สารบัญ
33 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดมพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริการสอบขุนนางมหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตตมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีมหาวิทยาลัยปาร์มามหาวิทยาลัยไอโอวาสเตตมหาวิทยาลัยเพอร์ดูมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีรายชื่อคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมในประเทศไทยรายชื่อคณะเกษตรศาสตร์ในประเทศไทยรายการสาขาวิชารายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.รซมะฮ์ มันโซร์ลูเทอร์ เบอร์แบงก์วิทยาศาสตร์การอาหารสุจินต์ จินายนสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริกอภิชัย พันธเสนอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาอนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ผลิตภัณฑ์ประมงถวิล จันทร์ประสงค์คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวรงานประเพณี ๔ จอบแห่งชาติโชติ สุวัตถิเกษตรกรรมเกษตรศาสตร์ (แก้ความกำกวม)
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..
ดู เกษตรศาสตร์และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นประมุขแห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน..
ดู เกษตรศาสตร์และพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม
ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม พระนามเดิม พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "เพ็ญพัฒน์" เป็นผู้พระนิพนธ์เพลงลาวดวงเดือน พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 38 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดามรกฎ ธิดาของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) ประสูติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ.
ดู เกษตรศาสตร์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ
ตราจารย์พิเศษ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2452 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2536) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ และหม่อมจำรัส จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ทรงสำเร็จการศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์ และเริ่มเข้ารับราชการที่กระทรวงเกษตร และเป็นอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นอกจากนี้ พระองค์ยังมีความสามารถพิเศษทางด้านการประพันธ์คำร้องและทำนองเพลงอีกด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริประชวรด้วยโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจและถุงลมโป่งพองสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..
ดู เกษตรศาสตร์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ
การสอบขุนนาง
การสอบขุนนาง (imperial examination) เป็นระบบการสอบคัดเลือกข้าราชการพลเรือนในประเทศจีนสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อสอบบรรจุข้าราชการที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดสำหรับระบบราชการของรัฐ ในการสอบใช้ข้อสอบแบบวัตถุวิสัย (objective) เพื่อประเมินการได้รับความรู้และคุณธรรมของผู้เข้าสอบ ผู้สอบได้จะได้รับวุฒิ จิ้นชื่อ แปลว่า "บัณฑิตชั้นสูง" (advanced scholar) (ซึ่งอาจเทียบได้กับปริญญา ดุษฎีบัณฑิต หรือปริญญาเอกในระบบการศึกษาสมัยใหม่ ซึ่งถือเป็นชั้นสูงสุด) รวมถึงปริญญาชั้นอื่น ๆ แล้วจะได้รับการประเมินเพื่อบรรจุเข้าดำรงตำแหน่งต่าง ๆ โดยทั่วไปแล้วผู้ที่ได้รับวุฒิจิ้นซี่อในการสอบขุนนางนั้นจะได้รับการแต่งตั้งเป็นข้าราชการระดับสูงแห่งราชสำนัก ตำแหน่งที่ได้รับจะเรียงตามลำดับผลคะแนนที่สอบได้ ผู้ที่สอบได้คะแนนสูงกว่าจะได้รับตำแหน่งที่ดีกว่า นอกจากนั้นองค์จักรพรรดิหรือจักรพรรดินีจะทรงให้ความสนใจเป็นพิเศษกับผู้เข้าสอบที่ได้คะแนนสูงสุด ด้วยพื้นฐานจากปรัชญาลัทธิขงจื้อ การสอบขุนนางนี้โดยทฤษฎีแล้วมุ่งทดสอบและคัดเลือกบุคคลด้วยคุณธรรม จึงมีอิทธิพลต่อประเทศจีนทั้งในด้านสังคมและวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ทั้งยังมีส่วนให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในการคานอำนาจในช่วงราชวงศ์ถัง ราชวงศ์โจวของพระนางบูเช็กเทียน (Wu Zetian) และราชวงศ์ซ่ง ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวยังส่งผลเป็นการหลอมรวมโครงสร้างทางสังคมไว้เป็นเวลานาน อนึ่ง มีหลายครั้งที่การสอบทำให้อภิชนบางกลุ่มถูกแทนที่ด้วยบุคคลจากชั้นรากหญ้า หลายดินแดนในทวีปเอเชีย เช่น ประเทศเวียดนาม ประเทศเกาหลี ประเทศญี่ปุ่น และรีวกีว (Ryūkyū) รับระบบการสอบนี้มาใช้เพื่อคัดเลือกบุคคลระดับหัวกะทิ เพื่อรักษาเป้าหมายทางอุดมคติและทรัพยากร กับทั้งเพื่อส่งเสริมวรรณกรรมและการเล่าเรียน เนื่องจากการจัดการสอบเป็นส่วนหนึ่งของระบบทะเบียนหลวง วันที่ได้รับการประสาทวุฒิจิ้นชื่อ จึงมักเป็นข้อมูลที่ชัดเจนส่วนหนึ่งที่ระบุไว้ในชีวประวัติบุคคลสำคัญสมัยราชวงศ์ถังและราชวงศ์ต่อ ๆ มา ในประวัติศาสตร์จีน.
มหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต
ในมหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต มหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต (Michigan State University, MSU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐตั้งอยู่ที่เมืองอีสต์แลนซิง ใน รัฐมิชิแกน สหรัฐอเมริกา และเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในด้านเกษตรกรรมของสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตตมีชื่อเสียงในด้านเกษตรศาสตร์และศิลปศาสตร์ ทีมกีฬาในมหาวิทยาลัยชื่อทีมว่า สปาร์ตันส์ แข่งขันในลีกของบิ๊กเทนสำหรับทุกกีฬายกเว้นฮอกกีน้ำแข็ง ทีมกีฬาที่ได้รับรางวัลได้แก่ทีมอเมริกันฟุตบอล แข่งชนะในโรสโบวลส์ ในปี..
ดู เกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (ม.อบ.) (Ubon Ratchathani University) "ภูมิปัญญาแห่งภูมิภาคลุ่มน้ำโขง" เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่จัดตั้งในพื้นที่ของจังหวัดอุบลราชธานี ก่อตั้งเมื่อ วันที่ 14 กันยายน พ.ศ.
ดู เกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
มหาวิทยาลัยปาร์มา
มหาวิทยาลัยปาร์มา (Università degli Studi di Parma; University of Parma) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ตั้งอยู่ที่เมืองปาร์มา ประเทศอิตาลี ปัจจุบันมีนักศึกษาประมาณ 30,000 คน มหาวิทยาลัยปาร์มา ประกอบด้วย 12 คณะ ได้แก.
ดู เกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยปาร์มา
มหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต
หอพักโรเบิร์ต บริเวณริชาร์ดสันคอร์ต ในมหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต มหาวิทยาไอโอวาสเตต (Iowa State University ชื่อย่อ ISU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐของสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ.
ดู เกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต
มหาวิทยาลัยเพอร์ดู
แครนเนิร์ต มหาวิทยาลัยเพอร์ดู (Purdue University) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาลโดยมีพื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเมือง เวสต์ลาเฟียตต์ ในรัฐอินดีแอนา ซึ่งอยู่เหนือแม่น้ำวอแบช เพอร์ดูมีชื่อเสียงในด้าน วิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ บริหารธุรกิจ ภูมิสถาปัตยกรรม และการจัดการโรงแรม ในปี 2551 คณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ถูกจัดอันดับที่ 10 ของประเทศ โดยวิศวกรรมอวกาศอยู่อันดับ 5 ขณะที่ด้านวิศวกรรมโยธาและวิศวกรรมเครื่องกล อยู่ที่อันดับ 7 ของประเทศ และในคณะวิทยาศาสตร์ เคมีวิเคราะห์คงอยู่ที่อันดับ 2 ในขณะที่ด้านสถิติศาสตร์ขึ้นมาเป็นอันดับ 10 และด้านระบบคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ และด้านคณิตศาสตร์ประยุกต์ได้ถูกจัดอันดับอยู่ที่ 16, 18, 19, และ 19 ของประเทศตามลำดับ นักศึกษาในเพอร์ดูมีประมาณ 38,000 คน (ปี พ.ศ.
ดู เกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยเพอร์ดู
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..
ดู เกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (Rajamangala University of Technology Lanna) เป็นมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของรัฐ ได้รับการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขต ของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล โดยชื่อ "ราชมงคล" นั้น ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.
ดู เกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (Rajamangala University of Technology Thanyaburi) ได้รับการสถาปนาขึ้นในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เมื่อวันที่ 18 มกราคม..
ดู เกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รายชื่อคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมในประเทศไทย
รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาด้านคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม เป็นการศึกษาว่าด้วยวิชาทางวิชาชีพต่าง ๆ เช่น วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ โดยมุ่งเน้นในการผลิตครูอาชีวศึกษา ครูอุตสาหกรรม เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของการศึกษาในสายอาชี.
ดู เกษตรศาสตร์และรายชื่อคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมในประเทศไทย
รายชื่อคณะเกษตรศาสตร์ในประเทศไทย
รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาด้านเกษตรศาสตร์ คือ วิชาว่าด้วยการเกษตรกรรม.
ดู เกษตรศาสตร์และรายชื่อคณะเกษตรศาสตร์ในประเทศไทย
รายการสาขาวิชา
รายชื่อสาขาวิชา หรือ สาขาการศึกษา (Field of study) หมายถึงสาขาความรู้ หรือ การวิจัยที่เปิดสอนในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย คำว่า สาขาวิชา ได้รับการนิยามและยอมรับโดย วารสารวิชาการที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย และโดยสมาคมผู้รู้ (learned societies) และโดยภาควิชาหรือคณะวิชาที่บุคคลผู้อยู่ในสาขาวิชานั้นๆ สังกัด โดยปกติ สาขาการศึกษาต่างๆ มักมีสาขาย่อยหรือแขนงวิชาแตกออกไป เส้นแบ่งระหว่างสาขาย่อยมักยังมีความคลุมเครือและมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ชัดเจน ในยุโรปสมัยกลางซึ่งขณะนั้นยังมีการแบ่งคณะวิชาออกเป็น 4 คณะหรือสายวิชา ได้แก่เทววิทยา การแพทย์ ธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ และศิลปะ โดยคณะวิชาหลังมีสถานะไม่สูงเท่า 3 สาขาแรก การแบ่งสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสมัยนั้นมีรากสืบทอดมาจากขบวนการแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร (Secularization) ของมหาวิทยาลัยซึ่งเกิดขึ้นราวสมัยกลาง-ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ.
ดู เกษตรศาสตร์และรายการสาขาวิชา
รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.
รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.
ดู เกษตรศาสตร์และรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.
รซมะฮ์ มันโซร์
ติน ปาดูกา ซรี ฮัจจะฮ์ รซมะฮ์ บินตี มันโซร์ (Rosmah binti Mansor; เกิด: 10 ธันวาคม ค.ศ. 1951) อดีตสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศมาเลเซีย ภรรยาของนาจิบ ราซัก อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศมาเลเซี.
ดู เกษตรศาสตร์และรซมะฮ์ มันโซร์
ลูเทอร์ เบอร์แบงก์
ลูเทอร์ เบอร์แบงก์ (Luther Burbank; 7 มีนาคม ค.ศ. 1849 – 11 เมษายน ค.ศ. 1926) เป็นนักพฤกษศาสตร์และพืชกรชาวอเมริกัน เป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกวิชาเกษตรศาสตร์ ตลอดเวลา 55 ปีของการทำงาน เบอร์แบงก์พัฒนาสายพันธุ์พืชกว่า 800 สายพันธุ์ รวมถึงดอกเดซีแชสตา (Leucanthemum × superbum) กระบองเพชรไร้หนาม และผลไม้ในสกุลพรุน (Prunus) เบอร์แบงก์เกิดในครอบครัวชาวไร่ที่เมืองแลงคัสเตอร์ในปี..
ดู เกษตรศาสตร์และลูเทอร์ เบอร์แบงก์
วิทยาศาสตร์การอาหาร
วิทยาศาสตร์การอาหาร (food science) วิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่เน้นการศึกษาของอาหาร เริ่มตั้งแต่เก็บเกี่ยวจนถึงการบริโภคมีส่วนคาบเกี่ยวกับวิชาเกษตรศาสตร์ ".
ดู เกษตรศาสตร์และวิทยาศาสตร์การอาหาร
สุจินต์ จินายน
ตราจารย์ ดร.สุจินต์ จินายน ศาสตราจารย์ สุจินต์ จินายน (12 เมษายน พ.ศ. 2478 -) ศาสตราจารย์สาขาพันธุศาสตร์ และการปรับปรุงพันธุ์พืช ได้รับการคัดเลือกให้เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเกษตรศาสตร์ และชีววิทยา เมื่อปี พ.ศ.
ดู เกษตรศาสตร์และสุจินต์ จินายน
สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก
ันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก (Swiss Federal Institute of Technology in Zurich, ชื่อเต็มในภาษาเยอรมันคือ Eidgenössische Technische Hochschule Zürich โดยมีชื่อย่อที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า ETH Zürich) เป็นมหาวิทยาลัยทางด้านวิทยาศาสตร์ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริกเป็นมหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงในระดับนานาชาติเป็นสมาชิกของ IDEA League และ International Alliance of Research Universities IARU.
ดู เกษตรศาสตร์และสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก
อภิชัย พันธเสน
ตราจารย์ อภิชัย พันธเสน (เกิด ?) อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต และผู้อำนวยการสถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม หน่วยงานภายใต้มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ รวมทั้งยังร่วมเป็นคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงอีกด้ว.อภิชัย พันธเสน หรือ.ดร.อภิชัย พันธเสน มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นรูปธรรมทั้งในเชิงวิชาการและเชิงปฏบัติ โดยผลงานทางวิชาการต่างๆของอาจารย์ ได้ถูกหยิบยกไปใช้ในการอ้างอิงเพื่อการศึกษา และนำไปเป็นฐานในการประยุกต์ใช้และส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ชนบท โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานที่เกี่ยวข้องกับพุทธเศรษฐศาสตร์และเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นผลงานที่เปลี่ยนโฉมหน้าการศึกษาทางด้านวิชาการเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทย ดังข้อความตอนท้ายช่วงหนึ่งในโมทนพจน์ของพระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต).
ดู เกษตรศาสตร์และอภิชัย พันธเสน
อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
การจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.
ดู เกษตรศาสตร์และอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
อนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์
อนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ ในปัจจุบัน อนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ หรือ อนุสาวรีย์สามเสือแห่งเกษตร เป็นอนุสาวรีย์รูปเหมือนของสามบูรพาจารย์ผู้ริเริ่มสถาปนาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คือพระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ) หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์) และหลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์) ประดิษฐาน ณ ลานอนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ หน้าสถาบันเกษตราธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน.
ดู เกษตรศาสตร์และอนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์
ผลิตภัณฑ์ประมง
ปลาหลังเขียวในน้ำมันบรรจุกระป๋อง หนึ่งในผลิตภัณฑ์ประมงประเภทอาหาร ผลิตภัณฑ์ประมง (Fishery Products) หมายถึง.
ดู เกษตรศาสตร์และผลิตภัณฑ์ประมง
ถวิล จันทร์ประสงค์
วิล จันทร์ประสงค์ (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475 – 18 มีนาคม พ.ศ. 2555) อดีตนักการเมืองชาวไทย และอดีตรัฐมนตรีช่วยการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.
ดู เกษตรศาสตร์และถวิล จันทร์ประสงค์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่ที่สุด และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจากโรงเรียนยันตรศึกษาแห่งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถือเป็นคณะที่มีจำนวนรุ่นมากที่สุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในปีการศึกษา 2560 เป็นรุ่นที่ 101 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีหน้าที่หลักในการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนทั่วไป เพื่อเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการให้กับประเทศ มีงานวิจัยและความร่วมมือทางวิชาการซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ ปัจจุบันมีภาควิชาทั้งหมด 12 ภาควิชาและหน่วยงานเทียบเท่าภาควิชาอีก 2 หน่วยงาน นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ มักเรียกแทนตัวเองว่า "อินทาเนีย" คณะวิศวกรรมศาสตร์ตั้งอยู่ในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝั่งตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี จาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 147 ของโลก และเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่มีสาขาวิชาติดอันดับโลกมากที่สุดในประเทศไท.
ดู เกษตรศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร
ณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2536 โดยใช้ชื่อว่า "คณะเกษตรศาสตร์" และได้เปลี่ยนชื่อเป็น "คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม" เมื่อปี พ.ศ.
ดู เกษตรศาสตร์และคณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร
งานประเพณี ๔ จอบแห่งชาติ
right งานประเพณี 4 จอบ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนิสิต นักศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ ในการแลกเปลี่ยนความรู้และทักษะทางวิชาการสาขาเกษตรศาสตร์ 4 ภูมิภาค คือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ในการแลกเปลี่ยนความรู้และทักษะทางวิชาการสาขาเกษตรศาสตร์ ที่จะนำไปสู่ความร่วมมือและการพัฒนาการเกษตรของประเทศไทยในอนาคต.
ดู เกษตรศาสตร์และงานประเพณี ๔ จอบแห่งชาติ
โชติ สุวัตถิ
ตราจารย์โชติ สุวัตถิ ศาสตราจารย์โชติ สุวัตถิ นับเป็นนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญในด้านสัตว์น้ำและพรรณพืชคนหนึ่งของประเทศไทย มีผลงานศึกษา วิจัย และอนุกรมวิธานสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก เช่น ปลาปักเป้าควาย (Tetraodon suvatti) ก็ได้รับการตั้งชื่อสายพันธุ์ (Species) เพื่อเป็นเกียรติแก่ท่าน อีกทั้งยังเป็นผู้ชำนาญการวาดภาพประกอบทางวิทยาศาสตร์อีกด้วย (Scientific drawing) มีผลงานหนังสือที่ยังใช้อ้างอิงมาจนถึงปัจจุบัน เช่น Fishes of Thailand, Flora of Thailand—old and new, and night and day: Flora of Thailand และ กล้วยไม้เมืองไทย โชติ สุวัตถิ รวบรวม เป็นต้น.
เกษตรกรรม
กษตรกรรม (agriculture) เป็นการเพาะปลูกพืช เห็ดรา เลี้ยงสัตว์ และรูปแบบของชีวิตแบบอื่น ๆ เพื่อเป็นอาหาร เส้นใย เชื้อเพลิงชีวภาพ ยารักษาโรคและผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อความยั่งยืนและเพิ่มสมรรถนะชีวิตมนุษย์ เกษตรกรรมเป็นพัฒนาการที่สำคัญในความเจริญของอารยธรรมมนุษย์ที่ไม่ย้ายที่อยู่ซึ่งการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ในสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่องได้ผลิตอาหารส่วนเกิน ซึ่งช่วยหล่อเลี้ยงพัฒนาการของอารยธรรม การศึกษาด้านเกษตรกรรมถูกเรียกว่า เกษตรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ของเกษตรกรรมย้อนกลับไปหลายพันปี และการพัฒนาของมันได้ถูกขับเคลื่อนโดยความแตกต่างอย่างมากของภูมิอากาศ วัฒนธรรมและเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรรมทั้งหมดโดยทั่วไปพึ่งพาเทคนิคต่างๆเพื่อการขยายและบำรุงที่ดินที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่อง สำหรับพืช เทคนิคนี้มักอาศัยการชลประทานบางรูปแบบ แม้จะมีหลายวิธีการของเกษตรกรรมในพื้นที่แห้งแล้งอยู่ก็ตาม ปศุสัตว์จะถูกเลี้ยงในระบบทุ่งหญ้าผสมกับระบบที่ไม่เป็นเจ้าของที่ดิน ในอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบหนึ่งในสามของพื้นที่ที่ปราศจากน้ำแข็งและปราศจากน้ำของโลก ในโลกพัฒนาแล้วเกษตรอุตสาหกรรมที่ยึดการปลูกพืชเชิงเดี่ยวขนาดใหญ่ได้กลายเป็นระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ที่โดดเด่น แม้ว่าจะมีแรงสนับสนุนที่เพิ่มมากขึ้นสำหรับเกษตรกรรมแบบยั่งยืน รวมถึงเกษตรถาวรและเกษตรกรรมอินทรีย์ จนกระทั่งมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ของประชากรมนุษย์ทำงานในภาคการเกษตร การเกษตรแบบก่อน-อุตสาหกรรมโดยทั่วไปเป็นการเกษตรเพื่อการดำรงชีวิต/การพึ่งตัวเองในที่ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพืชเพื่อการบริโภคของตัวเองแทน'พืชเงินสด'เพื่อการค้า การปรับเปลี่ยนที่โดดเด่นในการปฏิบัติทางการเกษตรได้เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาในการตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ๆและการพัฒนาของตลาดโลก มันยังได้นำไปสู่การปรับปรุงด้านเทคโนโลยีในเทคนิคการเกษตร เช่นวิธีของ 'ฮาเบอร์-Bosch' สำหรับการสังเคราะห์แอมโมเนียมไนเตรตซึ่งทำให้การปฏิบัติแบบดั้งเดิมของสารอาหารที่รีไซเคิลด้วยการปลูกพืชหมุนเวียนและมูลสัตว์มีความสำคัญน้อยลง เศรษฐศาสตร์การเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช เกษตรเคมีเช่นยาฆ่าแมลงและปุ๋ยและการปรับปรุงเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้เพิ่มอัตราผลตอบแทนอย่างรวดเร็วจากการเพาะปลูก แต่ในเวลาเดียวกันได้ทำให้เกิดความเสียหายของระบบนิเวศอย่างกว้างขวางและผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ในเชิงลบ การคัดเลือกพันธุ์และการปฏิบัติที่ทันสมัยในการเลี้ยงสัตว์ได้เพิ่มขึ้นในทำนองเดียวกันของการส่งออกของเนื้อ แต่ได้เพิ่มความกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพของสัตว์และผลกระทบต่อสุขภาพของยาปฏิชีวนะ ฮอร์โมนที่สร้างการเจริญเติบโต และสารเคมีอื่นๆที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเป็นองค์ประกอบที่เพิ่มขึ้นของการเกษตร แม้ว่าพวกมันจะเป็นสิ่งต้องห้ามในหลายประเทศ การผลิตอาหารการเกษตรและการจัดการน้ำจะได้กลายเป็นเป็นปัญหาระดับโลกเพิ่มขึ้นที่ได้รับการสนับสนุนให้เกิดการอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนของ fronts การเสื่อมสลายอย่างมีนัยสำคัญของทรัพยากรดินและน้ำ รวมถึงการหายไปของชั้นหินอุ้มน้ำ ได้รับการตั้งข้อสังเกตในทศวรรษที่ผ่านมา และผลกระทบของภาวะโลกร้อนกับการเกษตรและผลของการเกษตรต่อภาวะโลกร้อนยังคงไม่เป็นที่เข้าใจอย่างเต็มที่ สินค้าเกษตรที่สำคัญสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มกว้างๆได้แก่อาหาร เส้นใย เชื้อเพลิง และวัตถุดิบ อาหารที่เฉพาะได้แก่(เมล็ด)ธัญพืช ผัก ผลไม้ น้ำมันปรุงอาหาร เนื้อสัตว์และเครื่องเทศ เส้นใยรวมถึงผ้าฝ้าย ผ้าขนสัตว์ ป่าน ผ้าไหมและผ้าลินิน วัตถุดิบได้แก่ ไม้และไม้ไผ่ วัสดุที่มีประโยชน์อื่นๆมีการผลิตจากพืช เช่นเรซิน สีธรรมชาติ ยา น้ำหอม เชื้อเพลิงชีวภาพและผลิตภัณฑ์ใช้ประดับเช่นไม้ตัดดอกและพืชเรือนเพาะชำ กว่าหนึ่งในสามของคนงานในโลกมีการจ้างงานในภาคเกษตร เป็นที่สองรองจากภาคบริการเท่านั้น แม้ว่าร้อยละของแรงงานเกษตรในประเทศที่พัฒนาแล้วได้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านม.
เกษตรศาสตร์ (แก้ความกำกวม)
กษตรศาสตร์ อาจหมายถึง.
ดู เกษตรศาสตร์และเกษตรศาสตร์ (แก้ความกำกวม)