เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

อโยธยา

ดัชนี อโยธยา

อโยธยา (เทวนาครี: अयोध्या, อูรดู: ایودھیا) เป็นเมืองเก่าแก่ในประเทศอินเดีย อยู่ในรัฐอุตตรประเทศ ชาวฮินดูเชื่อว่าพระรามเคยครองราชย์ที่เมืองนี้ อโยธยาตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำสรยุ ทุกปีในเดือนพฤศจิกายนซึ่งเป็นเดือนประสูติของพระรามและเดือนธันวาคมซึ่งเป็นเดือนที่พระรามอภิเษกกับนางสีดาจะมีชาวฮินดูมาแสวงบุญที่อโยธยา ตามความเชื่อของชาวฮินดู อโยธยาเป็นสถานที่ประสูติของพระราม ในปีพ.ศ.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 27 ความสัมพันธ์: บางกอกโอเปร่าพ.ศ. 2545พรรคภารตียชนตาพระพรตพระลักษมณ์พระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)กรุงเทพกรณีพิพาทอโยธยากัลมาษบาทรามายณะรามาวตารรามเกียรติ์: กำเนิดพระมงกุฎ พระลบวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรีสมเถา สุจริตกุลสวามีนารายัณหัวโขนอวัธอวตารอาณาจักรอยุธยาอาณาจักรในอินเดียโบราณจังหวัดนครราชสีมาทศาวตารคริสต์ทศวรรษ 2000นครศักดิ์สิทธิ์โรงเรียนขุขันธ์โคราฆปุระ27 กุมภาพันธ์

บางกอกโอเปร่า

อุปรากรร่วมสมัย'''แม่นาก'''โดยบางกอกโอเปร่า อุปรากรร่วมสมัย'''ไอดา(Aida)''' โดยบางกอกโอเปร่า บางกอกโอเปร่า หรือ อุปรากรกรุงเทพฯ (Bangkok Opera) เดิมคือมูลนิธิอุปรากรกรุงเทพฯ ก่อตั้งโดยสมเถา สุจริตกุล ภายใต้การอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยสมเถามักจะเป็นผู้ประพันธ์ดนตรี-เนื้อร้อง ทำหน้าที่วาทยากรอำนวยเพลง อุปรากรกรุงเทพฯ ยังเป็นผู้สนับสนุนนักประพันธ์ดนตรีและวาทยากรรุ่นเยาว์ ชื่อทฤษฎี ณ พัทลุง มีกลุ่มดนตรีคลาสสิกประจำ คือ วงดุริยางค์สยามฟิลฮาร์โมนิก (Siam Philharmonic Orchestra) และนักร้องประสานเสียงกลุ่มออเฟียสชอยร์คอรัส กรุงเทพฯ (Orpheus Choir of Bangkok) ผลงานที่เป็นที่สนใจ ได้แก่ อุปรากรไอดา, อุปรากรแม่นาก, อุปรากรอโยธยา ดนตรีคลาสสิกจากวงดุริยางค์สยามฟิลฮาโมนิคออเคสตร้.

ดู อโยธยาและบางกอกโอเปร่า

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู อโยธยาและพ.ศ. 2545

พรรคภารตียชนตา

รรคภารตียชนตา (भारतीय जनता पार्टी ภารตีย ชนตา ปารฺตี; Bharatiya Janata Party: BJP) หรือ พรรคประชาชนอินเดีย (Indian People's Party) เป็นพรรคการเมืองอินเดียหนึ่งในสองพรรคใหญ่คู่กับพรรคคองเกรสแห่งชาติอินเดีย (Indian National Congress) นับแต..

ดู อโยธยาและพรรคภารตียชนตา

พระพรต

ระพรต เป็นตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ มีกายสีแดง (คือจักรแก้วของพระนารายณ์ที่อวตารลงมาพร้อมกับพระราม) เป็นโอรสของท้าวทศรถกับพระนางไกยเกษี คำว่า "พรต" มีความหมายว่า "พระ" (พงศ์นารายณ์ - วงศ์กษัตริย์แห่งเมืองอโยธยา).

ดู อโยธยาและพระพรต

พระลักษมณ์

ระลักษมณ์ (พงศ์นารายณ์ - วงศ์กษัตริย์แห่งกรุงอโยธยา) เป็นตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ พระลักษมณ์ คือพญาอนันตนาคราชที่ประทับของพระนารายณ์และสังข์ของพระนารายณ์มาเกิด เป็นโอรสของท้าวทศรถและนางสมุทรชา มีพระวรกายสีเหลืองดั่งทองทา มีพระอนุชาร่วมพระมารดา คือ พระสัตรุด พระลักษมณ์มีความจงรักภักดีต่อพระรามมาก เมื่อพระรามต้องออกเดินป่าถึง 14 ปี พระลักษมณ์ก็ได้ติดตามไปด้วย และยังช่วยออกรบกับกองทัพของกรุงลงกา อย่างกล้าหาญหลายครั้งหลายหน ทรงเคียงคู่พระรามเสมอ ในระหว่างเกิดศึกกรุงลงกา และเมื่อพระรามต้องเสด็จเดินดงเป็นครั้งที่สอง ก็ได้ทูลขอเสด็จตามไปด้วยอีก ทรงร่วมผจญหมู่มารและเหล่าศัตรูเคียงคู่พระรามหลายครั้งหลายครา พระลักษมณ์เคยได้ไปร่วมพิธียกธนูโมลีที่มิถิลา ได้ยกศรก่อนพระราม เมื่อจับศรแล้วศรขยับ แต่แกล้งทำเป็นยกไม่ได้ เพราะรู้ว่าพระรามหลงรักนางสีดาตั้งแต่แรกเห็น อีกทั้งพระลักษมณ์ก็ไม่ได้รักนางสีดาแบบชู้สาว จึงเปิดโอกาสให้พระราม พระรามจึงได้อภิเษกสมรสกับนางสีดา ในระหว่างศึกสงคราม พระลักษมณ์ได้ออกรบจนถูกอาวุธได้รับบาดเจ็บเกือบสิ้นพระชนม์ถึง 5 ครั้ง จากหอกโมกขศักดิ์ของกุมภกรรณ ศรนาคบาศกับศรพรหมาสตร์ของอินทรชิต หอกแก้ววราวุธของมูลพลัม และหอกกบิลพัทของทศกัณฐ์ แต่ฝีมือก็ไม่ได้ด้อยไปกว่าใคร ได้สังหารกุมภกาศ อินทรชิต มูลพลัม จิตรไพรี ทศคีรีวัน ทศคีรีธร พระนามของพระลักษมณ์มาจากภาษาสันสกฤต แปลว่าผู้มีเครื่องหมายอันเป็นมงคล หรือผู้ที่มีลักษณะดี.

ดู อโยธยาและพระลักษมณ์

พระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)

ระเจ้าช้างเผือก (The King of the White Elephant) เป็นภาพยนตร์ไทยขาวดำ ในระบบ 35 มม.

ดู อโยธยาและพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)

กรุงเทพ

กรุงเทพ อาจหมายถึง; ดินแดนและการปกครอง.

ดู อโยธยาและกรุงเทพ

กรณีพิพาทอโยธยา

กรณีพิพาทอโยธยา (Ayodhya dispute; अयोध्या विवाद 'Ayōdhyā Vivād', مسئلۂ ایودھیا 'Masʾala-ē Ayōdhyā') เป็นข้อโต้แยงในเชิงการเมือง ประวัติศาสตร์และศาสนาในเมืองอโยธยา ซึ่งเป็นความขัดแย้งระหว่างผู้นับถือศาสนาฮินดูและอิสลาม ในคัมภีร์อโยธยา มหาตมยา กล่าวว่ามีโบสถ์พระรามอยู่ที่รามโกฏ อันเป็นที่ประสูติของพระราม ชาวฮินดูได้อ้างว่ามีการรื้อถอนโบสถ์พระรามมาสร้างมัสยิดบาบรีเมื่อ..

ดู อโยธยาและกรณีพิพาทอโยธยา

กัลมาษบาท

ในเทพปกรณัมฮินดู กัลมาษบาท (कल्माषपाद กลฺมาษปาท), เสาทาส (सौदास), มิตรสหะ (मित्रसह), หรือ อมิตรสหะ เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์อิกษวากุ ซึ่งถูกฤษีวสิษฐะสาปให้กลายเป็นรากษส พระเจ้ากัลมาษบาทเป็นต้นวงศ์ของพระรามซึ่งถือกันว่าเป็นอวตารของเทพวิษณุและเป็นวีรบุรุษในมหากาพย์ฮินดูเรื่อง รามายณะ เอกสารหลายฉบับพรรณนาว่า พระเจ้ากัลมาษบาททรงถูกสาปให้สิ้นพระชนม์ถ้าร่วมประเวณีกับพระมเหสี พระองค์จึงขอให้ฤษีวสิษฐะประทานบุตรให้ด้วยวิธีนิโยคอันเป็นวิธีตามประเพณีโบราณที่ชายสามารถขอให้ภริยามีสัมพันธ์กับชายอื่นเพื่อให้เกิดบุตรได้ พระเจ้ากัลมาษบาทยังปรากฏในร้อยกรองเรื่องสำคัญอย่าง ปุราณะ, มหาภารตะ, และ รามายณะMani, p.

ดู อโยธยาและกัลมาษบาท

รามายณะ

พระรามประทับบนไหล่หนุมาน เข้าต่อรบกับพญายักษ์ราวณะ (ทศกัณฐ์), ภาพวาดบนกระดาษ, ศิลปะอินเดีย, ประมาณคริสต์ทศวรรษที่ 1820 (สมบัติของบริติชมิวเซียม) รามายณะ (रामायण) เป็นวรรณคดีประเภทมหากาพย์ของอินเดีย เชื่อว่าเป็นนิทานที่เล่าสืบต่อกันมายาวนานในหลากหลายพื้นที่ของชมพูทวีป แต่ผู้ได้รวบรวมแต่งให้เป็นระเบียบครั้งแรกคือฤๅษีวาลมีกิ เมื่อกว่า 2,400 ปีมาแล้ว โดยประพันธ์ไว้เป็นบทร้อยกรองประเภทฉันท์ภาษาสันสกฤต เรียกว่า โศลก จำนวน 24,000 โศลกด้วยกัน โดยแบ่งเป็น 7 ภาค (กาณฑ์ หรือ กัณฑ์) ดังนี้.

ดู อโยธยาและรามายณะ

รามาวตาร

รามาวตาร อาจหมายถึง.

ดู อโยธยาและรามาวตาร

รามเกียรติ์: กำเนิดพระมงกุฎ พระลบ

รามเกียรติ์: กำเนิดพระมงกุฎ พระลบ (Luv Kush หรือในชื่อว่า อุตตรรามายณะ) เป็นละครโทรทัศน์ที่กล่าวถึงสงครามครั้งสำคัญในวรรณกรรมเรื่องยิ่งใหญ่ รามายณะ ที่เริ่มต้นเรื่องราวหลังจากพระรามยกทัพสู้กับพญาทศกัณฐ์จนได้รับชัยชนะ แล้วจึงเสด็จกลับมาครองกรุงอโยธยา นำแสดงโดย อรุณ โกวิล, ทิปิกา สิกขาเรีย, ทารา สิงห์, ศุนิล ลาฮีรี, จายาศิริ กาดก้.

ดู อโยธยาและรามเกียรติ์: กำเนิดพระมงกุฎ พระลบ

วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี

วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เป็นวัดอารามใน ตำบลท่าหิน อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ตั้งอยู่ตรงข้ามกับสถานีรถไฟลพบุรี สร้างในสมัยใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด แต่มีการปรับปรุงซ่อมแซมหลายครั้งทั้งในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมเด็จพระราเมศวร และสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ องค์ประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุยังปรากฎบนผลงานภาพจิตรกรรมฯ 8 จอมเจดีย์แห่งสยาม ณ วัดเบญจมบพิตร อีกด้ว.

ดู อโยธยาและวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี

สมเถา สุจริตกุล

มเถา สุจริตกุล สมเถา สุจริตกุล เป็นวาทยากร คีตกร นักประพันธ์เพลงคลาสสิก ผู้กำกับภาพยนตร์ นักเขียนที่มีชื่อเสียงเป็นสากลคนหนึ่งของเมืองไทย สมเถาเป็นบุตร ศาสตราจารย์ ดร.สมปอง สุจริตกุล คณบดีกิตติคุณคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต อดีตเอกอัครราชทูตไทย และนางถ่ายเถา สุจริตกุล มีน้องสาวสองคนคือ ดร.นฎาประไพ เอื้อชูเกียรติ และเปรมิกา สุจริตกุล สมเถาโตในหลายประเทศในยุโรป ศึกษามัธยมศึกษาจากวิทยาลัยอีตัน สหราชอาณาจักร แล้วสอบชิงทุนมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เข้าศึกษาวิชาดนตรีควบคู่กับ วรรณคดีอังกฤษ จนสำเร็จปริญญาตรีและโท (เกียรตินิยม) เป็นผู้ก่อตั้งมูลนิธิอุปรากรกรุงเทพฯ.

ดู อโยธยาและสมเถา สุจริตกุล

สวามีนารายัณ

วามีนารายัณ สวามีนารายัณ (เทวนาครี: स्वामीनारायण; સ્વામિનારાયણ) เกิดเมื่อวันที่ 2 เมษายน..

ดู อโยธยาและสวามีนารายัณ

หัวโขน

มงกุฏสามกลีบขององคต สีเขียว ปากหุบ ตาโพลง หัวโขน เป็นงานศิลปะชั้นสูง ใช้สำหรับสวมครอบศีรษะ ปิดบังส่วนหน้าของผู้แสดงโขนอย่างมิดชิด เป็นศิลปวัตถุประเภทประณีตศิลป์ และงานศิลปะที่ได้รับการสร้างสรรค์ขึ้นอย่างวิจิตรตระการตาเช่นเดียวกับเครื่องแต่งกาย ประณีตบรรจงตามแบบช่างไทย มีรูปลักษณะสวยงาม ลักษณะคล้ายหน้ากาก แตกต่างตรงที่เป็นการสร้างจำลองรูปทรงใบหน้าและศีรษะทั้งหมด เจาะช่องเป็นรูกลมที่นัยน์ตาของหัวโขน ให้ตรงกับนัยน์ตาของผู้แสดงเพื่อการมองเห็น แบ่งเป็น 2 ประเภทคือหัวโขนสำหรับใช้ในการแสดง หมายความถึงหัวโขนที่สื่อถึงตัวละครนั้น ๆ เช่น พระ ยักษ์ เทวดา วานรและสัตว์ต่าง ๆ สร้างขึ้นด้วยกรรมวิธีแบบโบราณ ตามเอกลักษณ์ของหัวโขนที่ถูกต้องและสมบูรณ์แบบของศิลปะไทย และหัวโขนที่ใช้สำหรับเป็นของประดับตกแต่งหรือของที่ระลึก หมายความถึงหัวโขนที่ทำขึ้นโดยการหล่อ ปั้น ฉีดและขึ้นรูปด้วยพลาสติกหรือกรรมวิธีอื่น ๆ ลงรักปิดทอง ประดับกระจก.

ดู อโยธยาและหัวโขน

อวัธ

อวัธ (Awadh; अवध, اودھ) หรืออูธเป็นแคว้นที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ทางตอนเหนือของอินเดียตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำระหว่างแม่น้ำยมุนาทางตะวันตกเฉียงใต้และแม่น้ำคันทักทางตะวันออก คำว่าอวัธมาจากอโยธยางเป็นชื่อเมืองของพระราม อังกฤษเข้ามายึดแคว้นนี้ไปทีละส่วนใน..

ดู อโยธยาและอวัธ

อวตาร

กัลกยาวตาร (อัศวินม้าขาว) อวตาร (अवतार, avatāra) คือการที่เทพเจ้าองค์ต่าง ๆ ตามความเชื่อของศาสนาฮินดูแบ่งภาคมาเกิดบนโลกมนุษย์ โดยเทพแบ่งพลังงานส่วนหนึ่งลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือสัตว์ เพื่อทำหน้าที่อย่างหนึ่งอย่างใด ในลัทธิไวษณพถือว่าเมื่อศีลธรรมของมนุษย์เสื่อมลง จนเกิดความเดือดร้อนไปทั่ว พระวิษณุจะอวตารลงมาปราบยุคเข็ญ การอวตารส่วนใหญ่มักจะเกี่ยวข้องกับพระวิษณุ แต่ก็ยังมีที่เชื่อมโยงกับเทวดาอื่น ๆ รายชื่อของพระนารายณ์อวตารปรากฏในคัมภีร์ฮินดูจำนวนมากรวมทั้งอวตารทั้งสิบในครุฑ ปุราณะ และอวตาร 22 ปางในภควัตปุราณะ รวมทั้งที่เพิ่มอีกภายหลังจนนับไม่ถ้วน พระวิษณุอวตารเป็นความเชื่อหลักของลัทธิไวษณพ หลักฐานเกี่ยวกับอวตารยุคแรก ๆ อยู่ในภควัทคีตา มีเรื่องราวเกี่ยวกับอวตารของพระศิวะและพระพิฆเนศ และเทพีต่าง ๆ โดยเฉพาะในหมู่ผู้นับถือลัทธิศักติ อย่างไรก็ตาม อวตารของพระนารายณ์เป็นที่รู้จักมากที.

ดู อโยธยาและอวตาร

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ.

ดู อโยธยาและอาณาจักรอยุธยา

อาณาจักรในอินเดียโบราณ

อาณาจักรในอินเดียโบราณ หรือ มหาชนบททั้งสิบหก เป็นอาณาจักรในอินเดียโบราณ 16 อาณาจักร.

ดู อโยธยาและอาณาจักรในอินเดียโบราณ

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ดู อโยธยาและจังหวัดนครราชสีมา

ทศาวตาร

อวตารของพระวิษณุ โดยราชา รวิ วรรมา วาดในช่วงศตวรรษที่ 19. ทศาวตาร () หมายถึง อวตารหลักทั้งสิบปางของพระวิษณุ เทพเจ้าในศาสนาฮินดู คำว่าทศาวตาร เป็นคำสมาสของคำว่า ทศ หมายถึง สิบ และ อวตาร หมายถึง การแบ่งภาคมาเก.

ดู อโยธยาและทศาวตาร

คริสต์ทศวรรษ 2000

ริสต์ทศวรรษ 2000 (2000s) คือคริสต์ทศวรรษตามปฏิทินเกรโกเรียน เริ่มต้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ดู อโยธยาและคริสต์ทศวรรษ 2000

นครศักดิ์สิทธิ์

นครศักดิ์สิทธิ์ (holy city) เป็นเมืองที่เป็นศูนย์กลางที่มีประวัติศาสตร์ทางศาสนาและความเชื่อ ส่วนใหญ่จะมีที่สำคัญอยู่อย่างน้อยหนึ่งแห่ง (มักจะเป็นสิ่งที่สำคัญต่อศาสนา เช่น สิ่งปลูกสร้าง, รูปปั้น, ความเชื่อ ฯลฯ) ซึ่งทำให้เกิดการจาริกแสวงบุญ เมืองศักดิ์สิทธิ์เป็น เมืองที่มีสัญลักษณ์ ทีเกี่ยวข้องกับศาสนาและความเชื่อ.

ดู อโยธยาและนครศักดิ์สิทธิ์

โรงเรียนขุขันธ์

รงเรียนขุขันธ์ (อังกฤษ: Khukhan School) (บ้างเรียก ขุขันธ์ใหญ่, ย่อ: ข.ข., KKS) โรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอขุขันธ์ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทมัธยมสหศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 60 ถนนเจริญราษฎร์สมบัติ หมู่ 3 ตำบลห้วยเหนือ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ บนพื้นที่ 62 ไร่ 18 ตารางวา ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 กันยายน..

ดู อโยธยาและโรงเรียนขุขันธ์

โคราฆปุระ

ตำแหน่งที่ตั้งเมืองโคราฆปุระในประเทศอินเดีย โคราฆปุระ (Gorakhpur, เทวนาครี: गोरखपुर, อูรดู: گۋڙکھ پور) เป็นเมืองหลวงของอำเภอโคราฆปุระในภาคตะวันออกของรัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ใกล้กับพรมแดนประเทศเนปาล โคราฆปุระเป็นเมืองศูนย์กลางทางศาสนาที่สำคัญและมีชื่อเสียงไม่ว่าจะเป็น ศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดู ศาสนาเชน หรือศาสนาสิกข์ โดยชื่อเมืองในปัจจุบันเรียกตามชื่อ โยคีโคราฆชนาถ (Gorakshanath) บริเวณแคว้นนี้เป็นศูนย์กลางที่สำคัญของอารยธรรมอารยันตามคัมภีร์พระเวท ผู้ปกครองดินแดนในบริเวณนี้ในอดีต คือ กษัตริย์ราชวงศ์ สุริยวงศ์ (Solar Dynasty) โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่อโยธยา กษัตริย์สุริยวงศ์นี้ได้ปกครองติดต่อกันอย่างยาวนาน โดยเฉพาะที่รู้จักกันดี คือ พระรามในเรื่อง รามเกียรติ์เป็นหนึ่งในกษัตริย์ราชวงศ์นี้ ในสมัยพุทธกาลยังไม่มีเมืองนี้ เมืองสำคัญในขณะนั้นคือ เวสาลี โกสัมพี พาราณสี และราชคฤห์ ในขณะที่อโยธยากลายเป็นเมืองเล็ก แคว้นนี้ในสมัยพุทธกาลเป็นอาณาเขตของแคว้นโกศล (Kosala) พระพุทธเจ้าทรงถือครองเพศบรรพชิตที่ริมแม่น้ำในบริเวณใกล้ที่ตั้งเมืองในปัจจุบันนี้ ก่อนที่เสด็จไปยังกรุงราชคฤห์ และพระมหาวีระศาสดาของศาสนาเชนได้เดินทางผ่านบริเวณนี้เช่นเดียวกัน ปัจจุบันเมืองโคราฆปุระเป็นเมืองศูนย์กลางธุรกิจ อุตสาหกรรม และการคมนาคมที่สำคัญแห่งหนึ่งของรัฐอุตตรประเท.

ดู อโยธยาและโคราฆปุระ

27 กุมภาพันธ์

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 58 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 307 วันในปีนั้น.

ดู อโยธยาและ27 กุมภาพันธ์