สารบัญ
11 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2498การคิดวิเคราะห์การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดรายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญรายนามนักประพันธ์และรายชื่อวรรณกรรมที่เข้ารอบสุดท้ายรางวัลซีไรต์ของประเทศไทยสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22สิริยากร พุกกะเวส100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย9 กันยายน
พ.ศ. 2498
ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์และพ.ศ. 2498
การคิดวิเคราะห์
ประติมากรรม "The Thinker" (พ.ศ. 2422-2432) โดยออกัสต์ โรแดง ประติมากรชาวฝรั่งเศส (พ.ศ. 2383 - 2460) ที่มีการจำลองไปตั้งตามมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษา-วิจัยสำคัญรวมทั้งพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ เกือบทุกทวีปทั่วโลกไม่น้อยกว่า 30 แห่ง การคิดวิเคราะห์, การคิดเชิงวิพากษ์ หรือ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (critical thinking) เป็นกระบวนการทางจิตสำนึกเพื่อวิเคราะห์ หรือ ประเมินข้อมูล ในคำแถลง หรือ ข้อเสนอที่มีผู้แถลงหรืออ้างว่าเป็นความจริง การคิดวิเคราะห์เป็นรูปแบบของกระบวนการที่สะท้อนให้เห็นความหมายของคำแถลง (statement) และการตรวจสอบหลักฐานที่ได้รับการไต่ตรองด้วยเหตุและผล แล้วจึงทำการตัดสินคำแถลงหรือข้อเสนอที่ถูกอ้างว่าเป็นความจริงนั้น การคิดวิเคราะห์อาจทำได้จากการรวบรวมข้อมูล การสังเกตการณ์ ประสบการณ์ หลักแห่งเหตุและผล หรือการสื่อความ การคิดวิเคราะห์ต้องมีพื้นฐานของคุณค่าเชิงพุทธิปัญญาที่สูงเลยไปจากการเป็นเพียงการแบ่งเนื้อหาที่รวมไปถึง ความกระจ่างชัด ความแม่นยำ ความต้องตรงเนื้อหา หลักฐาน ความครบถ้วนและความยุติธรรม ความหมายหรือนิยามการคิดวิเคราะห์มีมากมายและหลากหลาย แต่ส่วนใหญ่ไปในแนวเดียวกันคือการใช้เหตุผล หลักฐานและตรรกะมาวิเคราะห์ให้แน่ชัดก่อนลงความเห็นหรือตัดสิน พระพุทธเจ้าได้ใช้วิธีการสอนที่อาจนับเป็นการคิดวิเคราะห์ที่เรียกว่า "ปุจฉาวิสัชนา" ด้วยการให้พระสงฆ์ใช้ "วิจารณญาน" ถามตอบซักไซ้ไล่เลียงค้านกันไปมาจนได้คำตอบซึ่งอาจถือได้ว่าเป็นการคิดวิเคราะห์ โดยทรงให้หลักแห่งความเชื่อที่ไม่งมงายไว้ในพระสูตรชื่อ กาลามสูตร.
ดู เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์และการคิดวิเคราะห์
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..
ดู เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..
ดู เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556
รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด
รายชื่อบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร.
ดู เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์และรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด
รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ
รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ เป็นการรวบรวมรายชื่อบุคคลที่จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่วันสถาปนาโรงเรียนอย่างเป็นทางการในวันที่ 16 กุมภาพัน..
ดู เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์และรายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ
รายนามนักประพันธ์และรายชื่อวรรณกรรมที่เข้ารอบสุดท้ายรางวัลซีไรต์ของประเทศไทย
right รายนามนักประพันธ์และรายชื่อวรรณกรรมที่เข้ารอบสุดท้ายรางวัลซีไรต์ของประเทศไทย เรียงจากปีล่าสุดไปถึงปีแรกโดยนักเขียนและผลงานที่ได้รับรางวัลจะเขียนด้วยตัวหนังสือหนาที่ตำแหน่งบนสุดของแต่ละปี ข้อมูลหนังสือแต่ละเล่มเรียงจาก นามนักประพันธ์, ชื่อวรรณกรรม และสำนักพิมพ์เจ้าของลิขสิทธิ์ในเวลาที่หนังสือได้รางวัล อนึ่ง คณะกรรมการคัดเลือก (Selection Committee) มีหน้าที่รับเรื่องที่มีผู้เสนอเข้าพิจารณา และพิจารณาคัดเลือกให้เหลือไม่เกิน 10 เรื่อง เสนอต่อคณะกรรมการตัดสิน (มีการปรับเพิ่มจำนวนผลงานรอบสุดท้าย จาก 7 เล่มเป็น 10 เล่ม ในปีพ.ศ.
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22
มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22
สิริยากร พุกกะเวส
ริยากร พุกกะเวส (ชื่อเล่น: อุ้ม) เกิดเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2517 ที่จังหวัดสมุทรปราการ ศึกษาระดับอนุบาลที่โรงเรียนอนุบาลสุวิชชา ระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนศรีวิทยา ระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนสายน้ำผึ้ง และจบการศึกษาระดับอุดมศึกษาจากคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เอกด้านโฆษณา ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 2 เข้าสู่วงการบันเทิงโดยการชักนำของคุณมยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช มีผลงานชิ้นแรกคือโฆษณา แชมพูรีจอยส์ ต่อมาในปี 2538 เป็นที่รู้จักในละครโทรทัศน์เรื่องแรกคือเรื่อง "สามใบไม่เถา" ต่อมาในปี 2541 ทำธุรกิจร้านอาหาร “Take / A / Seat” สุขุมวิท 19 จนถึงปี 2544 และในปีเดียวกับทำรายการ บ้านอุ้มใน เนชั่น แชนแนล ส่วนทางด้านงานเขียน มีคอลัมน์ "แหงนหน้าเล่า" ในนิตยสารแพรว กับงานแปลเรื่องแรก "หญิงสาวกับต่างหูมุก" ของสำนักพิมพ์อิมเมจ และยังมีผลงานเขียนและงานแปลอีกหลายเล่ม ในปี 2546 มีรายออกหนังสือ พ็อกเกตบุ๊ก ชื่อ "บ้านอุ้ม vol.1 ฉบับขึ้นบ้านใหม่" ที่มีเนื้อหานำมาจากรายการ บ้านอุ้ม นอกจากนี้แล้วในปี 2551 ได้ช่วยหาเสียงให้กับ ดร.
ดู เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์และสิริยากร พุกกะเวส
100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย
รงการ 100 เล่มหนังสือดีวิทยาศาสตร์ (พ.ศ. 2537-2548) เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการวิจัยหนังสือดีวิทยาศาสตร์ ซึ่งได้ประกาศยกย่อง หนังสือวิทยาศาสตร์ไทย 88 เล่ม ดำเนินการระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์และ100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย
9 กันยายน
วันที่ 9 กันยายน เป็นวันที่ 252 ของปี (วันที่ 253 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 113 วันในปีนั้น.