ปลาตะเพียนลาย

ปลาตะเพียนลาย หรือ ปลาตะเพียนม้าลาย (Striped barb, Zebra barb) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างเรียวยาว มีลายสีดำทั้งหมด 4 แถบ ยาวตามแนวนอนตามลำตัว ลายแต่ละเส้นขนานกัน ลำตัวสีเหลืองจาง ๆ เกล็ดเป็นเงามันสะท้อนแสงแวววาว เม่อยังเป็นลูกปลาวัยอ่อน ลายตามลำตัวจะเป็นแนวขวาง และค่อย ๆ กลายเป็นแนวนอนเมื่อปลาโตขึ้นหน้า 70, ตะเพียน Update, "คุยเฟื่องเรื่องปลาไทย" โดย อ.ชัยวุฒิ กรุดพันธุ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ดู เกาะสุมาตราและปลาตะเพียนลาย

ปลาซิวหางกรรไกร

ปลาซิวหางกรรไกร หรือ ปลาซิวหางดอก (Scissor-tailed rasbora, Three-lined rasbora) เป็นปลาซิวชนิดหนึ่ง ในสกุล Rasbora มีรูปร่างเรียวยาว แบนข้าง ท่อนหางยาว ส่วนหลังโค้ง หัวโต นัยน์ตาโต ท้องใหญ่ ครีบใหญ่ เกล็ดตามลำตัวมีสีขาวเงินปนน้ำตาล หลังมีสีน้ำตาลปนดำ มีแถบสีดำตามลำตัว มีลายดำบนแฉกของครีบหาง หางแฉกเว้าคล้ายกรรไกรอันเป็นที่มาของชื่อ จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในสกุลนี้ เนื่องจากสามารถโตเต็มที่ได้ 15 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ กินพืชน้ำและแพลงก์ตอนสัตว์น้ำเป็นอาหาร รวมถึงแมลงขนาดเล็กด้วย ในประเทศไทยพบได้ที่ แม่น้ำเจ้าพระยา, แม่น้ำโขง และภาคใต้ ในต่างประเทศพบได้เรื่อยไปจนถึงคาบสมุทรมลายู, เกาะบอร์เนียว และเกาะสุมาตรา เป็นปลาที่สามารถพบได้ทั่วไปในธรรมชาติ นิยมนำมาบริโภคกันในท้องถิ่นที่อาศัย และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะการเลี้ยงในตู้ไม้น้ำ ปัจจุบัน สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง โดยการคัดเลือกพ่อแม่ปลาที่สมบูรณ์ จากนั้นจึงฉีดฮอร์โมนกระตุ้นให้แก่ปลาตัวผู้ และปล่อยทั้งคู่ผสมพันธุ์และวางไข่กันในตู้เลี้ยงหรือบ่อ.

ดู เกาะสุมาตราและปลาซิวหางกรรไกร

ปลาซิวข้างขวาน

ปลาซิวข้างขวาน หรือ ปลาซิวขวาน เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่งจำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Trigonostigma เดิมปลาในสกุลนี้เคยถูกจัดให้อยู่ในสกุล Rasbora แต่ปัจจุบันนี้ได้ถูกแยกออกมาต่างหาก ตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและปลาซิวข้างขวาน

ปลาซิวข้างขวานโกลว์ไลต์

ปลาซิวข้างขวานโกลว์ไลต์ (glowlight rasbora, porkchop rasbora) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาซิวจำพวกปลาซิวข้างขวานชนิดหนึ่ง แตกต่างจากปลาซิวข้างขวานชนิดอื่นตรงที่มีสีบริเวณลำตัวใสสามารถมองทะลุได้ แต่ยังมีลักษณะเด่นตรงรูปขวานสีดำกลางลำตัว ขนาบไปด้วยสีน้ำตาลแดงไปจนถึงหาง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 3 เซนติเมตร เป็นปลาที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงในเกาะสุมาตราและบอร์เนียว นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ แต่ในประเทศไทย เป็นปลาที่ค่อนข้างหายาก.

ดู เกาะสุมาตราและปลาซิวข้างขวานโกลว์ไลต์

ปลาซิวคาโลโครม่า

ปลาซิวคาโลโครม่า (Clown rasbora, Big-spot rasbora) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ลำตัวเรียวยาวมีสีน้ำตาลแดง มีจุดเด่น คือ จุดวงกลมสีดำ 2 จุด โดยเฉพาะจุดหลังที่เป็นจุดขนาดใหญ่ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร จัดเป็นปลาซิวที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง พบกระจายพันธุ์บนแผ่นดินใหญ่ของคาบสมุทรมลายู เช่น รัฐเซอลาโงร์, ตรังกานู, ปะหัง, ซาราวะก์ และยะโฮร์ในมาเลเซีย และหมู่เกาะต่าง ๆ ในอินโดนีเซีย เช่น เกาะบอร์เนียว, สุมาตรา, จังหวัดกาลีมันตันตะวันออก และกาลีมันตันใต้ เป็นปลาที่อาศัยอยู่รวมเป็นฝูงในน้ำที่มีสภาพเป็นพรุ ที่มีเศษใบไม้และกิ่งไม้ร่วงอยู่ก้นพื้นน้ำ และปล่อยสารแทนนินออกมาทำให้สีของน้ำดูคล้ำ สภาพน้ำมีความเป็นกรดซึ่งอาจจะต่ำไปถึงขั้น 4 pH ได้ ซึ่งพื้นที่อาศัยในธรรมชาติในปัจจุบันกำลังถูกคุกคามจากการทำปาล์มน้ำมัน และสวนยางพารา นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ.

ดู เกาะสุมาตราและปลาซิวคาโลโครม่า

ปลาซิวใบไผ่มุก

ปลาซิวใบไผ่มุก หรือ ปลาซิวใบไผ่เล็ก หรือ ปลาซิวเจ็ดสี (Pearl danio, White-lined danio, Rearing danio) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างเรียวยาวแบนข้าง หัวและจะงอยปากมน ปากกว้าง มีหนวดยาวที่ริมฝีปากบน 1 คู่ และที่มุมปาก 1 คู่ เกล็ดมีขนาดใหญ่มีลักษณะบางและหลุดง่าย ครีบหลังค่อนไปทางทางด้านหาง ครีบก้นสั้น ครีบหางเว้าตื้น เส้นข้างลำตัวไม่สมบูรณ์ ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 2 ก้าน และก้านครีบแขนง 7 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยว 3 ก้าน และก้านครีบแขนง 13 ก้าน มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 3.5 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางทั้งในแม่น้ำสาละวิน, แม่น้ำแม่กลอง, แม่น้ำเจ้าพระยา, แม่น้ำโขง และแม่น้ำต่าง ๆ ในภาคใต้ รวมถึงแหล่งน้ำในป่าพรุด้วย โดยมักซ่อนอยู่ใต้ซากใบไม้ และพบเรื่อยไปจนถึงเกาะสุมาตรา ในประเทศอินโดนีเซีย เป็นปลาที่กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เป็นปลาที่มีความสวยงามมากชนิดหนึ่ง จึงนิยมเก็บรวบรวมจากธรรมชาติเพื่อส่งขายเป็นปลาสวยงาม ซึ่งปัจจุบันสามารถที่จะเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว.

ดู เกาะสุมาตราและปลาซิวใบไผ่มุก

ปลาแรด

ปลาแรด (Giant gourami) เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในวงศ์ Osphroneminae ซึ่งอยู่ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae นับเป็นปลาแรดชนิดที่เป็นที่รู้จักมากที.

ดู เกาะสุมาตราและปลาแรด

ปลาแขยงทอง

ปลาแขยงทอง หรือ ปลาอิแกลาเอ๊ะ (ภาษาอินโดนีเซีย: Ikan nuayang) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pseudeutropius moolenburghae อยู่ในวงศ์ปลาหวีเกศ (Schilbeidae) มีรูปร่างเพรียวยาว นัยน์ตาโต มีหนวดทั้งหมด 4 คู่ ที่ระหว่างจมูกคู่หน้ากับคู่หลัง 1 คู่ ริมฝีปากบน 1 คู่ ริมฝีปากล่าง 1 คู่ และที่คาง 1 คู่ มีครีบไขมันขนาดเล็กอยู่ใกล้ครีบหาง ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 42-49 ก้าน ครีบหางเว้าเป็นแฉกลึก ลำตัวมีสีเหลืองเหลือบทองจาง ๆ มีจุดสีดำที่บริเวณหน้าครีบหลัง มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง กินอาหารจำพวก แมลง, แมลงน้ำ และกุ้งขนาดเล็ก ในประเทศไทยพบได้ที่แม่น้ำสาละวินในแถบจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในต่างประเทศพบได้ที่ เกาะสุมาตราและบอร์เนียว โดยปลาชนิดนี้เป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพของน้ำได้เป็นอย่างดี เป็นปลาที่ชาวพื้นเมืองที่จะนิยมนำมาบริโภคกันโดยจับได้ในปริมาณทีละมาก ๆ ใช้หมักเค็มกับเกลือ เป็นปลาที่ความสวยงามมากชนิดหนึ่ง นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางนัก.

ดู เกาะสุมาตราและปลาแขยงทอง

ปลาแค้

ปลาแค้ (Devil catfish, Goonch, Bagarius catfish; বাঘাইর) เป็นปลากระดูกแข็งในสกุล Bagarius (/บา-กา-เรียส/) อยู่ในอันดับปลาหนัง ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae).

ดู เกาะสุมาตราและปลาแค้

ปลาแค้วัว

ปลาแค้วัว หรือ ปลาแค้ (Dwarf goonch, Devil catfish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae) มีลักษณะหัวแบนราบมีด้านบนโค้งและด้านล่างเรียบ จะงอยปากยื่นยาว มองจากด้านบนจะโค้ง หนวดเป็นเส้นแข็งมีผังผืดที่ริมฝีปาก ตาเล็กอยู่ด้านบนของหัว มีลักษณะคล้ายตาของงูหรือจระเข้ คือ มีม่านตาดำเล็กเป็นช่องแนวตั้ง ปากกว้างมากมีฟันเป็นเขี้ยวแหลมคมอย่างสัตว์ดุร้าย ส่วนหลังยกสูง ลำตัวแบนราบเล็กน้อย ครีบหลังยกสูงมีก้านครีบแข็งแหลมคมเช่นเดียวกับครีบอก ที่ปลายครีบอก ครีบท้อง ครีบหลัง มีลักษณะเป็นเส้นเรียวยาว โดยเฉพาะในตัวเมีย ผิวหนังสาก บนหัวมีกระ ไม่เรียบ ตัวมีสีเขียวมะกอกหรือน้ำตาลอ่อนอมเหลือง มีประด่างสีคล้ำและสีดำตลอดลำตัวด้านบนและครีบ ด้านท้องสีจาง ครีบท้องของปลาแค้วัวจะตั้งตรงอยู่แนวเดียวกับด้านท้ายของครีบหลัง เป็นปลาล่าเหยื่อ กินปลาและซากสัตว์เป็นอาหาร อาศัยอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ของทุกภาคในประเทศไทย พบน้อยในภาคใต้ พบมากในแม่น้ำเจ้าพระยา ในต่างประเทศพบที่อินเดีย, กัมพูชา, เวียดนาม ไปจนถึงเกาะสุมาตรา, บอร์เนียว และชวา มีความยาวเต็มประมาณ 30-40 เซนติเมตร พบใหญ่สุดไม่เกิน 70 เซนติเมตร นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลาตุ๊กแก" เป็นต้น นิยมบริโภคด้วยการปรุงสด เนื้อมีรสชาติดี อร่อย ทำเป็นอาหารได้หลากหลาย เช่น ต้มยำ เป็นต้น มักพบขายในร้านแม่น้ำตามภูมิภาคที่ติดริมแม่น้ำ และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ดู เกาะสุมาตราและปลาแค้วัว

ปลาเบี้ยว

ปลาเบี้ยว หรือ ปลาคางเบือน (Twisted-jaw catfish, Twisted-jaw sheatfish) ชื่อสกุลของปลาน้ำจืด 2 ชนิดในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ซึ่งอยู่ในอันดับปลาหนัง ใช้ชื่อสกุลว่า Belodontichthy (/เบล-โอ-ดอนท์-อิค-ธีส/; "Belo" เป็นภาษากรีกหมายถึง "ทุกทิศทาง", "odon" หมายถึง "ฟัน" และ "ichthyos" หมายถึง "ปลา" มีความหมายรวมหมายถึง "ปลาที่มีฟันทุกทิศทาง") มีรูปร่างโดยรวมคือ ปากกว้างและเชิดขึ้นอันเป็นที่มาของชื่อ ภายในมีฟันแหลมคม ตาโตอยู่ตอนกลางของหัว ใกล้มุมปากมีหนวด 1 คู่ยาวจนถึงครีบอก ครีบหลังเล็กมาก มีก้านครีบแขนง 3 หรือ 4 ก้าน ครีบอกใหญ่ปลายแหลม ครีบท้องเล็ก ครีบหางเล็กเว้าตื้น ตัวมีสีเงินวาวหรือเหลือบสีเขียวอ่อน ด้านท้องสีจาง นัยน์ตามีเยื่อไขมันบาง ๆ คลุม อาศัยอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ กินอาหาร จำพวก สัตว์น้ำขนาดเล็ก พบกระจายพันธุ์อยุ่เฉพาะภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เท่านั้น พบเพียง 2 ชนิด คือ.

ดู เกาะสุมาตราและปลาเบี้ยว

ปลาเสือสุมาตรา

ระวังสับสนกับ ปลาเสือข้างลาย สำหรับ เสือสุมาตรา ที่หมายถึงเสือโคร่งดูที่ เสือโคร่งสุมาตรา ปลาเสือสุมาตรา ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Puntigrus tetrazona อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ์ย่อย Cyprininae มีรูปร่างคล้ายปลาตะเพียนขนาดเล็ก และมีลักษณะคล้ายคลึงกับปลาเสือข้างลาย (P.

ดู เกาะสุมาตราและปลาเสือสุมาตรา

ปลาเสือหกขีด

ปลาเสือหกขีด หรือ ปลาเสือป่าพรุ (Six-band barb) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะและรูปร่างคล้ายกับปลาเสือห้าขีด (D.

ดู เกาะสุมาตราและปลาเสือหกขีด

ปลาเข็ม

ปลาเข็ม (Wrestling halfbeak) เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดและปลาน้ำกร่อยขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Dermogenys อยู่ในวงศ์ปลาเข็ม (Hemiramphidae) มีลักษณะสำคัญทางอนุกรมวิธานคือ ครีบหางตัดตรงหรือเป็นทรงกลม จุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่หลังจุดเริ่มต้นของครีบก้น จำนวนก้านครีบแขนงของครีบหลังน้อยกว่าก้านครีบแขนงของครีบก้น ในปลาตัวผู้ครีบก้นส่วนหน้าจะเปลี่ยนเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ เป็นปลาที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง หากินแมลงเป็นอาหารหลัก ตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ แต่ตัวผู้จะทำหน้าที่เป็นจ่าฝูง ออกลูกเป็นตัว ในตัวผู้มีพฤติกรรมก้าวร้าวมักใช้ปลายปากที่แหลมคมนี้ทิ่มแทงใส่กันอยู่บ่อย ๆ ซึ่งจากพฤติกรรมนี้ได้มีผู้นำเอามาเพาะเลี้ยงเพื่อใช้ต่อสู้กันเป็นการพนันและการละเล่นพื้นบ้านอย่างหนึ่ง ซึ่งเรียกกันว่า "ปลาเข็มหม้อ" เช่นเดียวกับปลากัด พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแหล่งน้ำต่าง ๆ ของทวีปเอเชีย ทั้ง เอเชียอาคเนย์ไปจนถึงแหลมมลายู และเกาะสุมาตรา พบทั้งหมด 12 ชน.

ดู เกาะสุมาตราและปลาเข็ม

ปาดัง

ปาดัง เป็นเมืองใหญ่สุดของชายฝั่งตะวันตกของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย และเป็นเมืองเอกของจังหวัดสุมาตราบาราต ปาดังมีพื้นที่ทั้งหมด และมีประชากรทั้งหมด 923,544 คน จากการสำมะโนประชากรปี 2013.

ดู เกาะสุมาตราและปาดัง

ปาเล็มบัง

ปาเล็มบัง (Palembang) เป็นเมืองหลักของจังหวัดสุมาตราใต้ ทางฝั่งตะวันออกทางตอนใต้ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่บนที่ราบริมแม่น้ำมูซี มีพื้นที่ 400.61 ตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ 1.44 ล้านคน เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของเกาะสุมาตรา รองจากเมืองเมดันซึ่งอยู่ทางตอนเหนือ ปาเล็มบังได้รับคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในสองเมืองหลักที่เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันซีเกมส์ครั้งที่ 26 ระหว่างวันที่ 11 ถึง 22 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและปาเล็มบัง

นกชนหิน

นกชนหิน (Helmeted hornbill) เป็นนกขนาดใหญ่ในวงศ์นกเงือก พบในประเทศไทย มาเลเซีย สุมาตรา และบอร์เนียว จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Rhinoplax.

ดู เกาะสุมาตราและนกชนหิน

นกกก

thumb นกกก หรือ นกกะวะ หรือ นกกาฮัง (Great hornbill, Great indian hornbill, Great pied hornbill) เป็นนกขนาดใหญ่จำพวกนกเงือก นกกกสามารถพบได้ในป่าของอินเดีย, คาบสมุทรมลายู, สุมาตรา และอินโดนีเซีย ด้วยขนาดและสีทำให้นกกกเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญเชิงวัฒนธรรมและพิธีกรรมในหลายชนเผ่า นกกกเป็นนกที่มีอายุยืน นกในกรงเลี้ยงสามารถมีอายุได้ถึง 50 ปี ปกติจะกินผลไม้เป็นอาหาร โดยเฉพาะลูกไทร แต่บางครั้งจะกินสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก, สัตว์เลื้อยคลาน และนกชนิดอื่นเป็นอาหาร นกกกจัดเป็นนกเงือกชนิดที่ใหญ่ที่สุด มีความยาวลำตัวประมาณ 130-150 เซนติเมตร มีปีกสีดำพาดเหลือง ปลายปีกขาว หางสีขาวพาดดำ ตัวผู้มีนัยน์ตาสีแดง ด้านหน้าโหนกที่อยู่บนปากมีสีดำ ส่วนตัวเมียมีนัยน์ตาสีขาว ด้านหน้าโหนกไม่มีสีดำ มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดเล็ก จนกว่าจะโตเต็มที่และหาคู่ได้ มีฤดูผสมพันธุ์ระหว่างเดือนมกราคม-พฤษภาคม โดยตัวผู้จะเป็นฝ่ายเกี้ยวพาราสีตัวเมีย และเสาะหาโพรงไม้ตามต้นไม้ใหญ่ที่นกหรือสัตว์อื่นทิ้งไว้ ทั้งนี้เนื่องจากนกกกไม่สามารถที่จะเจาะโพรงเองได้ เนื่องจากจะงอยปากไม่แข็งแรงพอ ตัวเมียจะใช้เวลาตัดสินใจเข้าโพรงนานอาจนานเป็นสัปดาห์ ทั้งนี้เพราะระยะเวลาที่ตัวเมียจะเข้าไปอยู่ในโพรงเพื่อวางไข่และเลี้ยงดูลูกอ่อนกินเวลานานถึง 3 เดือน ในระยะนี้นกกกตัวผู้จะเอาใจตัวเมียเป็นพิเศษด้วยการบินออกอาหารมาป้อนตัวเมียอยู่สม่ำเสมอ ขณะที่ตัวเมียเมื่อเข้าไปในโพรงแล้วจะปิดปากโพรงเหลือเพียงช่องพอให้ปากของตัวผู้ส่งอาหารมาได้เท่านั้น ด้วยมูล, เศษอาหาร และเศษไม้ในโพรง นกกกตัวเมียใช้เวลากกไข่นาน 1 เดือน อาจวางไข่ได้ 2 ฟอง แต่ลูกนกตัวที่อ่อนแอกว่าอาจตายไปซึ่งเป็นวิถีตามธรรมชาติ เพื่อไม่ให้เป็นภาระของพ่อแม่ เมื่อลูกนกฟักเป็นตัว นกตัวผู้ต้องออกหาอาหารมากยิ่งขึ้นอาจมากถึงวันละ 10 เที่ยว ในระยะทางอาจไกลได้ถึง 10 กิโลเมตร ขณะที่นกตัวเมียจะเป็นฝ่ายสอนลูกนกปิดปากโพรงเพื่อป้องกันอันตรายจากสัตว์นักล่าต่าง ๆ ซึ่งเป็นการสอนที่จะตกทอดต่อไปเรื่อย ๆ จากรุ่นต่อรุ่น เมื่อลูกนกโตพอที่จะบินเองได้แล้ว เนื้อที่ในโพรงเริ่มคับแคบ นกกกตัวเมียจะเป็นฝ่ายพังโพรงรังบินออกมาก่อน ขณะที่ลูกนกจะฝึกซ้อมบินด้วยการกระพือปีกในโพรงและปิดปากโพรงตามที่แม่นกสอน เมื่อลูกนกพร้อมที่จะบินเองแล้ว พ่อแม่นกจะรอให้ลูกนกพังโพรงและบินออกมาเองด้วยการล่อด้วยอาหาร และส่งเสียงร้อง เมื่อลูกนกหิวจะกล้าบินออกมาเอง ในระยะแรกพ่อแม่นกจะยังคอยดูแลลูก จนกว่าจะโตพอที่จะช่วยเหลือตัวเองได้.

ดู เกาะสุมาตราและนกกก

นกกระเต็นน้อยธรรมดา

นกกระเต็นน้อยธรรมดา (Common kingfisher) เป็นนกกระเต็นชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย จัดอยู่ในวงศ์นกกระเต็นน้อย (Alcedinidae) และมีขนาดที่ค่อนข้างเล็กและน่ารัก มีความยาวจากปลายปากจรดปลายหางประมาณ 16–18 เซนติเมตร เมื่อเทียบกับนกกระเต็นชนิดอื่น ๆ แต่จะแตกต่างกันที่ตัวเมียมีโคนปากล่างและอาจทั้งปากล่างเป็นสีส้มแดงขณะที่ตัวผู้มีปากสีดำสนิท.

ดู เกาะสุมาตราและนกกระเต็นน้อยธรรมดา

นกกาน้อยหงอนยาว

นกกาน้อยหงอนยาว เป็นนกในวงศ์นกกา (Corvidae) และัจัดเป็นชนิดเดียวในสกุล Platylophus พบในบรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย พม่า และไทย ถิ่นอาศัยธรรมชาติเป็นที่ราบป่าไม้เขตร้อนหรือกึ่งเขตร้อนความชื้นสูงและเทือกเขาที่มีความชื้นสูงในกึ่งเขตร้อนหรือเขตร้อน ถูกคุกคามโดยการสูญเสียถิ่นที่อยู่อาศั.

ดู เกาะสุมาตราและนกกาน้อยหงอนยาว

นกสาลิกาเขียว

นกสาลิกาเขียว (Common green magpie) เป็นนกชนิดหนึ่งในวงศ์นกกา (Corvidae) มีขนาด 38 ​เซนติ​เมตร มีปากหนาสี​แดงสด วงรอบตาสี​แดง​และมี​แถบสีดำคาด​เหมือนหน้ากาก บริ​เวณกระหม่อมสี​เขียวอม​เหลือง ลำตัวด้านบนสี​เขียวสด ​ใต้ท้องสี​เขียวอ่อน ช่วงปีกตรงหัว​ไหล่​เป็นสี​เขียว ปลายปีก​เป็นสี​แดง​เข้ม ​และตอน​ในของขนกลางปีกมี​แถบสีดำสลับขาว ขาสี​แดงสด ​ใต้หางมีสีดำสลับขาว ​และส่วนปลายหางจะ​เป็นสีขาว ร้องดัง “กวีก.ก..กวีก..ก..ก....” กระจายพันธุ์ในเทือกเขาหิมาลัยในตอนเหนือของภาคตะวันออกของประเทศอินเดียไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านภาคกลางของประเทศไทย มาเลเซีย ถึงเกาะสุมาตราและทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว ในป่าไม่ผลัดใบ ป่า​เบญจพรรณ นกหากินเป็นคู่หรือเป็นฝูงตามต้นไม้และพื้นดิน กินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง, สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดเล็ก ลูกนก และไข่เป็นอาหาร ทำรังอยู่ตามง่าม​ไม้ รัง​ทำจากกิ่ง​ไม้ ​ใบ​ไม้​แห้ง ​และ​ใบ​ไผ่ วางซ้อนกัน​และสาน​ไปมา​เป็นรูปลักษณะถ้วยตื้นๆ ตรงกลางมีกิ่ง​ไม้​เล็กวางรองอีกชั้น ออก​ไข่ครั้งละ 4 - 6 ฟอง.

ดู เกาะสุมาตราและนกสาลิกาเขียว

นกหว้า

นกหว้า (Great argus, Double-banded argus) เป็นไก่ฟ้าขนาดใหญ่ขนสีน้ำตาล หัวและคอเป็นสีฟ้า พบในป่าของเกาะบอร์เนียว, เกาะสุมาตรา และ คาบสมุทรมลายูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชื่อวิทยาศาสตร์ของนกหว้าตั้งโดยคาโรลัส ลินเนียสซึ่งโยงถึงจุดคล้ายตาบนปีกจำนวนมาก โดยตั้งตามชื่อ อาร์กัส ยักษ์ร้อยตาในเทพปกรณัมกรีก เดิมทีนกหว้าเคยถูกให้มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด โดยอีกชนิดหนึ่งนั้นใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Argusianus bipunctatus แต่ปัจจุบันได้ถูกรวมกันเป็นชนิดเดียวกัน ดังนั้นชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อพ้องไป เพราะการสูญเสียที่อยู่และถูกล่าเป็นอาหาร นกหว้าจึงจัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่ถูกคุกคามความเสี่ยงต่ำ (NT) ในบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ และจัดอยู่ในบัญชีที่ 2 ของ CITES.

ดู เกาะสุมาตราและนกหว้า

นกอีวาบตั๊กแตน

นกอีวาบตั๊กแตน (plaintive cuckoo) เป็นนกสกุล Cacomantis ในวงศ์ Cuculidae (วงศ์นกคัคคู) เป็นนกประจำถิ่นของทวีปเอเชีย มีที่อยู่ตั้งแต่อินเดีย จีน อินโดนีเซีย และไท.

ดู เกาะสุมาตราและนกอีวาบตั๊กแตน

นกขุนทอง

แสดงให้เห็นถึงหัวของนกขุนทองชนิดย่อยต่าง ๆ ซึ่งแตกต่างกันที่เหนียง นกขุนทอง หรือ นกเอี้ยงคำ (คำเมือง) เป็นนกในวงศ์นกเอี้ยงและนกกิ้งโครง (Sturnidae) มีถิ่นอาศัยอยู่ทั่วไปในเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ มีความสามารถเลียนเสียงมนุษย์ได้เหมือนนกแก้ว จึงนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงกันสูง.

ดู เกาะสุมาตราและนกขุนทอง

นกคุ่มสี

นกคุ่มสี หรือ ไก่นา (King quail, Blue-breasted quail, Asian blue quail) เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) ตัวผู้มีสีสันเด่นกว่านกคุ่ม (Corturnix spp.) ชนิดอื่นมาก โดยบริเวณหน้าผาก, คิ้ว และด้านข้างของคอเป็นสีน้ำเงินแกมเทา บริเวณใต้ตามีแถบสีขาว 2 แถบ คอหอยสีดำและด้านล่างมีแถบใหญ่สีขาว อกและสีข้างเป็นสีน้ำเงินแกมเทา ลำตัวด้านบนเป็นสีน้ำตาลเข้มมีลายจุดและลายขีดสีดำกระจายอยู่ ลำตัวด้านล่างส่วนที่เหลือเป็นสีน้ำตาลแดง ตัวเมียมีลำตัวด้านบนคล้ายกับตัวผู้ คอหอยสีเนื้อ ลำตัวด้านล่างสีเนื้อแกมม่วง อกและสีข้างมีลายแถบสีออกดำ นิ้วสีเหลืองเข้ม พบกระจายพันธุ์ในประเทศอินเดีย, หมู่เกาะนิโคบาร์, ตอนใต้ของจีน, เกาะไต้หวัน, เกาะไหหลำ, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, หมู่เกาะซุนดาใหญ่, ฟิลิปปินส์ จนถึงทวีปออสเตรเลีย มีพฤติกรรมอาศัยอยู่ในป่าหญ้า, ป่าละเมาะ และทุ่งโล่ง พบอยู่เป็นคู่หรือฝูงเล็ก ๆ หากินในเวลากลางวัน โดยหากินตามพื้นดิน ได้แก่ เมล็ดพืช และแมลงต่าง ๆ เช่น ปลวก เมื่อพบศัตรูซ่อนตามกอหญ้า ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนต่อฤดูฝน ระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน ทำรังด้วยการขุดดินให้เป็นแอ่งเล็ก ๆ บริเวณที่เป็นซุ้มกอหญ้าหรือกอพืช อาจนำใบไม้หรือใบหญ้ามาวางในแอ่งเพื่อรองรับไข่ ออกไข่ครั้งละประมาณ 5-7 ฟอง นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม ในประเทศไทยมีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ปา พุทธศักราช 2535.

ดู เกาะสุมาตราและนกคุ่มสี

นกตีทอง

นกตีทอง (coppersmith barbet, crimson-breasted barbet, coppersmith) เป็นนกโพระดก (Megalaimidae) ที่เล็กที่สุด ตัวเขียว คอเหลือง อกและหน้าผากแดง ขอบตาเหลือง มักเกาะบนต้นไม้สูง รู้จักกันดีเพราะร้องเสียง “ป๊ก ๆ” เป็นจังหวะสมํ่าเสมอเหมือนกับช่างตีทอง (ฝรั่งว่าเหมือนกับช่างตีทองแดง) เป็นนกประจำถิ่นของเอเชียใต้ และบางส่วนของเอเชียอาคเนย์ ทำรังโดยเจาะโพรงไม้เหมือนกับนกโพระดกประเภทอื่น ๆ โดยมากกินผลไม้ เช่น ลูกไทร แต่บางครั้งก็กินแมลงอื่น ๆ ด้วย โดยเฉพาะแมลงเม่า (ปลวกมีปีก) ในประเทศไทย เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 จึงห้ามล่า พยายามล่า ห้ามค้า ห้ามนำเข้าหรือส่งออก ห้ามครอบครอง ห้ามเพาะพันธุ์ ห้ามเก็บหรือทำอันตรายรัง การห้ามการครอบครองและการค้ามีผลไปถึงไข่และซาก.

ดู เกาะสุมาตราและนกตีทอง

นกแว่นสีน้ำตาล

นกแว่นสีน้ำตาล (Malayan Peacock-Pheasant หรือ Crested Peacock-Pheasant) เป็นไก่ฟ้าขนาดกลางในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา เป็นญาติใกล้ชิดกลับนกแว่นบอร์เนียว (P.

ดู เกาะสุมาตราและนกแว่นสีน้ำตาล

นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า

แถบสีฟ้าที่ปีกมักเห็นได้ชัดจนเป็นเอกลักษณ์ นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าเจอร์ดอน เพศผู้ นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าพายัพ เพศผู้ นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าโคชินไชน่า เพศผู้ นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าชวา เพศผู้ นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า (Blue-winged Leafbird) เป็นชนิดพันธุ์หนึ่งของสกุลนกเขียวก้านตองลักษณะพิเศษคือมีแถบสีฟ้าที่ขอบปีกด้านนอก ยาวตั้งแต่หัวปีกถึงปลายปีก โดยความเข้มอ่อนขึ้นอยู่กับอายุและชนิดพันธุ์ย่อยของนก ชนิดพันธุ์นี้พบครั้งแรกในเขตโคชินไชน่า (ปัจจุบันคือเวียดนามใต้) จึงนำชื่อสถานที่พบมาตั้งเป็นชื่อวิทยาศาสตร์ว่า cochinchinensis.

ดู เกาะสุมาตราและนกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า

นกเค้าป่าหลังจุด

นกเค้าป่าหลังจุด (Spotted wood-owl) เป็นนกเค้าแมวในสกุล Strix มีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างแปลก เนื่องจากพบในที่ไม่ต่อเนื่องในหลายพื้นที่รอบเกาะบอร์เนียว แต่กลับไม่พบบนเกาะ มีสามชนิดย่อยคือ.

ดู เกาะสุมาตราและนกเค้าป่าหลังจุด

นากจมูกขน

นากจมูกขน หรือ นากใหญ่หัวปลาดุก (Hairy-nosed otter) เป็นนากชนิดหนึ่งที่สามารถพบได้ในประเทศไทย มีรูปร่างหน้าตาคล้ายนากใหญ่ธรรมดา (L.

ดู เกาะสุมาตราและนากจมูกขน

นากใหญ่ธรรมดา

นากใหญ่ธรรมดา หรือ นากยุโรป (Common otter, European otter) เป็นนากชนิดที่สามารถพบได้กว้างขวางมาก มีลำตัวยาว ขนหนาและหยาบเพื่อป้องกันมิให้น้ำซึมเข้ามา ทำให้ว่ายน้ำได้คล่องแคล่ว และป้องกันอากาศเย็นได้เป็นอย่างดี สีขนตามลำตัวเป็นสีน้ำตาลอ่อน ในบางครั้งอาจเปลี่ยนหรือเห็นเป็นสีเทา บริเวณท้องมีสีขนที่อ่อนกว่า หัวแบนและกว้าง หูกลม หางเรียวยาว ขนสั้น นิ้วเท้ามีพังผืดยึดติดกัน.

ดู เกาะสุมาตราและนากใหญ่ธรรมดา

นากใหญ่ขนเรียบ

นากใหญ่ขนเรียบ (smooth-coated otter) เป็นนากชนิดหนึ่ง จัดเป็นนากชนิดที่ใหญ่ที่สุดที่พบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียมาก มีลักษณะแตกต่างไปจากนากใหญ่ธรรมดา (Lutra lutra) และ นากจมูกขน (L.

ดู เกาะสุมาตราและนากใหญ่ขนเรียบ

นากเล็กเล็บสั้น

นากเล็กเล็บสั้น (oriental small-clawed otter, Asian small-clawed otter) เป็นนากขนาดเล็กที่สุดในโลก ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย ขนตามลำตัวมีสีเทาเข้มหรือสีน้ำตาล แต่สีขนบริเวณท้องจะอ่อนกว่า แต่สามารถเปลี่ยนสีขนได้ตามฤดูกาล ลักษณะเด่นคือ พังผืดบริเวณนิ้วตีนจะมีขนาดเล็กลง ช่วยให้นิ้วเคลื่อนไหวได้คล่องตัวมากขึ้น ใต้คอมีสีขาว มีจมูกที่สั้นมากกว่านากชนิดอื่น ๆ ตัวที่ยังไม่โตเต็มวัยจะมีจมูกยาว และโค้งกว่า เมื่ออายุได้ 5 สัปดาห์จมูกก็จะหดสั้นลง มีความยาวลำตัวและหางประมาณ 45-55 เซนติเมตร ความยาวหาง 25-35 เซนติเมตร น้ำหนัก 1-3 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางทั้งในทวีปแอฟริกาและในทวีปเอเชีย ในทวีปเอเชียพบตั้งแต่ภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย, เนปาล, บังกลาเทศ, ภาคใต้ของจีน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียวและเกาะชวา (แบ่งเป็น 3 ชนิดย่อย ดูในตาราง) นากเล็กเล็บสั้นมีความสามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ในธรรมชาติจะอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำ เช่น ลำธารขนาดเล็ก, ป่าชายเลน, ริมทะเลสาบ, ห้วย, หนอง, คลอง, บึง หรือแม้แต่ในพื้นที่ชุ่มน้ำที่เป็นเขตเกษตรกรรมของมนุษย์ เช่น ตามท้องร่องสวนต่าง ๆ อาหารหลักได้แก่ สัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ แต่ชอบกินปูมากที่สุด มักอาศัยอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ นากเล็กเล็บสั้นไม่ได้ใช้หนวดเป็นประสาทสัมผัสในการรับรู้เหมือนนากชนิดอื่น ๆ เพราะมีประสาทสัมผัสอยู่ที่ขาหน้า ออกลูกตามโพรงไม้หรือโพรงหินที่มีอยู่แล้ว เพราะขาหน้าไม่แข็งแรงพอจะขุดโพรงริมตลิ่งได้เหมือนนากชนิดอื่น ๆ ออกหากินในเวลากลางคืน บางครั้งอาจพบได้ตั้งแต่ช่วงพลบค่ำจนถึงรุ่งเช้า นากเล็กเล็บสั้นหากนำมาเลี้ยงตั้งแต่ยังเล็ก จะเชื่องและสามารถทำตามคำสั่งของมนุษย์ได้ จึงมีการนำมาแสดงโชว์ตามสวนสัตว์ต่าง ๆ เช่น ซาฟารีเวิลด์ เป็นต้น สำหรับในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภาค แม้แต่กระทั่งพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยพบในพื้นที่แถบคลองบางมด เขตทุ่งครุ ฝั่งธนบุรี เป็นนากเล็กเล็บสั้นที่อาศัยอยู่รวมเป็นฝูง มีพฤติกรรมขโมยกินปลาของเกษตรกรในพื้นที่ตามท้องร่องสวนในเวลากลางคืน.

ดู เกาะสุมาตราและนากเล็กเล็บสั้น

นางแย้มป่า

นางแย้มป่า, พนมสวรรค์ป่า หรือ พวงสวรรค์ เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae เป็นพืชใกล้สูญพันธุ์ในไทย ไม้พุ่ม มีขนสั้นหนานุ่มปกคลุม กิ่งเป็นเหลี่ยม ดอกช่อ กลีบเลี้ยงรูประฆัง เกสรตัวผู้ 4 อัน ยื่นยาวพ้นกลีบดอก ผลเมล็ดเดียวแข็ง สีขาว กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดีย อินโดจีน เกาะสุมาตราจนถึงฟิลิปปินส์ ในคาบสมุทรมลายูใช้เปลือกลำต้นกินแทนหมาก.

ดู เกาะสุมาตราและนางแย้มป่า

นิคมช่องแคบ

นิคมช่องแคบ (Straits Settlements; 海峡殖民地 Hǎixiá zhímíndì) คืออาณานิคมของจักรวรรดิบริติชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยดินแดนที่เป็นรัฐปีนัง ดินดิง (ส่วนหนึ่งของรัฐเปรัก) รัฐมะละกา สิงคโปร์ และลาบวนในปัจจุบัน อาณานิคมแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและนิคมช่องแคบ

แมวดาว

แมวดาว (Leopard cat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเสือขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเท่า ๆ กับแมวบ้าน แต่มีความคล่องแคล่วว่องไวกว่ามาก ขนตามลำตัวมีสีน้ำตาลอมเทา ลักษณะเด่นคือ ตามลำตัวมีจุดขนาดเล็กสีดำกระจายอยู่ทั่วไป ด้านข้างของหัวมีแถบสีน้ำตาลเข้ม 4—5 แถบ ขนบริเวณท้องมีสีขาวนวล แมวดาวตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย แมวดาวมีความยาวลำตัวและหัว 44.5—55 เซนติเมตร ความยาวหาง 23—29 เซนติเมตร น้ำหนัก 3—5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง พบตั้งแต่ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, รัสเซีย, อินเดีย, ปากีสถาน, เนปาล, ภาคใต้ของจีน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, สิงคโปร์ แมวดาว สามารถปรับตัวให้อยู่ในพื้นที่หลากหลายสภาพได้ บางครั้งอาจพบในป่าที่ใกล้กับพื้นที่ชุมชน ล่าสัตว์ขนาดเล็ก เช่น หนู, สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก เป็นอาหาร ออกหากินในเวลากลางคืน พักผ่อนในเวลากลางวัน สามารถปีนต้นไม้ได้คล่องแคล่ว และยังสามารถว่ายน้ำได้อีกด้วย ปกติอาศัยและหากินตามลำพัง ยกเว้นในช่วงผสมพันธุ์ ที่อาจพบเห็นอยู่ด้วยกัน 2 ตัว ใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 65—72 วัน ออกลูกครั้งละ 2—4 ตัว จากการศึกษาในสถานที่เลี้ยงมีอายุยืนประมาณ 13 ปี นอกจากนี้แล้ว แมวดาวที่ผสมข้ามสายพันธุ์กับแมวบ้าน จะได้ลูกเป็นแมวพันทางสายพันธุ์ที่เรียกว่า แมวเบงกอล.

ดู เกาะสุมาตราและแมวดาว

แมวป่าหัวแบน

แมวป่าหัวแบน (Flat-headed cat) แมวป่าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Prionailurus planiceps อยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) โดยเป็นแมวป่าขนาดเล็ก ขาและหางสั้น ใบหูเล็ก ขนตามลำตัวสีน้ำตาลแดงหรือส้ม ส่วนปลายของขนแต่ละเส้นมีขาวปนเทาหรือเหลืองอ่อน ลักษณะเด่นคือ หัวที่มีรูปร่างยาวและแบน อันเป็นที่มาของชื่อ ลูกแมวป่าหัวแบนจะมีจุดสีขาวบริเวณหลังหู อุ้งเท้าแคบและยาว มีขนากลำตัวและหัวยาว 46.5 - 48.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 12.8 - 13 เซนติเมตร น้ำหนัก 1.5 - 2.2 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์อยู่ทางภาคใต้ของประเทศไทย, มาเลเซีย, เกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว โดยอาศัยและหากินอยู่ตามพื้นที่ชุ่มน้ำ เช่น ป่าพรุ หรือป่าที่น้ำท่วมขังหรือพื้นที่ใกล้แหล่งน้ำ อาหารได้แก่ สัตว์ขนาดเล็ก เช่น กบ, ปลา, สัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ รวมถึงผลไม้บางประเภทด้วย จัดเป็นเสือชนิดที่หายากชนิดหนึ่งของโลก เนื่องจากพบเห็นตัวได้ยากและมีรายงานพบเห็นในธรรมชาติเพียงไม่กี่ครั้ง แม้แต่ภาพถ่ายก็ยังมีเพียงไม่กี่รูปเท่านั้น ปัจจุบัน สวนสัตว์เปิดเขาเขียว จังหวัดชลบุรี สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว.

ดู เกาะสุมาตราและแมวป่าหัวแบน

แรดชวา

แรดชวา หรือ ระมาด หรือ แรดซุนดา (Javan Rhinoceros) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ในอันดับสัตว์กีบคี่ในวงศ์แรด อยู่ในสกุลเดียวกันกับแรดอินเดีย เป็นหนึ่งในห้าชนิดของแรดที่ยังเหลืออยู่ ลำตัวยาว 3.1–3.2 ม.สูง 1.4–1.7 ม.มีขนาดใกล้เคียงกับแรดดำ เหนือจมูกมีนอสั้น ๆ หนึ่งนอมีขนาดเล็กกว่าแรดทุกชนิด จึงได้อีกชื่อว่า แรดนอเดียว แรดชวาเป็นแรดเอเชียที่มีการกระจายพันธุ์กว้างที่สุดตั้งแต่เกาะในอินโดนีเซีย ตลอดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อินเดีย และจีน ปัจจุบันแรดชวาถูกคุกคามจนอยู่ในขั้นวิกฤติ มีเพียงสองแห่งเท่านั้นที่ยังมีประชากรหลงเหลืออยู่ในป่า ไม่มีแรดชวาจัดแสดงในสวนสัตว์ แรดชวาอาจเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ที่พบได้ยากที่สุดในโลก มีประชากรแรดน้อยกว่า 40-50 ตัวในอุทยานแห่งชาติอูจุงกูลนบนเกาะชวาในประเทศอินโดนีเซีย และประชากรจำนวนเล็กน้อย (ประเมินเมื่อปี พ.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและแรดชวา

แหล่งปลูกกาแฟที่มีชื่อเสียง

แหล่งผลิตกาแฟของโลกr: แหล่งปลูก ''Coffea canephora'' m: แหล่งปลูก ''Coffea canephora'' และ ''Coffea arabica''. a: แหล่งปลูก ''Coffea arabica''.

ดู เกาะสุมาตราและแหล่งปลูกกาแฟที่มีชื่อเสียง

แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547

แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดี..

ดู เกาะสุมาตราและแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547

แผ่นดินไหวในสุมาตรา พ.ศ. 2552

แผ่นดินไหวที่สุมาตร..

ดู เกาะสุมาตราและแผ่นดินไหวในสุมาตรา พ.ศ. 2552

แผ่นดินไหวในสุมาตรา เมษายน พ.ศ. 2553

แผ่นดินไหวในสุมาตรา เมษายน..

ดู เกาะสุมาตราและแผ่นดินไหวในสุมาตรา เมษายน พ.ศ. 2553

โรมันคาทอลิกในประเทศไทย

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ขณะเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ระหว่างเสด็จเยือนประเทศไทย คริสตจักรโรมันคาทอลิกในประเทศไทย หรือที่ชาวคาทอลิกเรียกโดยย่อว่า พระศาสนจักรในประเทศไทย เป็นประชาคมของคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิก มีการปกครองตนเองภายใต้การควบคุมของสันตะสำนักราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 468 ตามสถิติคาทอลิกในประเทศไท..

ดู เกาะสุมาตราและโรมันคาทอลิกในประเทศไทย

โอรังมาวัซ

อรังมาวัซ หรือ มาวัซ (Orang Mawas, Mawas) หรือในอีกชื่อหนึ่งว่า โอรังดาลัม (Orang Dalam) เป็นสัตว์ประหลาดขนดกคล้ายเอปผสมมนุษย์ซึ่งมีผู้อ้างว่าพบเห็นในป่าลึกของรัฐยะโฮร์ ประเทศมาเลเซีย คล้ายคลึงกับบิ๊กฟุตหรือแซสแควตช์ในทวีปอเมริกาเหนือ, เยติหรือมนุษย์หิมะในเทือกเขาหิมาลัย หรือโอรัง เปนเดะก์บนเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย ภูมิภาคอาเซียนเช่นเดียวกัน กล่าวกันว่า โอรังมาวัซมีความสูงถึง 3 เมตร (ประมาณ 10 ฟุต) ตีนมีขนาดใหญ่และมีขนดกสีดำ มีรายงานว่าจับปลาและขโมยผลไม้กินเป็นอาหาร ชาวโอรังอัซลีหรือซาไก (ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองของภูมิภาคแถบนี้) เรียกโอรังมาวัซว่า "ฮันตูจารังกีกี" (hantu jarang gigi) ซึ่งแปลว่า "ผีฟันเขี้ยว" บันทึกของโอรังมาวัซ ย้อนหลังไปไกลถึงปี..

ดู เกาะสุมาตราและโอรังมาวัซ

โอรังเป็นเดะก์

วาดของโอรังเป็นเดะก์ตามจินตนาการของจิตรกร และความสูงเทียบกับมนุษย์ โอรังเป็นเดะก์ (orang pendek) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับชนิดหนึ่งที่มีรูปร่างคล้ายมนุษย์หรือเอป เหมือนกับบิ๊กฟุตหรือแซสแควตช์ที่พบในอเมริกาเหนือ หรือเยติในเทือกเขาหิมาลัย "โอรังเป็นเดะก์" ในภาษาอินโดนีเซียมีความหมายว่า "คนเตี้ย" พบในป่าดิบชื้นใกล้ภูเขาหรือภูเขาไฟบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ชาวพื้นเมืองของสุมาตรารู้จักโอรังเป็นเดะก์มาเป็นเวลาหลายศตวรรษแล้ว อย่างน้อยตั้งแต่ยุคของมาร์โคโปโล จนถึงกระทั่งยุคของอาณานิคมดัตช์ แต่เป็นที่รับรู้กันอย่างกว้างขวางมากขึ้นเมื่อต้นคริสต์ทศวรรษ 2000 โดยชาวตะวันตกที่เข้าไปสำรวจในพื้นที่ มีความเชื่อของชาวพื้นเมืองว่า โอรังเป็นเดะก์นั้นเป็นเจ้าแห่งป่า ยิ่งใหญ่กว่าเสือโคร่ง เพราะมีความสัมพันธ์กับป่าในเชิงวัฒนธรรมของชาวสุมาตรา ผู้ที่เคยพบเห็นโอรังเป็นเดะก์ต่างบอกว่า มันมีความสูงราว 3-4 ฟุต ซึ่งนับว่าเตี้ยกว่าสัตว์ประหลาดประเภทเดียวกันที่พบกันในส่วนอื่นของโลกมาก มีขนตามลำตัวสีอ่อน เช่น สีเทา ใบหน้ามีขนสีเทาเงิน และหลังมือมีขนสีขาว แม้จะมีความสูงไม่มาก แต่โอรังเป็นเดะก์ก็เป็นสัตว์ที่มีพละกำลังมาก มีช่วงบ่าที่กว้าง หน้าอกใหญ่ บึกบึน ขนาดแขนใหญ่เท่ากับขามนุษย์ มีแรงมากถึงขนาดที่จะถอนต้นไม้ออกจากพื้นทั้งต้นได้ และส่งเสียงร้องดังและยาว พฤติกรรมของโอรังเป็นเดะก์คล้ายคลึงกับบิ๊กฟุต คือ ชอบที่จะเข้าไปขโมยผลิตผลทางการเกษตรหรือข้าวของของมนุษย์ที่เข้าไปทำเกษตรกรรมใกล้กับถิ่นที่อยู่ของมัน โอรังเป็นเดะก์เป็นสัตว์ที่ขี้ตื่นตกใจ เมื่อเผชิญหน้ากับมนุษย์จะวิ่งหนีเข้าป่าไปอย่างรวดเร็ว โดยจะเอาแขนทั้ง 2 ข้าง ชูไว้เหนือหัว เป็นพฤติกรรมที่เชื่อกันโดยนักสัตว์ประหลาดวิทยาว่า ทำไปเพื่อป้องกันส่วนหัวจากการถูกทำร้ายจากข้างหลังหรือข้างบน หรือเป็นการทำให้ตัวแลดูใหญ่ขึ้น ผู้ที่พบโอรังเป็นเดะก์พบในเวลากลางวันเท่านั้น ยังไม่มีรายงานพบในเวลากลางคืน โอรังเป็นเดะก์เป็นสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหารหลัก โดยหากินตามพื้นดินและขุดหาสัตว์เล็ก ๆ เช่น แมลงหรือสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กในพื้นดิน กินเป็นอาหารด้วย แต่ไม่พบว่าล่าหรือกินสัตว์ขนาดใหญ่ โอรังเป็นเดะก์เป็นสัตว์ที่หากินตามลำพัง เพราะยังไม่เคยมีใครพบโอรังเป็นเดะก์อยู่เป็นคู่หรือมากกว่าหนึ่งตัว ซึ่งพฤติกรรมนี้แตกต่างจากบิ๊กฟุตที่พบในอเมริกาเหนือ เมื่อโอรังเป็นเดะก์บุกรุกแปลงผัก นอกจากจากขโมยกินแล้ว จะหยิบเอาผักติดมือไปด้วย แม้แต่วิ่งหนีก็จะยังหยิบผักติดตัวไป รวมถึงเชื่อว่าชอบที่จะกินทุเรียน และมีผู้เคยพบเห็นโอรังเป็นเดะก์นอนกลางพื้นในไร่เหมือนกับการอาบแดดด้ว.

ดู เกาะสุมาตราและโอรังเป็นเดะก์

โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์

ซอร์ โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ (Sir Thomas Stamford Bingley Raffles); (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2324 – 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2369) ผู้บริหารอาณานิคม ผู้ก่อตั้งเมืองสิงคโปร์ เกิดบนเรือที่ลอยทะเลนอกฝั่งพอร์ตมอแรนต์ จาเมกา แรฟเฟิลส์ได้รับการศึกษาอย่างเป็นทางการน้อยมากแต่ก็ได้เข้าทำงานเป็นสมียนของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ หลังจากการศึกษาด้วยตนเอง แรฟเฟิลส์ ก็ได้รับตำแหน่งก้าวหน้าเป็นผู้ช่วยเลขานุการเมืองปีนังได้เลื่อนตำแหน่งอย่างรวดเร็วจนถึงตำแหน่งรองผู้ว่าราชการเขตอาณานิคมชวา (พ.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและโทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์

โซโต

ซโต (soto) เป็นซุปแบบพื้นเมืองในอาหารอินโดนีเซีย ใส่เนื้อและผัก ในบางครั้งจัดเป็นอาหารประจำชาติ มีรับประทานตั้งแต่สุมาตราไปจนถึงปาปัว โดยมีความแตกต่างกันมากมีตั้งแต่ขายข้างถนนไปจนถึงในภัตตาคาร ผู้อพยพชาวชวาได้นำอาหารชนิดนี้ไปยังซูรินามและเรียกว่าซาโอโต.

ดู เกาะสุมาตราและโซโต

ไก่ฟ้าหน้าเขียว

ก่ฟ้าหน้าเขียว (Crested fireback) เป็นไก่ฟ้าที่มีความสวยงาม มีลักษณะเด่นคือมีแผ่นหนังที่หน้าสีฟ้า ต่างจากไก่ฟ้าชนิดอื่นๆที่มีแผ่นหนังสีแดง พบในประเทศไทย มาเลเซีย บอร์เนียว และสุมาตร.

ดู เกาะสุมาตราและไก่ฟ้าหน้าเขียว

ไก่จุก

ก่จุก (Crested wood partridge, Crested partridge, Roul-roul, Red-crowned wood partridge, Green wood partridge) เป็นนกในวงศ์ Phasianidae และเป็นชนิดเดียวในสกุล Rollulus.

ดู เกาะสุมาตราและไก่จุก

ไก่ป่า

''Gallus gallus'' ไก่ป่า หรือ ไก่เถื่อน อยู่ในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) จัดเป็นนกมีขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ขนาดลำตัว 46-73 เซนติเมตร พบการกระจายอยู่ในเขตศูนย์สูตรโดยมีการกระจายตั้งแต่ประเทศอินเดียจนถึงเวียดนาม และประเทศจีนตอนใต้ จนไปถึงเกาะต่าง ๆ ในประเทศอินโดนีเซีย จัดเป็นไก่สายพันธุ์ดั้งเดิมและเป็นต้นตระกูลของไก่บ้านที่เลี้ยงกันเป็นสัตว์เศรษฐกิจในปัจจุบันนี้ สามารถแบ่งออกได้แบ่งชนิดย่อยได้ 6 ชน.

ดู เกาะสุมาตราและไก่ป่า

ไผ่ตง

ผ่ตง เป็นไผ่สกุลหนึ่งในวงศ์หญ้า (Poaceae) ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกว่า "δένδρον" (déndron) แปลว่า "ต้นไม้" และ "κάλαμος" แปลว่า "พืชจำพวกกกหรืออ้อย" รวมหมายถึง "อ้อยที่เป็นกอคล้ายต้นไม้" จึงสื่อถึงลักษณะของไผ่สกุลนี้ที่มีขนาดใหญ่และนิยมปลูกเพื่อการบริโภคหน่อ ไผ่สกุลนี้มีประมาณ 50 ชนิด ในจำนวนนี้พบในไทย 4 ชนิด กระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งร้อนของทวีปเอเชีย โดยเฉพาะในเขตอินเดีย จีน อินโดนีเซีย พม่า ไทย มาเลเซีย และฟิลิปปิน.

ดู เกาะสุมาตราและไผ่ตง

เกอเรตาอาปีอินโดเนเซีย

รถจักร จีอี U20C ลากจูงขบวนรถไฟ "ซรีตันจุง" บริษัท รถไฟอินโดนีเซีย จำกัด (PT Kereta Api Indonesia) เป็นผู้ดำเนินงานการขนส่งระบบรางหลักในประเทศอินโดนีเซีย มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจ มีบริษัทลูกคือ ''พีที เคเอไอ'' ''จาโบเดตาเบะก์'' (KCJ) ซึ่งดำเนินการรถไฟฟ้าชานเมืองในเขตกรุงจาการ์ตา นับตั้งแต่วันที่ 14 สิงหาคม..

ดู เกาะสุมาตราและเกอเรตาอาปีอินโดเนเซีย

เกาะบอร์เนียว

อร์เนียว (Borneo) หรือ กาลีมันตัน (Kalimantan) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากเกาะกรีนแลนด์ (อันดับ 1) และเกาะนิวกินี (อันดับ 2) มีประเทศ 3 ประเทศอยู่ในเกาะบอร์เนียว คือ มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย อยู่บริเวณใจกลางกลุ่มเกาะมลายูและประเทศอินโดนีเซีย ในทางภูมิศาสตร์ เกาะบอร์เนียวเป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ดู เกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว

เกาะซีเมอลูเวอ

ซีเมอลูเวอ (Simeulue) หรือ ซีมือลูเวอ (อาเจะฮ์: Simeuluë) เป็นเกาะในประเทศอินโดนีเซีย ห่างจากชายฝั่งตะวันตกของเกาะสุมาตราไปประมาณ โดยมีเมืองใหญ่ที่สุดคือซีนาบัง ในสมัยก่อนนั้นเกาะซีเมอลูเวอเคยเป็นส่วนหนึ่งของอำเภออาเจะฮ์ตะวันตก แต่ได้มีการแยกออกมาเป็นเขตใหม่ชื่อว่าอำเภอซีเมอลูเวอในปี..2542.

ดู เกาะสุมาตราและเกาะซีเมอลูเวอ

เกาะนียัซ

นียัซ (Nias) หรือ นีฮา (นียัซ: Niha) เป็นเกาะที่อยู่ทางฝั่งตะวันตกของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย นียัซยังเป็นชื่อเรียกของกลุ่มเกาะนียัซ (Kepulauan Nias) ซึ่งประกอบด้วยเกาะนียัซและหมู่เกาะฮีนาโก เกาะนียัซมีพื้นที่ 5,121.3 ตารางกิโลเมตร (รวมเกาะเล็ก ๆ นอกชายฝั่ง) ส่วนมากเป็นพื้นที่ลุ่ม อยู่เหนือระดับน้ำทะเล 800 เมตร มีประชากร 756,338 คน (รวมเกาะเล็ก ๆ นอกชายฝั่ง) จากสำมะโนประชากรในปี..

ดู เกาะสุมาตราและเกาะนียัซ

เก้งธรรมดา

ก้งธรรมดา หรือ อีเก้ง หรือ ฟาน หรือที่นิยมเรียกกันว่า เก้ง (Indian muntjac, Common barking deer, Red muntjac) เป็นเก้งชนิดหนึ่ง นับเป็นเก้งชนิดที่รู้จักและมีถิ่นกระจายพันธุ์กว้างขวางที่สุด มีส่วนหลังโก่งเล็กน้อย ลำตัวสีน้ำตาลแดง ด้านใต้ซีดและอมเทาเล็กน้อย หางด้านบนสีน้ำตาลเข้ม ด้านล่างสีขาว เก้งตัวผู้มีเขาสั้น ฐานเขาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกะโหลกยื่นยาวขึ้นไปเป็นแท่ง มีขนปกคลุม และมีขนสีดำขึ้นตามแนวเขาจนดูเป็นรูปตัววีเมื่อมองด้านหน้าตรง ส่วนปลายเขาสั้น แต่เป็นง่ามเล็ก ๆ แค่สองง่าม ไม่แตกเป็นกิ่งก้านแบบกวาง ผลัดเขาปีละครั้ง ส่วนตัวเมียไม่มีเขาและฐานเขา แต่บนหน้าก็มีขนรูปตัววีเหมือนกัน เก้งตัวที่อายุมากผู้มีเขี้ยวยาวแหลมโค้งโผล่พ้นขากรรไกรออกมา เวลาเดินจะยกขาสูงทุกย่างก้าว หากินได้ทั้งกลางวันและกลางคืน แต่ส่วนใหญ่จะพบตอนเย็นหรือหัวค่ำ และตอนเช้ามืดจนถึงช่วงสาย อดน้ำไม่เก่ง จึงมักอยู่ไม่ไกลจากแหล่งน้ำ อาหารหลักได้แก่ยอดไม้, หน่ออ่อน, ใบไม้, ผลไม้ และรวมถึงเปลือกไม้ด้วย ไม่ค่อยกินหญ้า พบแพร่กระจายพันธุ์ในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่ ศรีลังกา, อินเดีย, จีนตอนใต้, พม่า, ไทย, ลาว, เวียดนาม, กัมพูชา, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, เกาะไหหลำ และหมู่เกาะซุนดา มีฤดูผสมพันธุ์อยู่ในช่วงฤดูหนาว ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงมกราคม ตกลูกต้นฤดูฝนพอดี ปกติตกลูกครั้งละหนึ่งตัว ตั้งท้องนานราว 6 เดือน ออกลูกตามใต้พุ่มไม้ ลูกเก้งมีจุดสีขาวตามตัว เมื่ออายุได้ราว 6 เดือน จุดสีขาวนั้นจึงค่อยจางหายไป เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ได้เมื่ออายุได้ 18 เดือน อายุขัยประมาณ 15 ปี ในประเทศไทย ถือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ดู เกาะสุมาตราและเก้งธรรมดา

เม่นใหญ่แผงคอยาว

ม่นใหญ่แผงคอยาว (Malayan porcupine, Himalayan porcupine, Large porcupine) เป็นเม่นขนาดใหญ่ หูและหางสั้น ขนตามลำตัวสีดำหรือสีน้ำตาลเข้มเกือบดำ มีขนแข็งแหลมและยาวมากบนหลังและสะโพก ซึ่งขนดังกล่าวจะชี้ตรงไปทางด้านหลัง ก้านขนมีสีขาว บางเส้นอาจมีวงสีดำสลับอยู่ ขนแผงคอยาวประมาณ 3-6 เซนติเมตร มีสีน้ำตาลเข้ม มีฟันหน้าที่ใหญ่ยาวและแข็งแรงมาก มีความยาวลำตัวและหัว 63.5-72.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 6.4-11.4 เซนติเมตร น้ำหนัก 20-27 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ในเนปาล, อินเดีย, ภูฏาน, จีน, บังกลาเทศ, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ทั้งป่าสมบูรณ์และป่าเสื่อมโทรมที่ผ่านการทำลายมาแล้ว หลับนอนในโพรงที่ขุดขึ้นมาเอง บริเวณปากโพรงจะปกคลุมด้วยพืชรกชัฏเพื่ออำพราง ออกหากินในเวลากลางคืน กินอาหารจำพวกรากพืช หน่อไม้ เปลือกไม้ ผลไม้สุกที่ร่วงจากต้น กระดูกสัตว์รวมทั้งเขาสัตว์ด้วย เช่น เขาของเก้งหรือกวางที่ผลัดทิ้งเพื่อเพิ่มแคลเซี่ยมให้กับร่างกาย อีกทั้งเป็นการขัดฟันไม่ให้ยาวเกินไปในตัวด้วย นอนหลับในเวลากลางวันในโพรง โดยจะลากเอาเขาหรือกระดูกสัตว์เข้ามาแทะถึงในโพรง เมื่อพบศัตรูจะกระทืบเท้าเสียงดัง หากไม่สำเร็จจะค่อย ๆ เดินหนี หากศัตรูยังตามมา จะวิ่งหนีรวดเร็วและหยุดอย่างกะทันหัน เพื่อให้ศัตรูหยุดไม่ทันและถูกหนามแหลมทิ่ม โดยปกติจะสั่นขนของตัวเองอยู่เสมอ ทำให้มักได้ยินเสียงการกระทบกันของเส้นขนอยู่บ่อย ๆ ซึ่งเป็นการอวดศักยภาพของตัวเอง หรือแม้แต่เดินธรรมดา ๆ ก็จะได้ยินเสียงเส้นขนลากกับพื้น เม่นใหญ่แผงคอยาวออกลูกครั้งละ 2-3 ตัว มีอายุสูงสุดในที่เลี้ยง 27 ปี.

ดู เกาะสุมาตราและเม่นใหญ่แผงคอยาว

เลียงผาใต้

ลียงผาใต้ (Common serow, Sumatran serow, Southern serow, Mainland serow) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง อยู่ในอันดับสัตว์กีบคู่ วงศ์ Bovidae อันเป็นวงศ์เดียวกับแพะ, แกะ และวัว.

ดู เกาะสุมาตราและเลียงผาใต้

เสือ

ือ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ฟิลิดีซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมวโดยชนิดที่เรียกว่าเสือมักมีขนาดลำตัวค่อนข้างใหญ่กว่าและอาศัยอยู่ภายในป่า ขนาดของลำตัวประมาณ 168 - 227 เซนติเมตรและหนักประมาณ 180 - 245 กิโลกรัม รูม่านตากลม เป็นสัตว์กินเนื้อกลุ่มหนึ่ง มีลักษณะและรูปร่างรวมทั้งพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ แตกต่างจากสัตว์ในกลุ่มอื่น หากินเวลากลางคืน มีถิ่นกำเนิดในป่า เสือส่วนใหญ่ยังคงมีความสามารถในการปีนป่ายต้นไม้ ซึ่งยกเว้นเสือชีต้า เสือทุกชนิดมีกรามที่สั้นและแข็งแรง มีเขี้ยว 2 คู่สำหรับกัดเหยื่อ ทั่วทั้งโลกมีสัตว์ที่อยู่ในวงศ์เสือและแมวประมาณ 37 ชนิด ซึ่งรวมทั้งแมวบ้านด้วย เสือจัดเป็นสัตว์นักล่าที่มีความสง่างามในตัวเอง โดยเฉพาะเสือขนาดใหญ่ที่แลดูน่าเกรงขราม ไม่ว่าจะเป็นเสือโคร่งหรือเสือดาว ผู้ที่พบเห็นเสือในครั้งแรกย่อมเกิดความประทับใจในความสง่างาม แต่ในขณะเดียวกันก็เกิดความหวาดหวั่นเกรงขามในพละกำลังและอำนาจภายในตัวของพวกมัน เสือจึงได้รับการยกย่องให้เป็นราชาแห่งสัตว์ปา และเป็นจ้าวแห่งนักล่าอย่างแท้จริง เสือ จ้าวแห่งนักล่า, ศลิษา สถาปรวัฒน์, ดร.อลัน ราบิโนวิทซ์, สำนักพิมพ์สารคดี, 2538, หน้า 14 ปัจจุบันจำนวนของเสือในประเทศไทยลดจำนวนลงเป็นอย่างมากในระยะเวลาไม่ถึง 10 ปี เสือกลับถูกล่า ป่าภายในประเทศถูกทำลายเป็นอย่างมาก สภาพธรรมชาติในพื้นที่ต่าง ๆ ถูกเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ของมนุษย์เอง ทุกวันนี้ปริมาณของเสือที่จัดอยู่ในลำดับสุดท้ายของห่วงโซ่อาหารถือเป็นสิ่งจำเป็น เพราะการสูญสิ้นหรือลดจำนวนลงอย่างมากของเสือซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อ จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและระบบนิเวศทั้งหมด การลดจำนวนอย่างรวดเร็วของเสือเพียงหนึ่งหรือสองชนิดในประเทศไทย ทำให้ปริมาณของสัตว์กินพืชเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทำให้ธรรมชาติเสียความสมดุลในที.

ดู เกาะสุมาตราและเสือ

เสือลายเมฆ

ือลายเมฆ (Clouded leopard) เสือใหญ่ประเภทหนึ่ง อยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae).

ดู เกาะสุมาตราและเสือลายเมฆ

เสือลายเมฆบอร์เนียว

ือลายเมฆบอร์เนียว หรือ เสือลายเมฆซุนดา (Bornean clouded leopard, Sunda clouded leopard, Sundaland clouded leopard) แต่เดิมเคยจัดอยู่เป็นชนิดย่อยของเสือลายเมฆ (N.

ดู เกาะสุมาตราและเสือลายเมฆบอร์เนียว

เสือดาว

ำหรับเสือดำ มีบทความขยายที่: เสือดำ เสือดาว หรือ เสือดำ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จัดอยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) เป็นเสือขนาดใหญ่รองจากเสือโคร่ง (P.

ดู เกาะสุมาตราและเสือดาว

เสือปลา

ือปลา หรือ เสือแผ้ว (ชื่อเรียกเสือปลาในตัวที่มีขนาดใหญ่; Fishing cat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเสือขนาดเล็ก จัดเป็นแมวป่าขนาดกลาง รูปร่างอ้วนป้อม ขนตามลำตัวค่อนข้างสั้นและหนา ขนสีเทาอมน้ำตาล หรือขนสีเทาอมมะกอก มีจุดสีน้ำตาลเข้มแกมดำเรียงเป็นลายแนวขนานไปกับความยาวลำตัว โดยขนแบ่งออกเป็น 2 ชั้น ซึ่งพัฒนามาเพื่อหากินกับน้ำโดยเฉพาะ ขนชั้นในสั้นเกรียนและแน่นมากจนน้ำซึมผ่านไม่ได้ ทำให้ตัวของเสือปลาแห้ง และช่วยรักษาความอบอุ่นเอาไว้ในขณะลงจับปลาในน้ำ ขนชั้นในสั้นกว่าขนชั้นนอก มีความหนาและยาวกว่าขนชั้นใน ขนชั้นนอกเป็นชั้นที่มีลวดลายและหนามันวาว หางยาวเพียงหนึ่งในสามของลำตัว มีพังผืดบาง ๆ ยึดระหว่างนิ้วเท้าหน้า ยังไม่พัฒนา เก็บเล็บไม่ได้เหมือนเสือชนิดอื่น ๆ เสือปลามีหัวขนาดใหญ่ หูสั้นมีกรอบสีดำ ดวงตาสีเขียว มีความยาวตั้งแต่หัวถึงลำตัว 70–90 เซนติเมตร หรือเกินกว่านั้น หางสั้น 20–30 เซนติเมตร น้ำหนัก 7–11 กิโลกรัม ขนาดของเสือปลาอาจมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของอาหารซึ่งก็คือความสมบูรณ์ของป่า ลูกเสือปลาขนาดเล็กมีลักษณะคล้ายแมวดาว (P.

ดู เกาะสุมาตราและเสือปลา

เสือโคร่ง

ือโคร่ง หรือ เสือลายพาดกลอน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris ในวงศ์ Felidae จัดเป็นสัตว์ที่มีขนาดที่สุดในวงศ์นี้ และเป็นเสือชนิดที่ใหญ่ที่สุดด้ว.

ดู เกาะสุมาตราและเสือโคร่ง

เสือโคร่งสุมาตรา

ำหรับเสือสุมาตราที่หมายถึงปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ดูที่: ปลาเสือสุมาตรา เสือโคร่งสุมาตรา (Sumatran tiger) เสือโคร่งสายพันธุ์ย่อยสายพันธุ์หนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris sumatrae ในวงศ์ Felidae จัดเป็นเสือโคร่งขนาดเล็กที่สุดในโลกที่ยังคงพบได้จนถึงทุกวันนี้.

ดู เกาะสุมาตราและเสือโคร่งสุมาตรา

เสือไฟ

ือไฟ (หรือ Catopuma temminckii) เป็นแมวป่าขนาดกลาง มีขนาดเล็กกว่าเสือลายเมฆ แต่ใหญ่กว่าแมวลายหินอ่อน โดยชื่อวิทยาศาสตร์ temminckii ถูกตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่กุนราด ยาโกบ แต็มมิงก์ นักสัตววิทยาชาวดัตช์ซึ่งเป็นผู้บรรยายลักษณะทางวิทยาศาสตร์ของเสือไฟแอฟริกาเมื่อปี..

ดู เกาะสุมาตราและเสือไฟ

เสี้ยน

ี้ยน ดงเสี้ยน หรือมะเขือเผาะ เป็นพืชในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เปลือกแตกเป็นร่อง หูใบรูปสามเหลี่ยม ดอกขนาดเล็กออกเป็นช่อกระจุกสั้นตามซอกใบ สีเขียวอ่อน ผลมีเนื่อหลายเมล็ดสีม่วงดำ พบตั้งแต่อินเดีย เทือกเขาหิมาลัย อินโดจีน ไทย ไปจนถึงบอร์เนียว ชาวกูบูใน เกาะสุมาตรานำไปพืชชนิดนี้ไปย่างไฟต้มน้ำดื่มแทนกาแฟ และเรียกเครื่องดื่มนี้ว่าโกปีกูบูหรือกาแฟกูบู.

ดู เกาะสุมาตราและเสี้ยน

เส้นขนานที่ 5 องศาใต้

้นขนานที่ 5 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 5 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก, ทวีปแอฟริกา, มหาสมุทรอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, ออสตราเลเซีย, มหาสมุทรแปซิฟิกและทวีปอเมริกาใต้.

ดู เกาะสุมาตราและเส้นขนานที่ 5 องศาใต้

เส้นขนานที่ 5 องศาเหนือ

้นขนานที่ 5 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 5 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก, ทวีปแอฟริกา, มหาสมุทรอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ, มหาสมุทรแปซิฟิกและทวีปอเมริกาใต้.

ดู เกาะสุมาตราและเส้นขนานที่ 5 องศาเหนือ

เส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 80 องศาตะวันตก.

ดู เกาะสุมาตราและเส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียนที่ 102 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 102 องศาตะวันออก คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจาก ขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรใต้, และทวีปแอนตาร์กติกาเข้าสู่ขั้วโลกใต้   เส้นเมริเดียนที่ 102 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 78 องศาตะวันตก  .

ดู เกาะสุมาตราและเส้นเมริเดียนที่ 102 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียนที่ 103 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 103 องศาตะวันออก คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจาก ขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรใต้, และทวีปแอนตาร์กติกาเข้าสู่ขั้วโลกใต้     เส้นเมริเดียนที่ 103 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 77 องศาตะวันตก.

ดู เกาะสุมาตราและเส้นเมริเดียนที่ 103 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียนที่ 104 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 104 องศาตะวันออก คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจาก ขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรใต้, และทวีปแอนตาร์กติกาเข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 104 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 76 องศาตะวันตก.

ดู เกาะสุมาตราและเส้นเมริเดียนที่ 104 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันตก.

ดู เกาะสุมาตราและเส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียนที่ 95 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 95 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 95 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 85 องศาตะวันตก.

ดู เกาะสุมาตราและเส้นเมริเดียนที่ 95 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียนที่ 99 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 99 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 99 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 81 องศาตะวันตก.

ดู เกาะสุมาตราและเส้นเมริเดียนที่ 99 องศาตะวันออก

เส้นเวลาของอนาคตไกล

ำหรับแผนภาพเส้นเวลาสเกลลอการิทึมของเหตุการณ์เหล่านี้ ดูที่.

ดู เกาะสุมาตราและเส้นเวลาของอนาคตไกล

เหยี่ยวรุ้ง

หยี่ยวรุ้ง หรือ อีรุ้ง (Crested serpent-eagle; ชื่อวิทยาศาสตร์: Spilornis cheela) เป็นนกล่าเหยื่อขนาดกลางจำพวกเหยี่ยวที่พบได้ในป่าในทวีปเอเชียเขตร้อน มีการกระจายพันธุ์กว้าง ด้วยความที่นกในสกุลนี้กินอาหารหลัก คือ งู จึงได้ชื่อสามัญในภาษาอังกฤษว่า "Serpent-eagle" (เหยี่ยวงู หรือ อินทรีงู).

ดู เกาะสุมาตราและเหยี่ยวรุ้ง

เหยี่ยวดำท้องขาว

หยี่ยวดำท้องขาว (Blyth's Hawk-Eagle), Nisaetus alboniger (เดิมจัดเป็นสกุล Spizaetus) เป็นนกล่าเหยื่อ ในวงศ์ Accipitridae มีการกระจายพันธุ์ในมาเลเซียตะวันตก, ประเทศสิงคโปร์, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียว พบในป่าเปิดโล่ง แม้ว่านกตามเกาะจะพบในป่าที่มีความหนาทึบมากกว่า นกทำรังด้วยกิ่งไม้บนต้นไม้และวางไข่เพียงฟองเดียว เหยี่ยวดำท้องขาวเป็นนกล่าเหยื่อขนาดกลาง ยาวประมาณ 51–58 ซม.

ดู เกาะสุมาตราและเหยี่ยวดำท้องขาว

เหยี่ยวนกเขาชิครา

Shikra, Chappad Chidi, Mohali, Punjab, India เหยี่ยวนกเขาชิครา หรือ เหยี่ยวชิครา (shikra) เป็นเหยี่ยวขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกเหยี่ยวนกเขา มีลักษณะปากแหลมปลายปากงุ้มลง ปีกกว้างสั้น ปลายปีกแหลม หางยาว ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายกัน แต่ตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าเล็กน้อยและลำตัวออกสีน้ำตาลมากกว่า ลำตัวด้านบนมีสีเทาอมฟ้า แก้มสีเทามีสีขาวเป็นลายเล็ก ๆ สีน้ำตาลจาง ๆ อยู่ติดกัน ที่คอมีสีเส้นสีดำลากผ่านกึ่งกลางสันคอ ตามีสีแดงหรือเหลือง หางสีเทามีลายแถบสีคล้ำ 5 แถบ แข้งเป็นสีเหลือง เมื่อเวลาบินจะเห็นปีกด้านล่างเป็นสีขาว ปลายปีกเป็นสีดำและมีลายยาวสีน้ำตาลคล้ำ ลูกนกที่ยังไม่โตเต็มที่จะมีขนสีน้ำตาลเทาเข้ม มีแถบสีขาวและน้ำตาลแดงที่ท้ายทอย คิ้วสีขาว หน้าอกมีแถบใหญ่สีน้ำตาลแดง ที่สีข้างและต้นขามีสีน้ำตาลแดงเป็นขีดสั้น ๆ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 30-36 เซนติเมตร จึงจัดเป็นเหยี่ยวขนาดเล็กที่สุดในสกุล Accipiter ชนิดหนึ่ง มีพฤติกรรมกระพือปีกได้เร็ว และร่อนอยู่กลางอากาศเพื่อหาเหยื่อ ล่าเหยื่อจำพวกสัตว์ชนิดอื่นและนกขนาดเล็ก รวมถึงแมลงขนาดใหญ่เป็นอาหาร มักอยู่ตามลำพังหรืออยู่เป็นคู่ ปกติชอบเกาะนิ่งอยู่ตามยอดไม้สูงชายป่าหรือป่าละเมาะ คอยออกบินโฉบจับเหยื่อไม่ให้รู้ตัว สร้างรังอย่างง่าย ๆ โดยการเอากิ่งไม้มาขัดกันบนคาคบ เหยี่ยวนกเขาชิครา เป็นนกที่มีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง โดยพบได้ตั้งแต่ทวีปแอฟริกา, เอเชียใต้, เอเชียอาคเนย์, เอเชียตะวันออกจนถึงเกาะสุมาตรา จึงแบ่งออกเป็นชนิดย่อยด้วยกันทั้งหมด 6 ชนิด (ดูในตาราง) สำหรับในประเทศไทยสามารถพบได้ทุกภูมิภาคยกเว้นภาคใต้ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 1 ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งประเทศไทย พุทธศักราช 2535.

ดู เกาะสุมาตราและเหยี่ยวนกเขาชิครา

เหย่เหริน

อักษรสลักเป็นภาษาจีนบนหน้าผา ความว่า "ถ้ำของเหย่เหริน" ในมณฑลหูเป่ย์ตะวันตก เหย่เหริน หรือ ซูเหริน (อังกฤษ: Yeren, Yiren, Yeh Ren; จีน: 野人; พินอิน: Yěrén แปลว่า "คนป่า"; อังกฤษ: Xueren; จีน: 神农架野人; พินอิน: Shénnóngjiàyěrén แปลว่า "คนป่าแห่งเสินหนงเจี้ย") หรือ มนุษย์หมี (อังกฤษ: Man Bear; จีน: 人熊; พินอิน: Ren Xiong) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งที่เชื่อว่า มีลักษณะคล้ายมนุษย์แต่มีขนดกปกคลุมอยู่ทั่วร่าง อาศัยอยู่ ณ เขตอนุรักษ์ป่าดึกดำบรรพ์เขาเสินหนงเจี้ย ในมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน โดยเหย่เหริน มีลักษณะคล้ายอุรังอุตังที่พบบนเกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา ในอินโดนีเซีย มีขนสีน้ำตาลแดงเข้มยาว 3–4 เซนติเมตร มีท้องขนาดใหญ่ ยืนด้วยขาหลังทั้งสองข้าง มีความสูง 5–7 ฟุต หรือ 8 ฟุต แต่มีรายงานว่าสามารถเคลื่อนไหวได้รวดเร็ว ใบหน้ามีลักษณะผสมกับระหว่างมนุษย์และเอป มีส่วนของขาหน้าหรือมือมีนิ้ว 5 นิ้ว โดยที่นิ้วโป้งแยกออกมาเหมือนมนุษย์ เคยมีการพบรอยเท้าของเหย่เหรินมีความยาว 16 นิ้ว มีโครงสร้างที่ใกล้เคียงกับเอป ในตัวผู้มีองคชาตเหมือนผู้ชาย ในขณะที่ตัวเมียมีเต้านมเหมือนผู้หญิง ส่งเสียงร้องได้ดังและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เชื่อกันว่า เหย่เหริน มีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์นีแอนเดอร์ธาลที่เคยอาศัยอยู่ในเอเชียเหนือ และเอเชียกลาง เมื่อ 350,000 กว่าปีก่อน ซึ่งเมื่อเทียบกับสัตว์ชนิดอื่นที่คล้ายคลึงกัน เช่น บิ๊กฟุตในอเมริกาเหนือ ในคติของจีนมีศัพท์ที่ใช้เรียกสัตว์ที่มีลักษณะเช่นนี้โดยเฉพาะ โดยมีผู้เชื่อว่าอาจจะมีจำนวนเหย่เหรินมากถึง 1,000–2,000 ตัวอาศัยอยู่ในประเทศจีนตอนกลาง นักวิทยาศาสตร์ชาวจีนที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับการมีอยู่ของเหย่เหริน โดยการกล่าวอ้างถึงจากนักท่องเที่ยวที่ได้มาเที่ยวยังเขตอนุรักษ์ป่าดึกดำบรรพ์เขาเสินหนงเจี้ย โดยค้นพบรอยเท้าและทำการหล่อเป็นปูนปลาสเตอร์เพื่อศึกษา ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่มีทฤษฎีว่า เหย่เหรินอาจจะเป็นเอปขนาดใหญ่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ชนิดที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gigantopithecus blacki ที่เคยอาศัยอยู่ในเอเชียกลาง แต่ได้สูญพันธุ์ไปแล้วกว่า 500,000 ปี มีนักวิชาการที่ได้รับทุนจากรัฐบาลให้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของเหย่เหริน สามารถเก็บตัวอย่างขนที่เชื่อว่าเป็นของเหย่เหรินได้เมื่อนำไปเทียบกับขนของลิงหรือเอปที่เป็นที่รู้จัก ปรากฏว่าไม่ตรงกับชนิดใดเลย ในตำนานพื้นบ้านแถบนี้ เหย่เหรินถูกเล่าขานว่าเป็นสัตว์กินเนื้อ และจับมนุษย์ฉีกแขนขากินเป็นอาหารด้วย ปัจจุบันแม้จะมีการสำรวจศึกษาเกี่ยวกับเหย่เหรินมากขึ้น แต่เรื่องของเหย่เหรินก็ยังคงอยู่ในความเชื่อของชาวจีนพื้นถิ่น ซึ่งป่าที่เหย่เหรินอาศัยอยู่นั้นก็ถือได้ว่าเป็นป่าดึกดำบรรพ์ที่เป็นพื้นที่อนุรักษ์ มีพรรณพืชและพรรณสัตว์โบราณและหายากหลายชนิดอาศัยอยู่ด้วย โดยบางคนที่อ้างว่าเคยพบเห็นเหย่เหริน เป็นเจ้าหน้าที่ของเขตอนุรักษ์ อ้างว่าตนเคยคิดที่จะจับเหย่เหรินด้วยซ้ำ โดยเชื่อว่าเหย่เหรินอาศัยอยู่ในป่าหินซึ่งเป็นจุดสูงสุดของเขตป่าอนุรักษ์เสินหนงเจี้ย รวมถึงมีมัคคุเทศก์ท้องถิ่นขณะนำพานักท่องเที่ยวบนรถทัวร์ ได้เห็นเหย่เหรินตัวหนึ่งที่มีขนสีดำวิ่งตัดหน้ารถด้วยสองขาหลัง คนขับรถได้ตะโกนบอกว่า "เหย่เหริน ๆ" ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเพิ่มเติม พบว่า เหย่เหรินไม่อยู่เป็นกลุ่ม แต่จะอยู่กันเป็นคู่ ๆ ระหว่างตัวผู้และตัวเมีย โดยปกติจะเดินด้วยสองขาหลัง แต่สามารถใช้ขาทั้งสี่ข้างปีนป่ายได้รวดเร็ว โดยกินอาหารจำพวก ผลไม้, ถั่ว, ข้าวโพด และแมลงบางชนิด ในสถานที่ ๆ ไม่มีใครมาพบเห็น.

ดู เกาะสุมาตราและเหย่เหริน

เห่าช้าง

ห่าช้าง (Roughneck monitor lizard) เป็นสัตว์เลื้อยคลานในวงศ์เหี้ย (Varanidae) และ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตาม พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและเห่าช้าง

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ดู เกาะสุมาตราและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

เจิ้งเหอ

รูปวาดเจิ้งเหอในจินตนาการของศิลปินที่ไม่ทราบชื่อ เจิ้งเหอ (แต้จิ๋ว: แต้ฮั้ว) เป็นผู้บัญชาการทหารเรือจีนในยุคราชวงศ์หมิง (明; Ming) มีบันทึกว่าเจิ้งเหอเริ่มเดินทางรอบโลกตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู เกาะสุมาตราและเจิ้งเหอ

เขาควายไม่หลูบ

วายไม่หลูบ หรือ เขาควายไม่ว้องหรือโงบ เป็นพืชในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้รอเลื้อยเนื้อแข็ง กิ่งอ่อนเป็นสี่เหลี่ยม มีขนปกคลุม ดอกช่อออกที่ปลายยอด มีริ้วประดับย่อยระหว่างดอก ดอกรูปร่างเหมือนดอกเข็ม สีเขียวหรือเหลือง ผลเป็นแคปซูลแห้ง เมล็ดมีปีก กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดียไปจนถึงอินโดจีน และเกาะสุมาตรา ในอินโดจีนใช้เปลือกกินแทนหมาก แก้ไข้ ในเวียดนามเคยใช้ชงน้ำดื่มแทนน้ำ.

ดู เกาะสุมาตราและเขาควายไม่หลูบ

เขนงนายพราน

นงนายพรานเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู เกาะสุมาตราและเขนงนายพราน

เต่ากระอาน

ต่ากระอาน (Northern river terrapin) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง จัดเป็นเต่าน้ำจืด-น้ำกร่อย มีความยาวกระดองมากกว่า 60 เซนติเมตร ที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย และถือว่าเป็นเต่าที่ใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤติ ล่าสุดชาวบ้านในพื้นที่ อ.ตะกั่วทุ่ง.พังงา พบบริเวณคลองถ้ำเมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ดู เกาะสุมาตราและเต่ากระอาน

เต่าหับ

ต่าหับ (Asian box turtle, Siamese box terrapin) สัตว์เลื้อยคลานจำพวกเต่าชนิดหนึ่ง มีรูปร่างคล้ายเต่านา แต่มีกระดองโค้งนูนสูงกว่า กระดองราบเรียบ ใต้ท้องแบ่งเป็น 2 ตอน ซึ่งเรียกว่า "แผ่น" หรือ "หับ" หรือ "ขีด" สามารถเก็บขา หัว และหางเข้ากระดองได้มิดชิด อันเป็นที่มาของชื่อ หัวมีขนาดเล็กสีเหลืองมีลวดลายสีดำ กระดองสีน้ำตาลเข้ม ใต้ท้องสีขาวหรือสีเหลือง โตได้เต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร สามารถพบได้ในแหล่งน้ำทุกภาคของประเทศไทยโดยเฉพาะภาคกลางและภาคใต้ ในต่างประเทศพบที่อินเดีย ภูมิภาคอินโดจีน, พม่า, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์ เป็นเต่าที่สามารถว่ายน้ำได้ดี แต่ชอบอยู่บนบกที่มีความชื้นมากกว่าลงน้ำ ผสมพันธุ์ในน้ำ แต่วางไข่บนบก ปีหนึ่งวางไข่หลายครั้ง ทว่าวางไข่เพียงครั้งละ 2-3 ฟองเท่านั้น อาหารสามารถกินได้ทั้งพืชและสัตว์ มีชนิดย่อย ถึง 4 ชนิด ได้แก่ C.

ดู เกาะสุมาตราและเต่าหับ

เต่าน้ำบอร์เนียว

ต่าน้ำบอร์เนียว (Malaysian giant turtle, Bornean river turtle, Malayan giant terrapin) เป็นสัตว์เลื้อยคลานประเภทเต่าชนิดหนึ่ง ในวงศ์เต่านา (Bataguridae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Orlitia เป็นเต่าขนาดใหญ่ กระดองเรียบเป็นรูปไข่สีน้ำตาลเข้มหรือดำ ด้านล่างเป็นสีน้ำตาลเหลืองออกขาว เมื่อโตเต็มที่แล้วขอบกระดองจะราบเรียบ แต่เมื่อยังเป็นวัยที่โตไม่เต็มที่ จะโค้งเป็นโดมมากกว่านี้ และขอบข้างเป็นหยัก มีเล็บนิ้วเท้าที่แหลมคมและเท้าเป็นพังผืด ขนาดโตเต็มที่ ตัวผู้อาจมีความยาวได้กว่า 80 เซนติเมตร หรือ 1 เมตร น้ำหนักกว่า 100 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียเล็กกว่าเกือบครึ่งตัว โดยมีกระดองยาว 50 เซนติเมตร น้ำหนักเพียง 30 กิโลกรัม จัดเป็นเต่าน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลก และใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้และที่พบในทวีปเอเชีย พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดของเกาะบอร์เนียว, เกาะสุมาตรา และคาบสมุทรมลายูตอนล่าง อาจพบได้ถึงภาคใต้สุดของไทย แถบจังหวัดสตูล กินพืช, ผัก, ผลไม้และสัตว์น้ำต่าง ๆ ตลอดจนซากสัตว์ตายลอยน้ำ เป็นสัตว์ที่อยู่ในภาวะใกล้สูญพันธุ์แล้ว.

ดู เกาะสุมาตราและเต่าน้ำบอร์เนียว

เนียมอ้น

นียมอ้น ฝอยฝา หรือต๋านม่วย เป็นพืชในวงศ์ Chloranthaceae ลำต้นเกลี้ยง ส่วนข้อโป่งพอง ใบออกสลับตั้งฉาก หูใบเป็นแถบยาวมองคล้ายเยื่อ ดอกช่อ ไม่มีกลีบรวม ผลเมล็ดเดียวแข็ง สีเขียวหรือสีเหลือง เป็นไม้พื้นเมืองในจีน ปลูกทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งในเกาะสุมาตราและเกาะชวา ใบและลำต้นมีกลิ่นหอม ใบและดอกนำมาชงเป็นน้ำชาโดยใช้ชนิดเดียว หรือรวมกับใบชา ในอินโดจีนใช้น้ำต้มดอกและใบแก้ไอ ในจีนใช้ใบตำแล้วพอก รักษาฝี และแผลน้ำร้อนลวก ใช้รับประทานแก้มาลาเรียได้ แต่ถ้ารับประทานมากไปจะเป็นพิษ.

ดู เกาะสุมาตราและเนียมอ้น

ISO 3166-2:ID

ISO 3166-2:ID เป็นรายการรหัสสำหรับประเทศอินโดนีเซีย ในมาตรฐาน ISO 3166-2 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐาน ISO 3166 เผยแพร่โดยองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO) ซึ่งได้กำหนดรหัสสำหรับชื่อของเขตการปกครองระดับท้องถิ่น (เช่น จังหวัด หรือ รัฐ) และกำหนดรหัสสำหรับทั้งประเทศด้วย ISO 3166-1 ในปัจจุบันสำหรับประเทศอินโดนีเซีย ISO 3166-2 มีความหมายถึงเขตการปกครองย่อยสองระดับดังนี้.

ดู เกาะสุมาตราและISO 3166-2:ID

Nepenthes adrianii

Nepenthes adrianii (ได้ชื่อตามแอดเรียน ยูซูฟ (Adrian Yusuf), ผู้ค้นพบในปี ค.ศ. 2004) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของจังหวัดชวากลางนอกจาก Nepenthes gymnamphora และ N.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes adrianii

Nepenthes albomarginata

Nepenthes albomarginata หรือ White-Collared Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes albomarginata

Nepenthes aristolochioides

Nepenthes aristolochioides เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของสุมาตรา พบที่ระดับความสูง 800-2500 ม.จากระดับน้ำทะเล มีลักษณะหม้อที่ผิดธรรมดา ปากหม้อเกือบจะตั้งตรง ชื่อ aristolochioides เป็นรูปแบบจากสกุลที่ชื่อ Aristolochia และเติมภาษาละตินในตอนท้าย -oides แปลว่า "เหมือน" ซึ่งหมายถึงความคล้ายคลึงของหม้อกับดอกของ AristolochiaJebb, M.H.P.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes aristolochioides

Nepenthes × ferrugineomarginata

Nepenthes × ferrugineomarginata (มาจากภาษาละติน: ferrugineus.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes × ferrugineomarginata

Nepenthes × kuchingensis

Nepenthes × kuchingensis (ได้ชื่อตามเมืองกูชิง รัฐซาราวะก์) เป็นลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. ampullaria และ N. mirabilis ถึงแม้ว่าจะได้ชื่อตามชื่อเมืองกูชิง แต่หม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดนี้กลับกระจายตัวเป็นวงกว้าง พบได้ในเกาะบอร์เนียว, เกาะนิวกินี, มาเลเซียตะวันตก, เกาะสุมาตรา, และประเทศไท.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes × kuchingensis

Nepenthes × sharifah-hapsahii

Nepenthes × sharifah-hapsahii หรือ Nepenthes × ghazallyana (ได้ชื่อตาม Ghazally Ismail) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. gracilis และ N. mirabilis ถูกบันทึกว่าพบในบอร์เนียว, สุมาตรา และ เพนนิซูล่า มาเลเซียClarke, C.M.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes × sharifah-hapsahii

Nepenthes × trichocarpa

Nepenthes × trichocarpa (มาจากภาษากรีก: trikho- "ขน, เส้นด้าย", และ -carpus "ผล"), หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Dainty Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes × trichocarpa

Nepenthes beccariana

Nepenthes beccariana (ได้ชื่อตามโอโดอาร์โด เบคคารี (Odoardo Beccari), นักพฤกษศาสตร์) เป็นพืชเขตร้อนชื้นในสกุลหม้อข้าวหม้อแกงลิง มันถูกจัดจำแนกโดยจอห์น มิวร์เฮด แมกฟาร์แลน (John Muirhead Macfarlane) ในปี..

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes beccariana

Nepenthes bongso

Nepenthes bongso (จากภาษาอินโดนีเซีย: Putri Bungsu.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes bongso

Nepenthes campanulata

Nepenthes campanulata (มาจากภาษาละติน: campanulatus.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes campanulata

Nepenthes carunculata

Nepenthes carunculata (caruncula เล็ก/แคระ caro.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes carunculata

Nepenthes densiflora

Nepenthes densiflora (มาจากภาษาละติน: densus.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes densiflora

Nepenthes flava

Nepenthes flava มาจากภาษาละติน flava แปลว่า "สีเหลือง" เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวทางด้านเหนือของสุมาตรา หม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดรู้จักกันมานานในชื่อ "Nepenthes spec.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes flava

Nepenthes fusca

Nepenthes fusca (มาจากภาษาละติน: fuscus.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes fusca

Nepenthes gracilis

Nepenthes gracilis (มาจากภาษาละติน: gracilis.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes gracilis

Nepenthes izumiae

? ''N. izumiae'' × ''N. jacquelineae'' Nepenthes izumiae เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดที่สูง เป็นพืชพื้นเมืองของสุมาตรา และเป็นญาติใกล้ชิดกับ N.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes izumiae

Nepenthes naga

Nepenthes naga เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวจากภูเขาบาริซาน ในสุมาตรา มันมีลักษณะพิเศษคือมีรยางค์ปลายง่ามใต้ฝาและขอบฝาเป็นคลื่นAkhriadi, P., Hernawati, A.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes naga

Nepenthes pectinata

Nepenthes pectinata (จากภาษาละติน: pectinata.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes pectinata

Nepenthes rafflesiana

Nepenthes rafflesiana (ได้ชื่อตามโทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์) หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Raffles' Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes rafflesiana

Nepenthes singalana

Nepenthes singalana (ได้ชื่อตามภูเขา Singgalang, สุมาตราตะวันตก) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่สูงของสุมาตรา มีญาติใกล้ชิดคือ N. diatas และ N.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes singalana

Nepenthes spathulata

Nepenthes spathulata เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงพื้นเมืองของเกาะชวาและเกาะสุมาตรา ขึ้นที่ระดับความสูง 1100 ถึง 2900 ม.จากระดับน้ำทะเล ชื่อ spathulata มาจากภาษาละตินจากคำว่า spathulatus หมายถึง "มีรูปร่างเหมือนช้อนปากแบนกว้าง" ซึ่งหมายถึงรูปทรงของแผ่นใบClarke, C.M.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes spathulata

Nepenthes spectabilis

Nepenthes spectabilis เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของสุมาตรา เติบโตที่ระดับความสูง 1400 ถึง 2200 ม.จากระดับน้ำทะเล ชื่อ spectabilis มาจากภาษาละตินแปลว่า "เด่น" หรือ "สะดุดตา"Clarke, C.M.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes spectabilis

Nepenthes sumatrana

Nepenthes sumatrana เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้ถูกตั้งชื่อตามแหล่งที่อยู.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes sumatrana

Nepenthes talangensis

Nepenthes talangensis (มาจากภาษาละติน: Talang.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes talangensis

Nepenthes tenuis

Nepenthes tenuis (มาจากภาษาละติน: tenuis.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes tenuis

Nepenthes tobaica

Nepenthes tobaica เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของสุมาตรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งรอบทะเลสาบตูบา (Toba) จึงถูกตั้งชื่อตามทะเลสาบ Nepenthes tobaica เป็นญาติใกล้ชิดกับ N.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes tobaica

Nepenthes xiphioides

Nepenthes xiphioides (จากภาษากรีก/ภาษาละติน: xiphos.

ดู เกาะสุมาตราและNepenthes xiphioides

UTC+07:00

UTC+7:00เป็นเขตเวลาใช้ใน:ประเทศไทย UTC +7 สีน้ำเงิน (เดือนธันวาคม), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีส้ม (มิถุนายน), สีน้ำเงินอ่อน - พื้นที่ทางทะเล.

ดู เกาะสุมาตราและUTC+07:00

11 เมษายน

วันที่ 11 เมษายน เป็นวันที่ 101 ของปี (วันที่ 102 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 264 วันในปีนั้น.

ดู เกาะสุมาตราและ11 เมษายน

13 กุมภาพันธ์

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 44 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 321 วันในปีนั้น (322 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู เกาะสุมาตราและ13 กุมภาพันธ์

26 สิงหาคม

วันที่ 26 สิงหาคม เป็นวันที่ 238 ของปี (วันที่ 239 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 127 วันในปีนั้น.

ดู เกาะสุมาตราและ26 สิงหาคม

28 มีนาคม

วันที่ 28 มีนาคม เป็นวันที่ 87 ของปี (วันที่ 88 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 278 วันในปีนั้น.

ดู เกาะสุมาตราและ28 มีนาคม

9 พฤษภาคม

วันที่ 9 พฤษภาคม เป็นวันที่ 129 ของปี (วันที่ 130 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 236 วันในปีนั้น.

ดู เกาะสุมาตราและ9 พฤษภาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Sumatraสุมาตรา

ภาษามีนังกาเบาภาษาอาเจะฮ์ภาษาอินโดนีเซียภาษาเม็นตาไวภูเขาไฟกรากะตัวภูเขาไฟซีนาบุงมรดกของป่าฝนเขตร้อนบนเกาะสุมาตรามอชตาร์ ลูบิสมอริส ก็อตลามะพร้าวแฝดมะพลับพรุมะไฟควายมันตาหยงย่ามควายรัฐบาลปฏิวัติแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซียรัฐเนอเกอรีเซิมบีลันราชวงศ์หมิงราชวงศ์หยวนรายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงรายชื่อชนิดของหม้อข้าวหม้อแกงลิงรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อสปีชีส์ในสกุลทุเรียนรายชื่อนกที่พบในประเทศไทยรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอินโดนีเซียรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดรายการแผ่นดินไหวรือบับฤดูหนาวจากภูเขาไฟลัว ลี่ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)ลิงลมใต้ลิงแสมลู่ตูงวัฒนธรรมดงเซินวิวัฒนาการของมนุษย์วงศ์อึ่งกรายวงศ์นกยางวงศ์นกโพระดกวงศ์เขียดงูวงแหวนไฟศาสนาพุทธในประเทศอินโดนีเซียศาสนาพุทธในประเทศไทยศาสนาฮินดูแบบบาหลีสกุลมะม่วงสกุลมะเม่าสกุลหวายกุ้งน้ำพรายสกุลเอื้องหมายนาสมเสร็จมลายูสะเต๊ะสาธารณรัฐหลานฟางสถานีรถไฟจาการ์ตาโกตาสงครามอาเจะฮ์สงครามแปซิฟิกสนามกีฬาจากาบาริงส้มม่วงคันหมาไม้หมูหริ่งหมู่เกาะบังกา-เบอลีตุงหมู่เกาะลิงกาหมู่เกาะซุนดาหมู่เกาะนิโคบาร์หมู่เกาะเรียวหมีหมาหมีขอหม้อข้าวหม้อแกงลิงหม้อแกงลิงหลังกับหวายชุมพรหวายช้างหวายกุ้งหวายกุ้งน้ำพรายหวายมนหวายหินหวายจากหวายจากจำหวายจากเขาหวายทรายหวายขี้ผึ้งหวายขี้เป็ดหวายดำหวายตะค้าน้ำหวายไม้เท้าหนูผีป่าหนูเหม็นอับดุล มูอิสอักษรกวิอักษรยาวีอักษรฮานูโนโออักษรตักบันวาอักษรเรชังอากุส ซาลิมอามีร์ ซารีฟุดดินอาหารสิงคโปร์อาณาจักรมัชปาหิตอาณาจักรรีวกีวอาณาจักรศรีวิชัยอำเภอไชยาอำเภอเบตงอิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์อุรังอุตังอุรังอุตังสุมาตราอุรังอุตังตาปานูลีอีกันบาการ์อีเห็นลายเสือโคร่งอีเห็นหน้าขาวอีเห็นข้างลายอีเห็นน้ำมลายูอีเห็นเครืออ่าวเบงกอลจระเข้น้ำจืดจักรวรรดิบรูไนจักรวรรดิมองโกลจักรวรรดิปาละจังหวัดสุมาตราตะวันตกจังหวัดสุมาตราใต้จังหวัดสุมาตราเหนือจังหวัดอาเจะฮ์จังหวัดจัมบีจังหวัดเรียวจารึกสิงคโปร์ทะเลสาบโตบาทะเลอันดามันทาร์เซียร์ทางหลวงสายทรานส์-สุมาตราทุเรียนท่าอากาศยานนานาชาติกัวลานามูท่าอากาศยานนานาชาติสุลต่านมะห์มุด บาดารูดินที่ 2ขบวนการอาเจะฮ์เสรีดอกบุกยักษ์ดารุลอิสลามดินแดนสุวรรณภูมิดีปา นูสันตารา ไอดิตด้วงกว่างสามเขาจันทร์ครามนอกครามเครือคริสต์ทศวรรษ 2000ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดนคาบสมุทรมลายูค่างดำมลายูค่างแว่นโฮสค่างเทางูก้นขบงูหลามปากเป็ดงูเหลือมงูเขียวหัวจิ้งจกมลายูงูเขียวหางไหม้ลายเสือตะพาบแก้มแดงตะโขงติมอร์ก่อนเป็นอาณานิคมตูอักซิตีลิงก์ซุนดาแลนด์ประวัติศาสตร์บรูไนประวัติศาสตร์หน่วยเงินในประเทศไทยประวัติศาสนาพุทธประเทศอินโดนีเซียประเทศไทยใน พ.ศ. 2472ปลาช่อนจุดอินโดปลาบ้า (สกุล)ปลากระดี่ช็อกโกแลตปลากระดี่ช็อกโกแลต (สกุล)ปลากะทิปลากัดค็อกซินาปลาการ์ตูนแดงปลาการ์ตูนแดงดำปลายอดม่วงลายปลาสลาดปลาสวายหนูปลาหมูอินโดปลาหนวดพราหมณ์หนวดเจ็ดเส้นปลาอิแกลาเอ๊ะปลาดังปลาดุกด้านปลาตองปลาตะพัดปลาตะเพียนลายปลาซิวหางกรรไกรปลาซิวข้างขวานปลาซิวข้างขวานโกลว์ไลต์ปลาซิวคาโลโครม่าปลาซิวใบไผ่มุกปลาแรดปลาแขยงทองปลาแค้ปลาแค้วัวปลาเบี้ยวปลาเสือสุมาตราปลาเสือหกขีดปลาเข็มปาดังปาเล็มบังนกชนหินนกกกนกกระเต็นน้อยธรรมดานกกาน้อยหงอนยาวนกสาลิกาเขียวนกหว้านกอีวาบตั๊กแตนนกขุนทองนกคุ่มสีนกตีทองนกแว่นสีน้ำตาลนกเขียวก้านตองปีกสีฟ้านกเค้าป่าหลังจุดนากจมูกขนนากใหญ่ธรรมดานากใหญ่ขนเรียบนากเล็กเล็บสั้นนางแย้มป่านิคมช่องแคบแมวดาวแมวป่าหัวแบนแรดชวาแหล่งปลูกกาแฟที่มีชื่อเสียงแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547แผ่นดินไหวในสุมาตรา พ.ศ. 2552แผ่นดินไหวในสุมาตรา เมษายน พ.ศ. 2553โรมันคาทอลิกในประเทศไทยโอรังมาวัซโอรังเป็นเดะก์โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์โซโตไก่ฟ้าหน้าเขียวไก่จุกไก่ป่าไผ่ตงเกอเรตาอาปีอินโดเนเซียเกาะบอร์เนียวเกาะซีเมอลูเวอเกาะนียัซเก้งธรรมดาเม่นใหญ่แผงคอยาวเลียงผาใต้เสือเสือลายเมฆเสือลายเมฆบอร์เนียวเสือดาวเสือปลาเสือโคร่งเสือโคร่งสุมาตราเสือไฟเสี้ยนเส้นขนานที่ 5 องศาใต้เส้นขนานที่ 5 องศาเหนือเส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 102 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 103 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 104 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 95 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 99 องศาตะวันออกเส้นเวลาของอนาคตไกลเหยี่ยวรุ้งเหยี่ยวดำท้องขาวเหยี่ยวนกเขาชิคราเหย่เหรินเห่าช้างเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เจิ้งเหอเขาควายไม่หลูบเขนงนายพรานเต่ากระอานเต่าหับเต่าน้ำบอร์เนียวเนียมอ้นISO 3166-2:IDNepenthes adrianiiNepenthes albomarginataNepenthes aristolochioidesNepenthes × ferrugineomarginataNepenthes × kuchingensisNepenthes × sharifah-hapsahiiNepenthes × trichocarpaNepenthes beccarianaNepenthes bongsoNepenthes campanulataNepenthes carunculataNepenthes densifloraNepenthes flavaNepenthes fuscaNepenthes gracilisNepenthes izumiaeNepenthes nagaNepenthes pectinataNepenthes rafflesianaNepenthes singalanaNepenthes spathulataNepenthes spectabilisNepenthes sumatranaNepenthes talangensisNepenthes tenuisNepenthes tobaicaNepenthes xiphioidesUTC+07:0011 เมษายน13 กุมภาพันธ์26 สิงหาคม28 มีนาคม9 พฤษภาคม