โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อเมริกันซามัว

ดัชนี อเมริกันซามัว

อเมริกันซามัว (American Samoa; ซามัว: Amerika Samoa) เป็นดินแดนของสหรัฐอเมริกา ซามัวและอเมริกันซามัวถูกแบ่งแยกโดยส่วนของประเทศซามัวในปัจจุบันเคยอยู่ในการครอบครองของประเทศเยอรมนี ต่อมาก็ได้ถูกครอบครองโดยประเทศนิวซีแลนด์ ส่วนของอเมริกันซามัวก็ได้ถูกครอบครองโดยสหรัฐอเมริกา จนถึงปัจจุบัน.

36 ความสัมพันธ์: พิธีราชาภิเษกในโอเชียเนียภาษาอังกฤษภาษาตองงามิสแอมบาสซเดอร์รหัสโทรศัพท์ระหว่างประเทศรัฐบาลกลางสหรัฐรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C)รายชื่อเกาะเรียงตามขนาดรายการภาพธงประจำดินแดนลัทธิอาณานิคมวันชาติสหรัฐหมู่เกาะซามัวอเมริกันซามัวในโอลิมปิกธงชาติอเมริกันซามัวธงชาติซามัวดินแดนดินแดนอเมริกันซามัวในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008คิงแมนรีฟตราแผ่นดินในโอเชียเนียประเทศตองงาประเทศซามัวปาโกปาโกนางงามจักรวาล 1975นางงามจักรวาล 1979นิติภาวะแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554แปซิฟิกเกมส์โอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013-14ไมตี โม (คิกบ็อกเซอร์)เส้นแบ่งเขตวันสากลเอเชียแปซิฟิกเขตเวลาUTC−11:00.as

พิธีราชาภิเษกในโอเชียเนีย

ระราชพิธีราชาภิเษกของสมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงาและวิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี พระราชสวามี ในรูปแบบพิธีตามอย่างวัฒนธรรมยุโรป แวดล้อมด้วยข้าราชการที่แต่งตัวแบบยุโรป วันที่ 11 ตุลาคม ค.ศ. 1918 พิธีราชาภิเษกในโอเชียเนีย เป็นพิธีที่มีความเกี่ยวเนื่องในประวัติศาสตร์ของประเทศในโอเชียเนีย ที่เคยมีระบอบราชาธิปไตยโดยถูกยกเลิกไปแล้ว และประเทศที่ยังคงมีสถาบันกษัตริย์อยู๋ พิธีราชาภิเษกแบบดั้งเดิมของพระมหากษัตริย์ในโอเชียเนียยังคงมีลักษณะในรูปแบบชนเผ่า ตามประเพณีของชนเผ่าพื้นเมืองดั้งเดิม ก่อนที่พิธีราชาภิเษกในบางประเทศจะถูกแปรเปลี่ยนไปตามอิทธิพลของวัฒนธรรมยุโรป และการเผยแพร่ของคริสต์ศาสนา ที่เข้ามาแทนที่ศาสนาและประเพณีของชนเผ่าพื้นเมือง เช่น ในกรณีของราชอาณาจักรตองงาและราชอาณาจักรฮาวาย พิธีราชาภิเษกของภูมิภาคโอเชียเนียสามารถแบ่งตามประเทศได้ดังนี้.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและพิธีราชาภิเษกในโอเชียเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตองงา

ภาษาตองงา (lea faka-Tonga) เป็นภาษาราชการของประเทศตองงา พูดกันทั้งหมด 105,319 คน เป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีรูปแบบการเรียงประโยคแบบกริยา-ประธาน-กรรม มีความใกล้ชิดกับภาษานีวเว หมวดหมู่:สังคมตองงา ตองงา.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและภาษาตองงา · ดูเพิ่มเติม »

มิสแอมบาสซเดอร์

การประกวดมิสแอมบาสซเดอร์ (Miss Ambassador) เป็นการประกวดนางงามที่จัดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาสาวงามทำหน้าที่เป็นทูตสันถวไมตรี รณรงค์เกี่ยวกับกิจกรรมสาธารณประโยชน์ทั้งปวง โดยวัตถุประสงค์ในแต่ละปีจะเปลี่ยนแปลงไปตามความเหมาะสมของการประกวด และการกำหนดรูปแบบ แนวคิดในแต่ละปี การประกวดเริ่มจัดขึ้นครั้งแรก ในปี 1990 ที่นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ดำเนินการโดย องค์กรมิสแอมบาสซเดอร์ (Miss Ambassador Organization) ซึ่งเป็นองค์กรเพื่อการกุศล ดำเนินการเพื่อรณรงค์กิจกรรมเพื่อสังคม จัดตั้งขึ้นโดย Peter Lee Sammor ในปี 1989 และจัดประกวด Miss Ambassador ครั้งแรกในวันที่ 14 มิถุนายน 1990 โดยมีตัวแทนจากประเทศต่างๆ เข้าร่วมประกวดครั้งแรกทั้งหมด 59 ประเทศ ปัจจุบันมี Karen McDersonเป็นประธานองค์กร.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและมิสแอมบาสซเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รหัสโทรศัพท์ระหว่างประเทศ

รายการรหัสโทรศัพท์ระหว่างประเท.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและรหัสโทรศัพท์ระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลกลางสหรัฐ

รัฐบาลกลางสหรัฐ (Federal Government of the United States) เป็นรัฐบาลกลางของสหรัฐอเมริกาซึ่งใช้การปกครองแบบสาธารณรัฐตามรัฐธรรมนูญและประกอบด้วยรัฐห้าสิบรัฐ รวมตลอดถึงเขตการปกครองใหญ่หนึ่งแห่ง และดินแดนอื่น ๆ แบ่งเป็นสามฝ่าย คือ นิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกาให้ใช้อำนาจผ่านรัฐสภา ประธานาธิบดี และศาลกลาง รวมถึง ศาลสูงสุด ตามลำดับ อำนาจหน้าที่ของแต่ละฝ่ายนั้น กับทั้งการจัดตั้งกระทรวงในฝ่ายบริหารและศาลชั้นรองนั้น เป็นไปตามที่บัญญัติเพิ่มเติมไว้ในรัฐบัญญัติ ชื่อเต็มของประเทศ คือ "สหรัฐอเมริกา" (The United States of America) ไม่ปรากฏชื่ออื่นในรัฐธรรมนูญ และชื่อนี้ยังปรากฏบนเงินตรา สนธิสัญญา และคดีความซึ่งรัฐเป็นคู่ความ (เช่น คดีระหว่างชาลส์ ที. เช็งก์ กับสหรัฐอเมริกา) ส่วนคำว่า "รัฐบาลแห่งสหรัฐอเมริกา" (Government of the United States of America) หรือ "รัฐบาลสหรัฐ" (United States Government) นั้นนิยมใช้ในเอกสารราชการเพื่อแทนรัฐบาลกลางแยกจากรัฐทั้งหลายโดยรวม ในระดับภาษาเขียนหรือสนทนาอย่างเป็นกันเองนั้น นิยมใช้ว่า "รัฐบาลกลาง" (Federal Government) และบางทีก็ใช้ว่า "รัฐบาลแห่งชาติ" (National Government) คำว่า "กลาง" และ "แห่งชาติ" ที่ปรากฏในชื่อส่วนราชการและโครงการราชการนั้นมักบ่งบอกการสังกัดรัฐบาลกลาง (เช่น สำนักงานสอบสวนกลาง และองค์การบริหารบรรยากาศและมหาสมุทรแห่งชาติ) นอกจากนี้ เพราะรัฐบาลกลางตั้งอยู่ในวอชิงตัน ดี.ซี. โดยทั่วไปจึงใช้ "วอชิงตัน" เรียกแทนรัฐบาลกลาง.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและรัฐบาลกลางสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C)

รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไต.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเกาะเรียงตามขนาด

หน้านี้คือรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดทั่วโลก.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและรายชื่อเกาะเรียงตามขนาด · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงประจำดินแดน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและรายการภาพธงประจำดินแดน · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอาณานิคม

ลัทธิอาณานิคม (colonialism) เป็นการสถาปนา แสวงหาประโยชน์จากพื้นที่อื่น ธำรงรักษา ได้มาซึ่งและขยายอาณานิคมในดินแดนหนึ่งจากประชากรอีกดินแดนหนึ่ง ลัทธิอาณานิคมเป็นชุดความสัมพันธ์ไม่เท่ากันระหว่างเจ้าอาณานิคมและอาณานิคม และมักระหว่างผู้อยู่ในนิคมและประชากรพื้นเมือง สมัยอาณานิคมยุโรปอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อชาติยุโรปหลายชาติสถาปนาอาณานิคมในทวีปเอเชีย แอฟริกาและอเมริกา ทีแรก ประเทศต่าง ๆ ดำเนินนโยบายลัทธิพาณิชยนิยมซึ่งออกแบบมาเพื่อเสริมเศรษฐกิจของประเทศแม่โดยแลกกับเศรษฐกิจของคู่แข่ง ฉะนั้น ปกติอาณานิคมจึงได้รับอนุญาตให้ค้าขายเฉพาะกับประเทศแม่เท่านั้น ทว่า เมื่อถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิอังกฤษยกเลิกลัทธิพาณิชยนิยมและการจำกัดการค้า และเริ่มใช้หลักการค้าเสรี โดยมีการจำกัดหรือภาษีศุลกากรน้อ.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและลัทธิอาณานิคม · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะซามัว

หมู่เกาะซามัว เป็นกลุ่มเกาะครอบคลุมพื้นที่ 3,030 ตารางกิโลเมตรในแปซิฟิกใต้ตอนกลาง เป็นส่วนหนึ่งของพอลินีเซีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคโอเชียเนียอีกทอดหนึ่ง ประชากรหมู่เกาะซามัวมีประมาณ 250,000 คน โดยใช้ภาษากลางร่วมกัน ตลอดจนมีวัฒนธรรมและรูปแบบการปกครองพื้นเมืองแบบเดียวกัน เนื่องจากการล่าอาณานิคม หมู่เกาะและประชากรซามัวจึงถูกแบ่งแยกโดยอำนาจตะวันตก ปัจจุบัน หมู่เกาะมีสองเขตอำนาจควบคุม (jurisdiction) คือ ประเทศเอกราชซามัวในซีกตะวันตกของหมู่เกาะ และดินแดนอเมริกันซามัว ซึ่งประกอบด้วยหมู่เกาะทางตะวันออก ภูมิภาคทั้งสองนี้แบ่งแยกโดยมหาสมุทรกว้าง 64 กิโลเมตร ชาวซามัวส่วนใหญ่เป็นสายเลือดพอลินีเซียพันธุ์แท้และเป็นหนึ่งในประชากรพอลินีเซียที่ใหญ่ที่สุดในโลก ใน..

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและหมู่เกาะซามัว · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกันซามัวในโอลิมปิก

อเมริกันซามัว เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิก อเมริกันซามัว หมวดหมู่:อเมริกันซามัว.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและอเมริกันซามัวในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอเมริกันซามัว

23px ธงชาติอเมริกันซามัว สัดส่วนธง 1:2 ธงชาติอเมริกันซามัว เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นธงเป็นสีน้ำเงิน ซึ่งถูกแบ่งเป็นสองส่วนด้วยรูปสามเหลี่ยมสีขาวมีขอบสีแดง ปลายสามเหลี่ยมนั้นชี้มาทางด้านคันธง ภายในพื้นสีขาวมีรูปนกอินทรีบิน หมายถึงประเทศสหรัฐอเมริกา ที่กรงเล็บของนกจับคทาและมีด ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของผู้นำชาวซามัวตามประเพณีท้องถิ่น หมายถึงสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ให้ความคุ้มครองดินแดนส่วนนี้ ธงนี้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2503.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและธงชาติอเมริกันซามัว · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติซามัว

งชาติซามัว มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นสีแดง ที่มุมบนด้านคันธงมีสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีน้ำเงินขนาดเล็ก ภายในรูปดังกล่าวมีดาวห้าแฉกสีขาวดวงใหญ่ 4 ดวง ดวงเล็ก 1 ดวง เรียงกันเป็นกลุ่มดาวกางเขนใต้ เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 พื้นสีแดงหมายถึงความกล้าหาญ สีน้ำเงินหมายถึงเสรีภาพ สีขาวหมายถึงความบริสุทธิ์ เดิมดินแดนส่วนนี้ตกเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิเยอรมนี ต่อมาถูกกองทัพนิวซีแลนด์เข้ายึดครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2457 หลังสิ้นสงคราม ซามัวก็ตกเป็นรัฐในอาณัติของนิวซีแลนด์อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2462 และได้รับการรับรองจากสันนิบาตชาติเมื่อในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2463 นับแต่นั้นมาจนถึงปี พ.ศ. 2540 ดินแดนนี้เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อซามัวตะวันตก (ซามัวส่วนที่เหลือตกเป็นของสหรัฐอเมริกา เรียกว่า อเมริกันซามัว) ตราแผ่นดินของซามัวนับตั้งแต่ตกเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรผ่านทางนิวซีแลนด์นั้น เป็นรูปต้นปาล์ม 3 ต้นอยู่ในวงกลม ตราดังกล่าวนี้ใช้ประกอบเข้ากับธงเรือของสหราชอาณาจักร (ธงเรือพลเรือนใช้สีแดง ธงเรือราชการใช้สีน้ำเงิน) สำหรับใช้เป็นธงประจำดินแดน จนถึงปี พ.ศ. 2492 อนึ่ง ซามัวได้รับเอกราชจากนิวซีแลนด์ในปี พ.ศ. 2505.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและธงชาติซามัว · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดน

มืองปาโกปาโกเมืองหลวงของอเมริกันซามัว ดินแดนของสหรัฐอเมริกา ดินแดน (territory) คือเขตการปกครอง อาณานิคมหรืออาณาเขตที่ยังไม่ได้รับเอกราชของประเทศใดประเทศหนึ่ง หรืออาจจะยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติก็ได้ ดินแดนในปัจจุบันบางดินแดนมีการเรียกร้องเอกราชกันบ้างแล้ว เช่น เวสเทิร์นสะฮาราของประเทศโมร็อกโก.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและดินแดน · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนอเมริกันซามัวในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

นแดนอเมริกันซามัว เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 29..

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและดินแดนอเมริกันซามัวในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

คิงแมนรีฟ

แผนที่คิงแมนรีฟ คิงแมนรีฟ (Kingman Reef) เป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ อยู่ระหว่างอเมริกันซามัวและรัฐฮาวาย มีพื้นที่ทั้งหมด 1 ตารางกิโลเมตร บนเกาะมีทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญคือสัตว์น้ำ คิงแมนรีฟเป็นแนวปะการังขนาดเล็ก จึงเป็นเกาะที่ไม่มีคนอาศัยอยู่แน่นอนและไม่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ หมวดหมู่:สหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:แนวปะการัง หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:เกาะในเขตโอเชียเนีย.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและคิงแมนรีฟ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินในโอเชียเนีย

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ในโอเชียเนี.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและตราแผ่นดินในโอเชียเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองงา

ตองงา (อังกฤษและTonga) มีชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรตองงา (Kingdom of Tonga; Puleʻanga Fakatuʻi ʻo Tonga ปูเลอางา ฟากาตูอีโอโตงา) เป็นประเทศหมู่เกาะในภูมิภาคพอลินีเชีย ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศนิวซีแลนด์กับรัฐฮาวายของสหรัฐอเมริกา โดยทะเลอาณาเขตทางตะวันตกติดกับประเทศฟิจิ ส่วนทางตะวันออกติดกับหมู่เกาะคุก นีวเว และอเมริกันซามัว ในขณะที่ทางทิศเหนือติดกับหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา ประเทศซามัว และอเมริกันซามัว ชื่อประเทศในภาษาตองงาแปลว่าทิศใต้ นอกจากนี้ประเทศนี้ได้รับฉายาว่า หมู่เกาะมิตรภาพ จากกัปตันเจมส์ คุก ประเทศตองงาเป็นประเทศขนาดเล็กมีเนื้อที่เพียง 747 ตารางกิโลเมตร นับเป็นอันดับที่ 189 ของโลก หมู่เกาะตองงาประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ประมาณ 169 เกาะ โดยมีเพียง 36 เกาะเท่านั้นที่มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะโตงาตาปู ซึ่งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองคือนูกูอาโลฟา เกาะส่วนใหญ่ของตองงาเป็นเกาะที่เกิดจากการทับถมของปะการัง ประชากรของตองงามีทั้งสิ้น 103,036 คน นับเป็นอันดับที่ 192 ของโลก สันนิษฐานว่ามนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในตองงาครั้งแรกเมื่อ 826 ± 8 ปีก่อนคริสตกาล ตองงาเริ่มก่อตั้งอาณาจักรเป็นของตนเองในปี..

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและประเทศตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัว

รัฐเอกราชซามัว (ซามัว: Malo Sa‘oloto Tuto'atasi o Sāmoa; Independent State of Samoa) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า ซามัว (ซามัว: Sāmoa; Samoa) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยหมู่เกาะอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ชื่อในอดีตคือ เยอรมันซามัว ระหว่างปี พ.ศ. 2443 ถึง พ.ศ. 2457 และ ซามัวตะวันตก ระหว่างปี พ.ศ. 2457 ถึง พ.ศ. 2540.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและประเทศซามัว · ดูเพิ่มเติม »

ปาโกปาโก

ที่ทำการรัฐบาลอเมริกันซามัว เมืองปาโกปาโก ปาโกปาโก หรือที่ชาวซามัวพื้นเมืองออกเสียงว่า ปาโงปาโง (ซามัว: Pago Pago) เป็นหมู่บ้านหนึ่งในของอเมริกันซามัว ดินแดนของสหรัฐอเมริกา ในปี..

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและปาโกปาโก · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1975

นางงามจักรวาล 1975 (Miss Universe 1975) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 24 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและนางงามจักรวาล 1975 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1979

นางงามจักรวาล 1979 (Miss Universe 1979) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 28 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและนางงามจักรวาล 1979 · ดูเพิ่มเติม »

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและนิติภาวะ · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวนอกชายฝั่งแปซิฟิกโทโฮะก..

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

แปซิฟิกเกมส์

กีฬาแปซิฟิกเกมส์ (Pacific Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ระหว่างประเทศในโอเชียเนีย ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มแข่งขันครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและแปซิฟิกเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

โอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013-14

อเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013-14 หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า โอลีก 2014 เป็นการแข่งขันชิงถ้วยที่ใหญ่ที่สุดในทวีประหว่างสโมสรภายในทวีปโอเชียเนียครั้งที่ 13 ซึ่งการแข่งขันในครั้งนี้ดำเนินการจัดการแข่งขันโดยสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย (Oceania Football Confederation - OFC) และถือเป็นการแข่งขันครั้งที่ 8 ภายใต้ชื่อโอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกอีกด้วย โดยมีสโมสรฟุตบอลออกแลนด์ซิตีเป็นผู้ชนะเลิศจากการแข่งขันในครั้งที่แล้ว สโมสรที่ชนะเลิศในการแข่งขันรายการโอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013-14 จะได้สิทธิ์เป็นตัวแทนของทวีปโอเชียเนียเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2014 นอกจากนี้แล้วผู้ชนะเลิสและรองรองชนะเลิศของรายการนี้จะมีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันโอเอฟซีเพรสสิเดนท์คัพ ซึ่งจะมี 2 สโมสรจากสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) และอีก 2 สโมสรรับเชิญเข้าร่วมในการแข่งขันครั้งนี้ โดยจะจัดการแข่งขันในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและโอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013-14 · ดูเพิ่มเติม »

ไมตี โม (คิกบ็อกเซอร์)

ซิอาลา-โม ซิลิกา (Siala-Mou Siliga; 8 ตุลาคม ค.ศ. 1970 —) มักเรียกในชื่อ ไมตี โม (Mighty Mo) เป็นทั้งคิกบ็อกเซอร์, นักมวยสากล และนักต่อสู้แบบผสมชาวอเมริกันเชื้อสายซามัว ผู้เข้าแข่งขันในรุ่นเฮฟวี่เวท ความสำเร็จในศึกเค-วันของเขา ได้แก่ การชนะการแข่งขันเค-วันเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2004 อินลาสเวกัส II และเค-วันเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2007 อินฮาวาย ส่วนในศิลปะการต่อสู้แบบผสม เขาได้เข้าแข่งขันเค-วันฮีโรส์, เบลลาเตอร์ เอ็มเอ็มเอ, ดรีม, โรด เอฟซี รวมถึงเข้าร่วมในรายการไดนาไมต์!! ยูเอสเอ และไดนาไมต์!! 2008 เมื่อวันที่ 24 กันยายน..

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและไมตี โม (คิกบ็อกเซอร์) · ดูเพิ่มเติม »

เส้นแบ่งเขตวันสากล

รูปแสดงเส้นแบ่งเขตวันสากล (สีดำกลางภาพ) เส้นแบ่งเขตวันสากล (International Date Line: IDL) เป็นเส้นสมมติที่ลากในแนวเหนือ-ใต้บนพื้นผิวของโลก ผ่านใจกลางมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งกำหนดสถานที่ซึ่งวันตามปฏิทินเริ่มต้น เส้นดังกล่าวอยู่ที่ประมาณลองติจูด 180 องศา ตรงข้ามกับเส้นเมริเดียนแรก แต่ลากอ้อมบางดินแดนและกลุ่มเกาะบางกลุ่ม เวลาทางตะวันออกของเส้นแบ่งเขตวันสากลช้ากว่าทางตะวันตกอยู่ 1 วัน เมื่อข้ามเส้นดังกล่าวไปทางตะวันออกจึงต้องหักวันออกหนึ่งวัน และเมื่อข้ามเส้นดังกล่าวไปทางตะวันตกต้องเพิ่มวันเข้าหนึ่งวัน.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและเส้นแบ่งเขตวันสากล · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียแปซิฟิก

อเชีย-แปซิฟิก (Asia-Pacific) หรืออาจเรียกว่า เอแปก (Apac) เป็นภูมิภาคของโลกที่อยู่ในหรืออยู่ใกล้มหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสตราเลเซียและโอเชียเนีย ซึ่งอาจรวมไปถึงเอเชียใต้ สหพันธรัฐรัสเซีย และประเทศในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ที่ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกด้วย คำว่า "เอเชีย-แปซิฟิก" ได้กลายมาเป็นคำยอดนิยมหลังจากช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 เนื่องจากเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศในภูมิภาคเจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีการปฏิสัมพันธ์ทั้งทางด้านการเมืองและเศรษฐก.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและเอเชียแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

UTC−11:00

UTC−11 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นช้ากว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 11 ชั่วโมง ใช้ใน.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและUTC−11:00 · ดูเพิ่มเติม »

.as

.as เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับอเมริกันซามัว เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: อเมริกันซามัวและ.as · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »