โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อินโดจีนของฝรั่งเศส

ดัชนี อินโดจีนของฝรั่งเศส

อินโดจีนของฝรั่งเศส (Indochine française, French Indochina) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น สหภาพอินโดจีน (Union Indochinoise) เป็นอาณานิคมของจักรวรรดิฝรั่งเศสในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2430 โดยประกอบด้วยตังเกี๋ย อันนัม โคชินไชนา (ทั้งสามแห่งรวมกันเป็นประเทศเวียดนามในปัจจุบัน) และกัมพูชา ต่อมาในปี พ.ศ. 2436 จึงได้รวมเอาลาวเข้ามา อินโดจีนมีไซ่ง่อนเป็นเมืองหลวงจนถึงปี พ.ศ. 2445 จึงได้ย้ายเมืองหลวงมาที่ฮานอย ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง อินโดจีนถูกปกครองโดยฝรั่งเศสเขตวีชีและยังถูกญี่ปุ่นรุกรานด้วย ในต้นปี พ.ศ. 2489 เวียดมินห์ได้เริ่มต่อต้านการปกครองของฝรั่งเศส ซึ่งในภายหลังเรียกว่าสงครามอินโดจีน ส่วนทางใต้ได้มีการก่อตั้งรัฐเวียดนามซึ่งนำโดยจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนาม และได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2492 แต่ต่อมาในปี พ.ศ. 2498 เวียดมินห์ก็ได้กลายเป็นรัฐบาลของเวียดนามเหนือตามอนุสัญญาเจนีวา โดยที่รัฐบาลของจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ยังคงปกครองเวียดนามใต้อยู.

123 ความสัมพันธ์: บุนยัง วอละจิดพรรคคอมมิวนิสต์มลายาพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีนพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน (พ.ศ. 2473–2488)พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุพระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีวัฒนาพระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดาพระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)พูมี วงวิจิดกบฏผู้มีบุญกรณีพิพาทอินโดจีนกองทัพรบนอกประเทศภาคพื้นตะวันออกไกลฝรั่งเศสกองแล วีระสานกัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศสการบุกครองอินโดจีนฝรั่งเศสของญี่ปุ่นการยึดครองกัมพูชาของญี่ปุ่นการทัพอินโดจีนฝรั่งเศสครั้งที่สองการปฏิรูปนครเชียงใหม่สู่มณฑลพายัพการประชุมเจนีวา (ค.ศ. 1954)กำพล วัชรพลฝ่ายอักษะภาษาเต็ยโบ่ยภูมิศาสตร์กัมพูชาภูมิศาสตร์ไทยมกุฎราชกุมารบ๋าว ล็องมณฑลจันทบุรียุทธการที่เดียนเบียนฟูยุทธนาวีเกาะช้างระบบจราจรซ้ายมือและขวามือรัฐกันชนรัฐในอารักขารัฐในอารักขาอันนัมราชวงศ์เหงียนราชอาณาจักรเซดังรายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์รายชื่อสายการบินในประเทศเวียดนามรายชื่อสนธิสัญญารายชื่อธงในประเทศเวียดนามลอน นอลลัทธิอาณานิคมลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1940)ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรวรันดับ ฉัตรกุล ณ อยุธยาวังเปาวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112สมาคมลูกเสือสหพันธ์อินโดจีนสหภาพฝรั่งเศส...สันนิบาตฟื้นฟูเวียดนามสำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศสีสุวัตถิ์ สิริมตะสถานีรถไฟเว้สงครามอินโดจีนสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่งสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองสงครามแปซิฟิกสงครามโลกครั้งที่สองสงครามเวียดนามสแตนดาร์ดเกจหมู่เกาะสแปรตลีหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ ดิศกุลหวอ เงวียน ซ้าปอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์อำเภอธาราบริวัตรอินโดจีนอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิฮหวิ่ญ เติ๊น ฟ้าตฮานอยผู้สำเร็จราชการฌ็อง เดอกูจักรพรรดิบ๋าว ดั่ยจักรพรรดิขาย ดิ่ญจักรพรรดินีนาม เฟืองจังหวัดพระตะบองจังหวัดพิบูลสงครามจังหวัดลานช้างจังหวัดสตึงแตรงจังหวัดนครจัมปาศักดิ์จังหวัดเกียนซางธงชาติลาวทางรถไฟสายดอนเดด–ดอนคอนท่าอากาศยานด่งเฮ้ยท่าเรือไซ่ง่อนความสัมพันธ์กับต่างประเทศของลาวควง อภัยวงศ์ซุน ยัตเซ็นประชากรศาสตร์ลาวประวัติศาสตร์ไทยประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516)ประวัติศาสตร์เวียดนามประเทศกัมพูชาประเทศลาวปรีดี พนมยงค์ปอล ดูแมร์ปีแยร์ บูลนะกะมุระ อะเกะโตะนางบำเรอแขวงจำปาศักดิ์โคชินไชนาโง ดิ่ญ เสี่ยมโตน ดึ๊ก ทั้งไพรแวง (เมือง)เพลงชาติลาวเมืองพวนเรือลาดตระเวนเบาลาม็อต-ปีเกเรือหลวงธนบุรีเรือนจำจี๊ฮหว่าเวียดมินห์เส้นเบรวีเยเหงียน หืว เถาะเจิ่น วัน กุงเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามีเจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)เจ้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์)เทศบาลเมืองพระตะบองเขมรแดงเดียน เดลเครื่องอิสริยยศพระราชาณาจักรกัมพูชา5 มกราคม ขยายดัชนี (73 มากกว่า) »

บุนยัง วอละจิด

ลทหาร บุนยัง วอละจิด (ບຸນຍັງ ວໍລະຈິດ; เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2481) เป็นเลขาธิการพรรคประชาชนปฏิวัติลาว ประธานประเทศลาวคนปัจจุบัน อดีตรองประธานประเทศแห่ง สปป.ลาว กรรมการกรมการเมืองศูนย์กลางพรรคประชาชนปฏิวัติลาว เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี สปป.ลาวเมื่อ..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและบุนยัง วอละจิด · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์มลายา

รรคคอมมิวนิสต์มลายา (Malayan Communist Party, Communist Party of Malaya) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตัวขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและพรรคคอมมิวนิสต์มลายา · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน

รรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน (Communist Party of Indochina; Đông Dương Cộng sản Đảng) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์หนึ่งในสามพรรคที่เป็นต้นกำเนิดของพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม โดยอีกสองพรรคคือ พรรคคอมมิวนิสต์อันนัม และพันธมิตรคอมมิวนิสต์อินโดจีน ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน (พ.ศ. 2473–2488)

รรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน (Indochinese Communist Party; Đảng Cộng sản Đông Dương) เป็นพรรคการเมืองที่เปลี่ยนรูปมาจากพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามเมื่อเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน (พ.ศ. 2473–2488) · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์

ระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ (ព្រះបាទស៊ីសុវតិ្ថ; พระบาทสีสุวัตถิ์, ในเอกสารไทยเรียกว่า "สมเด็จพระศรีสวัสดิ์") พระมหากษัตริย์ผู้ปกครองพระราชอาณาจักรกัมพูชาระหว่างปี พ.ศ. 2447 - พ.ศ. 2470 พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระหริรักษ์รามาธิบดี (นักองค์ด้วง) และเป็นพระอนุชาต่างพระมารดาของพระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร (นักองค์ราชาวดี).

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร

ระบาทสมเด็จพระนโรดม (ព្រះបាទនរោត្តម, พฺระบาทนโรตฺตม "พระบาทนโรดม") หรือ สมเด็จพระนโรดมพรหมบริรักษ์ หรือ นักองค์ราชาวดี (អង្គ រាជាវតី, องคฺราชาวดี "องค์ราชาวดี") เสด็จพระราชสมภพเมี่อ15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2377 ที่อังกอร์โบเร (เสียมราฐ) และเสด็จสวรรคตเมี่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2447 พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี (นักองค์ด้วง) และเป็นพระเชษฐาต่างพระมารดาของ พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ (นักองค์สีสุวัตถิ์) กษัตริย์กัมพูชาองค์ต่อมาซึ่งทรงขึ้นครองราชย์เมี่อ..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและพระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 - 2498 และ พ.ศ. 2536 - 2547 โดยการสละราชบัลลังก์ให้แก่พระราชโอรสนโรดม สีหมุนี และดำรงพระอิสริยยศเป็นพระมหาวีรกษัตริย์ (พระวรราชบิดา) ในท้ายสุด พระองค์เป็นกษัตริย์แห่งกัมพูชา, ประมุขแห่งรัฐกัมพูชา และนายกรัฐมนตรีแห่งกัมพูชาหลายสมัย กระทั่งบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ได้บันทึกไว้ว่า พระองค์ทรงเป็นนักการเมือง ที่ทรงดำรงตำแหน่งทางการเมืองมากมายที่สุดในโลก (the world's greatest variety of political offices) กล่าวคือ เป็นพระมหากษัตริย์ 2 สมัย ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ (ดำรงตำแหน่งกษัตริย์โดยไม่ได้รับการบรมราชาภิเษก) 2 สมัย ประธานาธิบดี 1 สมัย นายกรัฐมนตรี 2 สมัย และประมุขแห่งรัฐของรัฐบาลพลัดถิ่นของพระองค์เองอีก 1 สมัย ทั้งนี้พระองค์เป็นหุ่นเชิดของรัฐบาลเขมรแดงช่วงปี ค.ศ. 1975–1976.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีวัฒนา

ระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีวัฒนา (ស៊ីសុវត្ថិមុនីវង្ស កុសុមៈនារីរ័ត្នសេរីវឌ្ឍនា; 9 เมษายน พ.ศ. 2447 — 27 เมษายน พ.ศ. 2518) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ ที่ต่อมาได้รับราชการฝ่ายในเป็นพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต และได้เป็นพระราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ หลังการสวรรคตของพระราชสวามี.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและพระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา

ระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา (នរោត្ដម មុនីនាថ សីហនុ; 18 มิถุนายน พ.ศ. 2479) พระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ และเป็นพระราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชารัชกาลปัจจุบัน พระองค์เป็นที่รู้จักในพระนาม พระราชินีโมนีก (Queen Monique).

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและพระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา · ดูเพิ่มเติม »

พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)

มหาอำมาตย์โท พระยามโนปกรณนิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย ชื่อเดิมว่า "ก้อน หุตะสิงห์" เกิดวันที่ 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและพระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)

4 ทหารเสือ (จากซ้าย) พ.อ.พระยาทรงสุรเดช, พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา, พ.อ.พระยาฤทธิอัคเนย์ และ พ.ท.พระประศาสน์พิทยายุทธ พันเอก พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2435 - 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516) เป็น 1 ใน 4 ทหารเสือที่ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นผู้ที่วางแผนการยึดอำนาจทั้งหมด เป็นผู้ได้รับการสนับสนุนให้เป็นนายกรัฐมนตรี แต่ไม่ได้เป็น และถูกกล่าวหาว่าคิดก่อการกบฏล้มล้างรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในกบฏพระยาทรงสุรเดช ถูกเนรเทศไปอยู่ในกรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชาจนเสียชีวิตเมื่อ..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและพระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) · ดูเพิ่มเติม »

พูมี วงวิจิด

ูมี วงวิจิด (ພູມີ ວົງວິຈິດ, เอกสารไทยบางแห่งทับศัพท์เป็น "ภูมี วงศ์วิจิตร"; 6 เมษายน พ.ศ. 2452 - 7 มกราคม พ.ศ. 2537) เป็นรักษาการประธานประเทศลาว และรัฐบุรุษอาวุโสของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พูมี วงวิจิด เกิดเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2452 ที่แขวงเชียงขวาง ราชอาณาจักรลาว เป็นบุตรของข้าราชการพลเรือนสามัญ เขาเข้ารับการศึกษาที่เวียงจันทน์ หลังจากจบการศึกษา เขาก็ได้เข้ารับตำแหน่งเจ้าเมืองเชียงขวาง และเขาได้เข้าร่วมกับแนวลาวอิสระ จนกระทั่งลาวเป็นเอกราชจากฝรั่งเศส หลังจากที่ล้มล้างราชอาณาจักรลาวแล้ว เจ้าสุภานุวงศ์ได้ขึ้นเป็นประธานประเทศลาว พูมีได้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการศึกษาและการกีฬาของประเทศลาว เมื่อเจ้าสุภานุวงศ์ถูกบีบบังคับให้สละตำแหน่ง พูมีจึงได้ขึ้นเป็นรักษาการประธานประเทศลาว และได้ลาออกจากตำแหน่งเพื่อให้ไกสอน พมวิหานดำรงตำแหน่งประธานประเทศลาวแทน.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและพูมี วงวิจิด · ดูเพิ่มเติม »

กบฏผู้มีบุญ

กบฏผู้มีบุญ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างมีนาคม 2444 ถึงมกราคม 2479 มีจุดเริ่มจากที่ผู้สนับสนุนของขบวนการทางศาสนาของ "ผู้มีบุญ" ทำการกบฏติดอาวุธสู้กับอินโดจีนของฝรั่งเศสและสยาม โดยมีจุดประสงค์สถาปนาผู้นำ "องค์แก้ว" เป็นผู้นำของโลก ในปี 2445 การกระด้างกระเดื่องก็ถูกทำให้สงบลงในสยาม แต่ยังคงดำเนินต่อไปในอินโดจีนของฝรั่งเศสจนกระทั่งปี 2479 จึงถูกกำราบสิ้นซาก.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและกบฏผู้มีบุญ · ดูเพิ่มเติม »

กรณีพิพาทอินโดจีน

กรณีพิพาทอินโดจีน หรือ สงครามอินโดจีน ในต่างประเทศเรียกว่า สงครามฝรั่งเศส-ไทย เป็นการสู้รบระหว่างประเทศไทยกับฝรั่งเศสเขตวีชีเหนือดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศส จอมพล ป. พิบูลสงคราม กล่าวปราศรัยแก่นิสิตนักศึกษาและประชาชนที่มาชุมนุมเรียกร้องเอาดินแดนอินโดจีน คืนจากฝรั่งเศส ในวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2483 ที่หน้ากระทรวงกลาโหม หลวงวิจิตรวาทการประกาศสงครามผ่านทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและกรณีพิพาทอินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพรบนอกประเทศภาคพื้นตะวันออกไกลฝรั่งเศส

กองทัพเรืออยู่ในเครื่องหมายด้วย กองทัพรบนอกประเทศภาคพื้นตะวันออกไกลฝรั่งเศส (Corps Expéditionnaire Français en Extrême-Orient, CEFEO) เป็นหน่วยรบนอกประเทศในอาณานิคมของกองทัพสหภาพฝรั่งเศส ซึ่งถูกส่งออกไปปฏิบัติหน้าที่ในอินโดจีนฝรั่งเศสตั้งแต..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและกองทัพรบนอกประเทศภาคพื้นตะวันออกไกลฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

กองแล วีระสาน

นายพล กองแล วีระสาน (เกิด: พ.ศ. 2476 หรือ 2477 — ตาย: 17 มกราคม 2557) เป็นนายทหารพลร่มซึ่งผ่านการฝึกมาจากประเทศสหรัฐอเมริกา ผู้ก่อการรัฐประหารในราชอาณาจักรลาวเมื่อ พ.ศ. 2503 และประกาศจัดตั้งรัฐบาลลาวฝ่ายเป็นกลาง หลังจากนั้นได้ลี้ภัยทางการเมืองอยู่ในประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและกองแล วีระสาน · ดูเพิ่มเติม »

กัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส

กัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส (French protectorate of Cambodia; ប្រទេសកម្ពុជាក្រោមអាណាព្យាបាលបារាំង; Protectorat français du Cambodge) เป็นระยะเวลาช่วงที่กัมพูชาเข้าเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศสก่อนจะถูกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพอินโดจีนที่เป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส จนกระทั่งกลายเป็นดินแดนที่ถูกญี่ปุ่นยึดครองระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง จากนั้นกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพฝรั่งเศส และต่อสู้จนได้รับเอกราชในที.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและกัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองอินโดจีนฝรั่งเศสของญี่ปุ่น

ในเดือนกันยายน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและการบุกครองอินโดจีนฝรั่งเศสของญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

การยึดครองกัมพูชาของญี่ปุ่น

การยึดครองกัมพูชาของญี่ปุ่น เป็นเหตุการณ์ช่วงหนึ่งในประวัติศาสตร์กัมพูชาระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อจักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้ามายึดครองกัมพูชาและจัดตั้งรัฐบาลหุ่นของตนขึ้น ระหว่าง..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและการยึดครองกัมพูชาของญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

การทัพอินโดจีนฝรั่งเศสครั้งที่สอง

การทัพอินโดจีนฝรั่งเศสครั้งที่สอง หรือรู้จักกันในชื่อ รัฐประหารของญี่ปุ่นเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและการทัพอินโดจีนฝรั่งเศสครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิรูปนครเชียงใหม่สู่มณฑลพายัพ

การปฏิรูปนครเชียงใหม่สู่มณฑลพายัพ เป็นการปฏิรูปนครเชียงใหม่ในฐานะประเทศราชของสยาม เป็นมณฑลพายัพในกำกับของสยามโดยพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันเป็นผลมาจากลัทธิจักรวรรดินิยมที่เข้ามาสู่ภูมิภาคอินโดจีน ซึ่งขณะนั้น เชียงใหม่และประเทศราชล้านนาเป็นดินแดนทางภาคเหนือของสยามที่อังกฤษกำลังหมายปอง.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและการปฏิรูปนครเชียงใหม่สู่มณฑลพายัพ · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมเจนีวา (ค.ศ. 1954)

การประชุมเจนีวา การประชุมเจนีวา ระหว่างวันที่ 26 เมษายน - 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและการประชุมเจนีวา (ค.ศ. 1954) · ดูเพิ่มเติม »

กำพล วัชรพล

นายกำพล วัชรพล จ่าโท กำพล วัชรพล (27 ธันวาคม พ.ศ. 2462 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) ผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ, เสียงอ่างทอง, ข่าวภาพ, มูลนิธิหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ และผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์ไทยรัฐคนแรก.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและกำพล วัชรพล · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายอักษะ

ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและฝ่ายอักษะ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเต็ยโบ่ย

ษาเต็ยโบ่ย (Tiếng Tây Bồi) หรือ ภาษาฝรั่งเศสอันนัม เป็นภาษาผสมแก้ขัด (pidgin) ที่มีพื้นฐานมาจากภาษาฝรั่งเศสที่ตายแล้วในเวียดนาม เคยใช้พูดในบริเวณท่าเรือที่สำคัญของอาณานิคมอินโดจีนฝรั่งเศส เกิดขึ้นเมื่อราว..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและภาษาเต็ยโบ่ย · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์กัมพูชา

แผนที่กัมพูชา ลักษณะพื้นที่ กัมพูชาเป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อยู่ติดกับอ่าวไทย มีพรมแดนติดกับลาว ไทยและเวียดนาม แนวชายแดนมีความยาวทั้งหมด 2,572 กิโลเมตร โดยติดกับเวียดนาม 1,228 กิโลเมตร ไทย 803 กิโลเมตร และลาว 541 กิโลเมตร เป็นแนวชายฝั่ง 443 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 181,040 ตารางกิโลเมตรทางตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอินโดจีน อยู่ในเขตร้อนชื้น ลักษณะพื้นที่เป็นที่ราบ ใจกลางของประเทศเป็นทะเลสาบโตนเลสาบ และมีแม่น้ำโขงไหลผ่านจากเหนือไปใต้ ลักษณะภูมิอากาศอยู่ในเขตมรสุม แบ่งเป็น 2 ฤดูชัดเจนคือฤดูฝนและฤดูแล้ง อากาศค่อนข้างร้อนและมีความชื้นสูง พื้นที่ป่ามีประมาณสองในสามของประเทศแต่กำลังถูกทำลายทั้งโดยการตัดไม้และการเผาเพื่อใช้เป็นพื้นที่ทางการเกษตร.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและภูมิศาสตร์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์ไทย

แผนที่ประเทศไทย ประเทศไทยมีพื้นที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ใจกลางคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตำแหน่งที่ตั้งของประเทศได้มีอิทธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย ประเทศไทยยังเป็นเส้นทางทางบกเพียงทางเดียวจากทวีปเอเชียไปยังประเทศมาเลเซียและประเทศสิงคโปร.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและภูมิศาสตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

มกุฎราชกุมารบ๋าว ล็อง

มกุฎราชกุมารเหงียน ฟุก บ๋าว ล็อง (Nguyễn Phúc Bảo Long; 阮福保隆) ประสูติ ณ พระราชวังเกี๊ยนจุง (Kiến Trung) ในเมืองหลวงเก่าเว้ (Hue) วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2479 เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนาม ต้นราชวงศ์เหงียน และสมเด็จพระจักรพรรดินีนาม เฟือง แห่งเวียดนาม ทรงสำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมจากโรงเรียนร็อช (Roches School) ในนอร์ม็องดี หลังจากนั้นจึงเสด็จไปศึกษาต่อทางด้านกฎหมายและวิทยาศาสตร์การเมือง ณ กรุงปารีส พระองค์ทรงเข้าร่วมในกองทหารต่างด้าว (French Foreign Legion) เป็นเวลา 10 ปี ก่อนเสด็จกลับกรุงปารีส และทรงทำงานในธนาคารแห่งหนึ่ง มกุฎราชกุมารเหงียน ฟุก บ๋าว ล็องสิ้นพระชนม์ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 มีพระชนมายุ 71 พรรษา และมีการจัดพิธีฝังพระศพในวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและมกุฎราชกุมารบ๋าว ล็อง · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลจันทบุรี

มณฑลจันทบุรี เป็นอดีตเขตการปกครองระดับมณฑลเทศาภิบาลของประเทศไทยในภาคตะวันออก มีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมืองจันทบุรี ก่อตั้งขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในวันที่ 8 เมษายน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและมณฑลจันทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เดียนเบียนฟู

ทธการที่เดียนเบียนฟู (Bataille de Diên Biên Phu; Chiến dịch Điện Biên Phủ) เป็นการเผชิญหน้าครั้งสำคัญสุดยอดในสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง ระหว่างกองทัพรบนอกประเทศภาคพื้นตะวันออกไกลของสหภาพฝรั่งเศสและนักปฏิวัติคอมมิวนิสต์-ชาตินิยมเวียดมินห์ ยุทธการนี้เกิดขึ้นระหว่างเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและยุทธการที่เดียนเบียนฟู · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนาวีเกาะช้าง

การรบที่เกาะช้าง หรือที่รู้จักกันในนาม ยุทธนาวีเกาะช้าง เป็นเหตุการณ์รบทางเรือที่เกิดขึ้นในกรณีพิพาทไทย-อินโดจีนฝรั่งเศส อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการที่ไทยเรียกร้องให้ปรับปรุงเส้นแบ่งเขตแดน ไทย-อินโดจีนฝรั่งเศส เสียใหม่ โดยใช้แนวร่องน้ำลึกเป็นเกณฑ์ตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ และหลักความยุติธรรม และให้ฝรั่งเศสคืนดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขงที่ฝรั่งเศสยึดไปจากเหตุการณ์ ร.ศ. 112 ให้ไทย ยุทธภูมิในการรบครั้งนี้เกิดขึ้นที่บริเวณด้านใต้ของเกาะช้าง จังหวัดตราด เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2484 และถือเป็นการรบทางทะเลครั้งเดียวในประวัติศาสตร์กองทัพเรือไทย และรัฐบาลวิชีฝรั่งเศสในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง อีกด้ว.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและยุทธนาวีเกาะช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ

การจราจรซ้ายมือ จุดเปลี่ยนเส้นทางจราจรที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาว การจราจรซ้ายมือ (left-hand traffic (LHT)) และการจราจรขวามือ (right-hand traffic (RHT)) เป็นกฎระเบียบที่กำหนดสำหรับการจราจรแบบสองทิศทางทุกรูปแบบให้ขับยานพาหนะชิดซ้ายหรือชิดขวาบนถนนยกเว้นในกรณีอื่น ๆ ที่กำหนด การจราจรนี้เป็นพื้นฐานของทิศทางจราจรซึ่งในบางครั้งถูกเรียกว่าเป็นกฎของถนน มี 163 ประเทศและดินแดนที่ใช้การจราจรขวามือ ในขณะที่ 76 ประเทศที่เหลือใช้การจราจรซ้ายมือ ประเทศที่ใช้การจราจรซ้ายมือคิดเป็น 1 ใน 6 ของพื้นที่และ 1 ใน 4 ของถนนบนโลก ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 บางประเทศรวมถึงแคนาดา สเปน และบราซิลมีกฎของการจราจรที่ต่างกันในแต่ละพื้นที่ของประเทศ และระหว่างทศวรรษที่ 1900 หลายประเทศได้กำหนดมาตรฐานในเขตอำนาจรัฐและเปลี่ยนจากการจราจรซ้ายมือเป็นขวามือเพื่อให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมในแต่ละภูมิภาค ใน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกันชน

รัฐกันชน (Buffer state) คือประเทศที่ตั้งอยู่ระหว่างรัฐมหาอำนาจคู่แข่งหรือเป็นปรปักษ์ระหว่างกัน ซึ่งสาเหตุของการคงอยู่มีเพื่อเป็นการป้องกันความขัดแย้งระหว่างรัฐมหาอำนาจด้วยกัน รัฐกันชนที่มีเอกราชอย่างแท้จริง มักจะดำเนินนโยบายต่างประเทศสายกลาง ซึ่งเป็นการป้องกันตนเองจากการตกเป็นรัฐบริวาร ความร่วมมือกันระหว่างรัฐกันชนเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีการถ่วงดุลอำนาจ ซึ่งเข้าสู่ยุทธศาสตร์และการคิดในเชิงการทูตของยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 บ่อยครั้งที่การรุกรานรัฐกันชนโดยหนึ่งในมหาอำนาจที่รายล้อมมันอยู่มักจะก่อให้เกิดสงครามระหว่างประเทศ อย่างเช่น การรุกรานเบลเยียมของเยอรมนี ทำให้สหราชอาณาจักรตัดสินใจเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและรัฐกันชน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐในอารักขา

ตามกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐในอารักขา (protectorate; protected state) หมายถึงรัฐกึ่งเอกราชซึ่งมีอิสรภาพในการปกครองตนเอง มีผู้ปกครองเป็นคนในท้องที่ แต่ยอมอยู่ภายใต้การคุ้มครองของประเทศอื่นซึ่งเข้มแข็งกว่า (มีอำนาจปกครอง แต่ไม่มีอำนาจสั่งทหาร) ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการป้องกันภัยจากประเทศที่สาม รัฐในอารักขามักจะมอบสิทธิพิเศษทางการค้าและอนุญาตให้ผู้คุ้มครองเข้าใช้ดินแดนบางส่วนในรัฐของตนเพื่อเป็นการตอบแทนความคุ้มครอง.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและรัฐในอารักขา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐในอารักขาอันนัม

อันนัมในอารักขาของฝรั่งเศส (Annam;An Nam) เป็นดินแดนในอารักขาของฝรั่งเศสอยู่ทางตอนกลางของเวียดนาม โดยฝรั่งเศสเข้ามาปกครองใน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและรัฐในอารักขาอันนัม · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เหงียน

ราชวงศ์เหงียน (Nhà Nguyễn, หญ่า-งฺเหวียน; จื๋อโนม: 阮朝, Nguyễn triều, งฺเหวียนเจี่ยว) เป็นราชวงศ์สุดท้ายของเวียดนามที่ปกครองเวียดนามมา 143 ปี เริ่มจากในปี ค.ศ. 1802 เมื่อจักรพรรดิซา ล็อง ทรงปราบดาภิเษกหลังจากปราบปรามกบฏไตเซินแล้ว และสิ้นสุดในปี ค.ศ. 1945 เมื่อจักรพรรดิบ๋าว ดั่ยทรงสละราชสมบัติ และมอบอำนาจให้กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ในระหว่างรัชกาลของจักรพรรดิซา ล็อง เวียดนามมีชื่อว่า เวียดนาม (越南) อยู่อย่างปัจจุบัน แต่ในรัชสมัยของจักรพรรดิมิญ หมั่ง พระองค์ได้เปลี่ยนชื่อเป็น ดั่ยนาม (大南, แปลว่า "ชาติยิ่งใหญ่ทางตอนใต้") การปกครองของราชวงศ์เหงียนถูกจำกัดโดยอิทธิพลที่เพิ่มขึ้นของนักล่าอาณานิคมฝรั่งเศส ประเทศได้ถูกแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ โคชินไชนาเป็นรัฐอาณานิคมโดยตรงขณะที่อันนามและตังเกี๋ยกลายเป็นรัฐอารักขาซึ่งมีอิสระเพียงในนาม.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและราชวงศ์เหงียน · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเซดัง

ราชอาณาจักรเซดัง (Kingdom of Sedang; ภาษาฝรั่งเศส: Royaume des Sedangs) เป็นเขตการปกครองที่ก่อตั้งขึ้นชั่วคราวในพุทธศตวรรษที่ 24 โดยนักผจญภัยชาวฝรั่งเศส ชาร์เลิส-มารี ดาวิด เดอ แมเรนาในดินแดนที่ปัจจุบันคือประเทศเวียดนาม แมเรนาเคยเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐบาลฝรั่งเศสมาก่อนและมีประวัติน่าสงสัยว่าเคยเกี่ยวข้องกับการทุจริตได้เป็นเจ้าของที่ดินเพาะปลูกใน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและราชอาณาจักรเซดัง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์ทั่วโลก.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและรายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสายการบินในประเทศเวียดนาม

รายชื่อสายการบินในประเทศเวียดนาม ซึ่งรองรับโดย องค์การการบินพลเรือนเวียดนาม (CAAV).

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและรายชื่อสายการบินในประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเวียดนาม

ตารางเบื้องล่างต่อไปนี้คือข้อมูลเกี่ยวกับธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ในเวียดนามอย่างสังเขป.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและรายชื่อธงในประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ลอน นอล

ลอน นอล (លន់ នល់ ลน่ นล่; 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1913 - 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1985) เป็นนายทหารและนักการเมืองกัมพูชา เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาสองสมัย และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกลาโหมอีกหลายครั้ง เป็นผู้ก่อการรัฐประหารล้มอำนาจของรัฐบาลเจ้านโรดม สีหนุในปี..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและลอน นอล · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอาณานิคม

ลัทธิอาณานิคม (colonialism) เป็นการสถาปนา แสวงหาประโยชน์จากพื้นที่อื่น ธำรงรักษา ได้มาซึ่งและขยายอาณานิคมในดินแดนหนึ่งจากประชากรอีกดินแดนหนึ่ง ลัทธิอาณานิคมเป็นชุดความสัมพันธ์ไม่เท่ากันระหว่างเจ้าอาณานิคมและอาณานิคม และมักระหว่างผู้อยู่ในนิคมและประชากรพื้นเมือง สมัยอาณานิคมยุโรปอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อชาติยุโรปหลายชาติสถาปนาอาณานิคมในทวีปเอเชีย แอฟริกาและอเมริกา ทีแรก ประเทศต่าง ๆ ดำเนินนโยบายลัทธิพาณิชยนิยมซึ่งออกแบบมาเพื่อเสริมเศรษฐกิจของประเทศแม่โดยแลกกับเศรษฐกิจของคู่แข่ง ฉะนั้น ปกติอาณานิคมจึงได้รับอนุญาตให้ค้าขายเฉพาะกับประเทศแม่เท่านั้น ทว่า เมื่อถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิอังกฤษยกเลิกลัทธิพาณิชยนิยมและการจำกัดการค้า และเริ่มใช้หลักการค้าเสรี โดยมีการจำกัดหรือภาษีศุลกากรน้อ.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและลัทธิอาณานิคม · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1940)

รียงลำดับเหตุการณ์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 1 มกราคม จนถึง 31 ธันวาคม 1940 ทหารสกีของฟินแลนด์ - 12 มกราคม 1940 ทหารโซเวียตเสียชีวิตหลังจากถูกโจมตีที่ถนนราเต เส้นทางการรุกของกองทัพเยอรมันและกองทัพอังกฤษในการทัพนอร์เวย์ การรุกสายฟ้าแลบระหว่างยุทธการแห่งฝรั่งเศส - กลางเดือนพฤษภาคม 1940 อพยพจากดันเคิร์กระหว่างปฏิบัติการไดนาโม อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในกรุงปารีส - 23 มิถุนายน 1940 เครื่องบินรบเยอรมันเตรียมทำการรบในยุทธการแห่งบริเตน เดอะบลิตซ์: กรุงลอนดอนถูกทิ้งระเบิดทางอากาศโดยกองทัพอากาศเยอรมัน.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1940) · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร

ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรแสดงรายการเหตุการณ์สำคัญนับตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎรในปี 2469 จนหมดอำนาจในปี 2503 เหตุการณ์ปฏิวัติสยามเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย และทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ที่เคยเป็นผู้ปกครองสูงสุดของประเทศมาช้านานเสียอำนาจส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าวใน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

วรันดับ ฉัตรกุล ณ อยุธยา

วรันดับ ฉัตรกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม บุนนาค, พ.ศ. 2454 — พ.ศ. 2536) ภรรยาของหม่อมหลวงสฤษดิ์ ฉัตรกุล และเป็นอดีตนางกำนัลในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและวรันดับ ฉัตรกุล ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

วังเปา

วังเปา (Vang Pao; ภาษาม้ง: Vaj Pov) เป็นทหารลาวเชื้อสายม้งที่มีบทบาทสำคัญในสงครามกลางเมืองลาวในฐานะฝ่ายต่อต้านขบวนการปะเทดลาว เกิดเมื่อ 8 ธันวาคม..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและวังเปา · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112

วิกฤตการณ์ ร..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมลูกเสือสหพันธ์อินโดจีน

มาคมลูกเสือสหพันธ์อินโดจีน (Indochinese Federation of Scouting Associations; ภาษาฝรั่งเศส: Fédération Indochinoise des Associations du Scoutisme; ภาษาเวียดนาม:Liên Hội Hướng đạo Đông Dương) เป็นสมาคมลูกเสือแห่งแรกในอินโดจีนฝรั่งเศส ครอบคลุมดินแดนลาว กัมพูชา และเวียดนาม จัดตั้งขึ้นระหว่าง..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและสมาคมลูกเสือสหพันธ์อินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพฝรั่งเศส

หภาพฝรั่งเศส (Union française) เป็นกลุ่มประเทศอธิปไตยก่อตั้งโดยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 เพื่อแทนที่ระบอบอาณานิคมของจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสที่มีอยู่เดิม.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและสหภาพฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

สันนิบาตฟื้นฟูเวียดนาม

222px 222px 222px สันนิบาตฟื้นฟูเวียดนาม (Vietnam Restoration League; ภาษาเวียดนาม: Việt Nam Quang Phục Hội) หรือกวางฝุกโห่ย เป็นองค์กรปฏิวัตินิยมสาธารณรัฐและชาตินิยมที่มีกิจกรรมในราว..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและสันนิบาตฟื้นฟูเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

สำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศ

อาคารสำนักงานที่ปารีส สำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศ (École française d'Extrême-Orient หรือ EFEO) เป็นสถาบันของฝรั่งเศสที่ศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับโบราณคดี ประวัติศาสตร์ รวมทั้งสังคมของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (โดยเฉพาะอินโดจีนของฝรั่งเศส) สำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศก่อตั้งขึ้นในปีพ.ศ. 2443 โดยในตอนแรกมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ฮานอย และต่อมาได้ย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ที่ปารี.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและสำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศ · ดูเพิ่มเติม »

สีสุวัตถิ์ สิริมตะ

นักองค์ราชวงศ์ (หม่อมราชวงศ์) สีสุวัตถิ์ สิริมตะ (អ្នកឣង្គរាជវង្ស ស៊ីសុវត្ថិ សិរិមតះ; Sisowath Sirik Matak; 22 มกราคม พ.ศ. 2457 — 21 เมษายน พ.ศ. 2518) เป็นสมาชิกในราชวงศ์กัมพูชา สายราชสกุลสีสุวัตถิ์ นักองค์ราชวงศ์สีสุวัตถิ์ สิริมตะ เป็นที่จดจำจากการมีบทบาททางการเมืองในประเทศกัมพูชา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการร่วมมือกับนักการเมืองฝ่ายขวาในปี พ.ศ. 2513 เพื่อก่อการรัฐประหารต่อสมเด็จพระนโรดม สีหนุ ประมุขแห่งรัฐซึ่งเป็นลูกพี่ลูกน้องของพระองค์เอง และร่วมมือกับลอน นอล ในการสถาปนารัฐบาลสาธารณรัฐเขมร.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและสีสุวัตถิ์ สิริมตะ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟเว้

นีรถไฟเว้ สถานีรถไฟเว้ เป็นสถานีรถไฟประจำเมืองเว้ บนทางรถไฟข้ามภาคของเวียดนาม ตั้งอยู่ที่ถนน Bui Thi Xuan จังหวัดเว้ ประเทศเวียดนาม สถานีรถไฟเว้สร้างในสมัยอินโดจีนของฝรั่งเศส ถูกออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมฝรั่งเศส จึงเป็นสถานีรถไฟที่สวยที่สุดในเวียดนาม.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและสถานีรถไฟเว้ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอินโดจีน

งครามอินโดจีน (Indochina Wars, Chiến tranh Đông Dương) เป็นสงครามย่อยหลายสงครามที่เกิดขึ้นทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ปีค.ศ. 1946 จนถึง 1989 ระหว่างชาวเวียดนามชาตินิยมกับฝรั่งเศส อเมริกา และจีน คำว่า "อินโดจีน" เดิมทีจะหมายถึงอินโดจีนของฝรั่งเศส ซึ่งรวมทั้งรัฐปัจจุบันของเวียดนาม ลาว และกัมพูชา การใช้ในปัจจุบันส่วนใหญ่หมายถึงภูมิภาคทางภูมิศาสตร์มากกว่าพื้นที่ทางการเมือง สงครามแบ่งออกเป็นสงครามย่อย 4 สงครามได้แก.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและสงครามอินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง

งครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่งเริ่มในอินโดจีนฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง

งครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง (Second Sino-Japanese War;; 日中戦争) ระหว่างวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 ถึงวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2488 เป็นสงครามระหว่างจีนกับญี่ปุ่น เกิดขึ้นก่อนสงครามโลกครั้งที่สองต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สองเรียกว่า "สงครามแปซิฟิก" และดำเนินเรื่อยมาจนยุติลงพร้อมกับสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นสงครามที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ย้อนกลับไปใน พ.ศ. 2474 ญี่ปุ่นได้เข้ารุกรานแมนจูเรีย ซึ่งเหตุการณ์นี้เรียกว่ากรณีมุกเดน ทำให้ญี่ปุ่นสามารถเข้าไปมีอิทธิพลในดินแดนจีนแผ่นดินใหญ่ได้ จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์ ณ สะพานมาร์โค โปโล อันเป็นจุดเริ่มต้นอย่างเป็นทางการของสงครามครั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มต้นสงครามจนถึง..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามแปซิฟิก

งครามแปซิฟิก (Pacific War) หรือ สงครามมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia War; 大東亜戦争, Dai Tō-A Sensō) เป็นเขตสงครามหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง สู้รบกันในมหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกเป็นหลัก มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าสงครามแปซิฟิกเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 หรือ 8 ธันวาคม 1941 เมื่อญี่ปุ่นบุกครองประเทศไทยและโจมตีอาณานิคมของบริติช ได้แก่ มาลายา สิงคโปร์และฮ่องกง ตลอดจนฐานทัพสหรัฐในหมู่เกาะฮาวาย หมู่เกาะเวก เกาะกวมและฟิลิปปินส์ ทว่า สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและสาธารณรัฐจีนมีมาต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 1937 โดยมีความเป็นปรปักษ์ย้อนหลังไปถึงวันที่ 19 กันยายน 1931 เมื่อประเทศญี่ปุ่นบุกครองแมนจูเรีย จักรวรรดิญี่ปุ่นเริ่มนโยบายชาตินิยมโดยใช้คำขวัญที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asiatics) วันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและสงครามแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเวียดนาม

งครามเวียดนาม หรือ สงครามอินโดจีนครั้งที่สอง หรือที่ชาวเวียดนามรู้จักกันในชื่อ สงครามอเมริกา เป็นสงครามตัวแทนสมัยสงครามเย็นที่เกิดขึ้นในประเทศเวียดนาม ลาวและกัมพูชาตั้งแต่เดือนธันวาคม 2498 กระทั่งกรุงไซ่ง่อนแตกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2518 สงครามเวียดนามนี้เกิดขึ้นหลังสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง และมีเวียดนามเหนือซึ่งได้รับการสนับสนุนจากจีน สหภาพโซเวียตและพันธมิตรคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามฝ่ายหนึ่ง กับรัฐบาลเวียดนามใต้ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐและประเทศที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามอีกฝ่ายหนึ่ง เวียดกง (หรือ แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ) เป็นแนวร่วมประชาชนคอมมิวนิสต์เวียดนามใต้ที่ติดอาวุธเบาซึ่งมีเวียดนามเหนือสั่งการ สู้รบในสงครามกองโจรต่อกำลังต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค กองทัพประชาชนเวียดนาม (กองทัพเวียดนามเหนือ) ต่อสู้ในสงครามตามแบบมากกว่า และบางครั้งส่งหน่วยขนาดใหญ่เข้าสู่ยุทธการ เมื่อสงครามดำเนินไป ส่วนการต่อสู้ของเวียดกงลดลงขณะที่บทบาทของกองทัพประชาชนเวียดนามเพิ่มขึ้น กำลังสหรัฐและเวียดนามใต้อาศัยความเป็นเจ้าเวหาและอำนาจการยิงที่เหนือกว่าเพื่อดำเนินปฏิบัติการค้นหาและทำลาย ซึ่งรวมถึงกำลังภาคพื้นดิน ปืนใหญ่และการโจมตีทางอากาศ ตลอดห้วงสงคราม สหรัฐดำเนินการทัพทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์ขนานใหญ่ต่อเวียดนามเหนือ และต่อมาน่านฟ้าเวียดนามเหนือกลายเป็นน่านฟ้าที่มีการป้องกันหนาแน่นที่สุดในโลก รัฐบาลสหรัฐมองว่าการเข้ามามีส่วนในสงครามของตนเป็นหนทางป้องกันการยึดเวียดนามใต้ของคอมมิวนิสต์อันเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การจำกัดการขยายตัวของลัทธิที่ไม่พึงปรารถนาที่ใหญ่กว่า โดยมีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อหยุดการแพร่ของคอมมิวนิสต์ ตามทฤษฎีโดมิโนของสหรัฐ หากรัฐหนึ่งกลายเป็นคอมมิวนิสต์ รัฐอื่นในภูมิภาคก็จะเป็นไปด้วย ฉะนั้น นโยบายของสหรัฐจึงถือว่าการผ่อนปรนการแพร่ของคอมมิวนิสต์ทั่วประเทศเวียดนามนั้นยอมรับไม่ได้ รัฐบาลเวียดนามเหนือและเวียดกงต่อสู้เพื่อรวมเวียดนามอยู่ในการปกครองคอมมิวนิสต์ ทั้งสองมองข้อพิพาทนี้เป็นสงครามอาณานิคม ซึ่งเริ่มแรกสู้กับฝรั่งเศส โดยได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐ แล้วต่อมาสู้กับเวียดนามใต้ ซึ่งถูกมองว่าเป็นรัฐหุ่นเชิดของสหรัฐ ที่ปรึกษาทางทหารชาวอเมริกันมาถึงอินโดจีนขณะนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 2493 การเข้ามามีส่วนของสหรัฐเพิ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 โดยมีระดับทหารเพิ่มเป็นสามเท่าในปี 2494 และเพิ่มอีกสามเท่าในปีต่อมา การเข้ามามีส่วนของสหรัฐทวีขึ้นอีกหลังเหตุการณ์อ่าวตังเกี๋ย ปี 2507 ซึ่งเรือพิฆาตของสหรัฐปะทะกับเรือโจมตีเร็วของเวียดนามเหนือ ซึ่งตามติดด้วยข้อมติอ่าวตังเกี๋ยซึ่งอนุญาตให้ประธานาธิบดีสหรัฐเพิ่มทหารในพื้นที่ หน่วยรบปกติของสหรัฐถูกจัดวางเริ่มตั้งแต่ปี 2498 ปฏิบัติการข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ โดยพื้นที่ติดต่อกับประเทศลาวและกัมพูชาถูกกองทัพสหรัฐทิ้งระเบิดอย่างหนักขณะที่การเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐเพิ่มขึ้นสูงสุดในปี 2511 ปีเดียวกัน ฝ่ายคอมมิวนิสต์เปิดฉากการรุกตรุษญวน การรุกตรุษญวนไม่สัมฤทธิ์ผลในการโค่นรัฐบาลเวียดนามใต้ แต่ได้กลายเป็นจุดพลิกผันของสงคราม เพราะได้แสดงว่าเวียดนามใต้ไม่อาจป้องกันตัวเองจากเวียดนามเหนือได้ แม้สหรัฐจะทุ่มความช่วยเหลือทางทหารอย่างมหาศาลหลายปี ด้วยจุดชัยชนะของสหรัฐนั้นไม่ชัดเจน จึงค่อย ๆ มีการถอนกำลังภาคพื้นดินของสหรัฐโดยเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายเรียก การแผลงเป็นเวียดนาม (Vietnamization) ซึ่งมุ่งยุติการเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐขณะที่โอนภารกิจต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ให้เวียดนามใต้เอง แม้ภาคีทุกฝ่ายลงนามข้อตกลงสันติภาพปารีสในเดือนมกราคม 2516 แล้วก็ตาม แต่การสู้รบยังดำเนินต่อไป ในสหรัฐและโลกตะวันตก มีการพัฒนาขบวนการต่อต้านสงครามเวียดนามขนาดใหญ่ขึ้น ขบวนการนี้ทั้งเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมต่อต้าน (Counterculture) แห่งคริสต์ทศวรรษ 1960 และเป็นปัจจัยหนึ่งของมัน การมีส่วนร่วมทางทหารของสหรัฐยุติลงเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2516 อันเป็นผลมาจากคำแปรญัตติเคส–เชิร์ช (Case–Church Amendment) ที่รัฐสภาสหรัฐผ่าน การยึดกรุงไซ่ง่อนโดยกองทัพประชาชนเวียดนามในเดือนเมษายน 2518 เป็นจุดสิ้นสุดของสงคราม และมีการรวมชาติเวียดนามเหนือกับเวียดนามใต้ในปีต่อมา สงครามนี้คร่าชีวิตมนุษย์ไปมหาศาล ประเมินตัวเลขทหารและพลเรือนชาวเวียดนามที่ถูกสังหารมีตั้งแต่น้อยกว่า 1 ล้านคนเล็กน้อย ไปถึงกว่า 3 ล้านคน ชาวกัมพูชาเสียชีวิตราว 2-3 แสนคนHeuveline, Patrick (2001).

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและสงครามเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

สแตนดาร์ดเกจ

แตนดาร์ดเกจ หรือ รางขนาดมาตรฐานยุโรป (European standard gauge)เป็นขนาดความกว้างรางรถไฟที่มีการใช้กันมากที่สุด โดยคิดเป็นประมาณ 60% ของรางรถไฟทั่วโลก ระยะห่างภายในของรางรถไฟมีขนาด 1.435 เมตร (4 ฟุต 8 1/2 นิ้ว) สแตนดาร์ดเกจยังมีชื่อเรียกว่า สตีเฟนซันเกจ ตั้งชื่อตาม จอร์จ สตีเฟนซัน ความกว้าง 1.435 นี้เป็นระยะห่างของล้อรถม้าและเกวียนในสมัยโรมันโบราณ ซึ่งเป็นระยะที่กว้างพอที่จะทำให้ม้า 2 ตัวแบบเรียงหน้ากระดาน สามารถลากจูงรถได้โดยที่ลำตัวไม่เบียดกันเวลาม้าวิ่ง.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและสแตนดาร์ดเกจ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะสแปรตลี

thumb หมู่เกาะสแปรตลี (Spratly Islands) เป็นดินแดนที่ประกอบด้วยหินโสโครก อะทอลล์ สันดอน เกาะ และเกาะขนาดเล็กมากกว่า 750 แห่งในทะเลจีนใต้, World Lildlife Fund.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและหมู่เกาะสแปรตลี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ ดิศกุล

หม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ ดิศกุล (ในหนังสือนิทานโบราณคดีสะกดเป็น "บรรลุศิริสาร") หรือ "ท่านหญิงเภา" (กันยายน พ.ศ. 2441 — 22 เมษายน พ.ศ. 2455) ทรงเป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กับหม่อมเจิม ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สนธิรัตน์) ซึ่งถึงชีพิตักษัยจากโรคพิษสุนัขบ้า การถึงชีพิตักษัยของท่านได้เป็นจุดเริ่มต้นของการก่อตั้งสถานเสาวภา สภากาชาดไทย เหตุแห่งการถึงชีพิตักษัยของหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ปรากฏรายละเอียดอยู่ในพระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เรื่อง "นิทานโบราณคดี" นิทานที่ 13 เรื่องอนามัย ซึ่งระบุไว้ว่าในปี พ.ศ. 2455 ขณะนั้นพระองค์ในฐานะเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยพร้อมด้วยครอบครัวได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเสด็จออกไปประทับที่พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม บ่ายวันหนึ่งมีสุนัขบ้าวิ่งเข้ามาในบ้านพักของพระองค์และได้กัดขาหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ซึ่งทรงหกล้มขณะวิ่งหนีสุนัขบ้า ปรากฏเป็นแผลรอยเขี้ยว 2 แผล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพจึงทรงรีบสืบหาแพทย์ที่ชำนาญการรักษาโรคพิษสุนัขบ้าในเวลานั้น ความทราบถึงพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงแนะนำให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ส่งตัวหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ไปรักษายังสถาบันปาสเตอร์ที่เมืองไซง่อน อินโดจีนของฝรั่งเศส เนื่องจากที่นั่นมียาสำหรับรักษาโรคนี้ แต่เรือเดินทะเลประจำทางที่ไปไซ่ง่อนได้ออกเดินทางไปก่อนหน้านั้นไม่กี่วัน จำเป็นต้องรอถึง 15 วันจึงจะมีเรือลำใหม่เข้ามาที่กรุงเทพ จึงได้แต่รักษาอาการตามแบบแพทย์แผนไทยจนแผลหาย หลังจากนั้นประมาณ 3 เดือน เช้าวันหนึ่งหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ทรงมีอาการของโรคกลัวน้ำ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงตามแพทย์ฝรั่งให้มาตรวจอาการ จึงทราบว่าหมดทางรักษาแล้ว อาการของหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ได้ทรุดลงอย่างรวดเร็วและถึงชีพิตักษัยในเวลาดึกของค่ำวันนั้น เมื่อหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์สิ้นชีพิตักษัย นายแพทย์ชาวฝรั่งเศสซึ่งเป็นมิตรคนหนึ่งของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้แนะนำพระองค์เกี่ยวกับการจัดตั้งสถานปาสเตอร์ในกรุงเทพขึ้นเพื่อผลิตยารักษาและป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งพระองค์ทรงเห็นด้วย เพราะทรงเคยเห็นกิจการของสถาบันปาสเตอร์ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อครั้งเสด็จไปราชการในทวีปยุโรปในปี พ.ศ. 2434 มาก่อน พระองค์จึงทรงขอพระบรมราชานุญาตประกาศบอกบุญเรี่ยไรเงิน และได้จัดตั้งสถานปาสเตอร์ขึ้นที่ตึกของกระทรวงมหาดไทยริมโรงเลี้ยงเด็ก ถนนบำรุงเมือง เมื่อปี พ.ศ. 2456 (ในเวลานั้นเรียกว่า "ปัสตุรสภา") ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 กิจการดังกล่าวได้โอนจากกระทรวงมหาดไทยไปอยู่ในความดูแลของกองวิทยาศาสตร์ สภากาชาดสยาม โดยใช้สถานที่เดิมเป็นที่ทำการไปพลางก่อน และในปี พ.ศ. 2465 ได้ย้ายที่ตั้งมาอยู่ที่ทำการแห่งใหม่ในชื่อสถานเสาวภาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หวอ เงวียน ซ้าป

หวอ เงวียน ซ้าป หรือที่คนไทยรู้จักกันในชื่อ โวเหงียนเกี๊ยบ (Võ Nguyên Giáp; 25 สิงหาคม พ.ศ. 2454 - 4 ตุลาคม พ.ศ. 2556) เป็นนายทหารนอกราชการสังกัดกองทัพประชาชนเวียดนามและนักการเมือง เขาเป็นผู้บัญชาการหลักสงครามใหญ่ 2 ครั้ง คือ สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง (พ.ศ. 2489-2497) และสงครามเวียดนาม (อีกนัยหนึ่งคือสงครามอินโดจีนครั้งที่ 2, พ.ศ. 2503-2518) และมีส่วนร่วมในยุทธการครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์อันได้แก่ยุทธการที่หลั่งเซิน (พ.ศ. 2493) ยุทธการที่ฮหว่าบิ่ญ (พ.ศ. 2494-2495) ยุทธการที่เดียนเบียนฟู (1954) การรุกวันตรุษญวน (พ.ศ. 2511) การรุกวันอีสเตอร์ (ในเวียดนามเรียกชื่อว่า "การรุกเหงียนเว้", พ.ศ. 2515) การทัพโฮจิมินห์ (พ.ศ. 2518) และ สงครามจีน-เวียดนาม (พ.ศ. 2522) นอกจากนี้ย้าบยังเป็นนักหนังสือพิมพ์ รัฐมนตรีมหาดไทยในรัฐบาลเวียดมินห์ของโฮจิมินห์ ผู้บัญชาการทหารของเวียดมินห์ ผู้บัญชาการกองทัพประชาชนเวียดนาม รัฐมนตรีกลาโหม และรับตำแหน่งในคณะกรมการเมือง (โปลิตบูโร) ของพรรคแรงงานเวียดนาม (พรรคลาวด่ง) อีกด้วย ซ้าปเป็นผู้บัญชาการทหารที่โดดเด่นที่สุดที่อยู่เคียงข้างประธานาธิบดีโฮจิมินห์ในช่วงสงคราม และรับผิดชอบในการนำปฏิบัติการต่างๆ ที่สำคัญมาโดยตลอดจนกระทั่งสงครามยุติ นอกจากนี้ซ้าปยังเป็นที่จดจำว่ามีชีวิตอยู่ยืนยาวยิ่งกว่าประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นคู่สงครามทุกคน และเป็นนายทหารระดับสูงที่โดดเด่นที่สุดในช่วงสงครามเวียดนามซึ่งได้รับการยอมรับจากทั้งสองฝ.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและหวอ เงวียน ซ้าป · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์

อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ เป็นอาณาจักรทางตอนกลางของประเทศลาว และ ภาคอีสานตอนบนของประเทศไทยในปัจจุบัน อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ครอบคลุม ภาคอีสานตอนบน แขวงเวียงจันทน์ นครหลวงเวียงจันทน์ กรุงเวียงจันทน์ซึ่งปัจจุบันเป็นเมืองหลวงของประเทศและบริเวณใกล้เคียง อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ติดกับอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง และอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ เมื่อถึง พ.ศ. 2436 อาณาจักรล้านช้างทั้ง 3 ส่วนจึงได้ตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส และได้รับเอกราชเป็นพระราชอาณาจักรในปี พ.ศ. 2496 รวมลาวอยู่ภายใต้อาณานิคมของฝรั่งเศสเป็นเวลา 60 ปี หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ลาว หมวดหมู่:เวียงจันทน์ หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศลาว หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ล.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอธาราบริวัตร

อำเภอธาราบริวัตร (ស្រុកថាឡាបរិវ៉ាត់; รูปปริวรรตอักษรไทย: สฺรุกถาฬาบริวาต่, Thala Barivat District) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสตึงแตรง ตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขงทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศกัมพูชา ตามผลการสำรวจสำมะโนครัวประชากรในกัมพูชาเมื่อปี พ.ศ. 2542 ปรากฏว่าอำเภอนี้มีประชากร 21,577 คน ชื่อ "ธาราบริวัตร" เป็นชื่อภาษาไทยที่ตั้งด้วยคำในภาษาสันสกฤต แปลว่า แม่น้ำที่ไหลวน มีที่มาจากที่ตั้งของตัวอำเภอธาราบริวัตร ซึ่งเป็นจุดที่แม่น้ำโขงไหลวนเป็นวังน้ำวน ชื่ออำเภอธาราบริวัตรที่ประเทศกัมพูชาใช้ในปัจจุบันนี้ เป็นการเขียนตามเสียงภาษาไทยด้วยอักขรวิธีภาษาเขมร "ថាឡាបរិវ៉ាត់" (รูปปริวรรตอักษรไทย: ถาฬาบริวาต่; คำอ่าน: ทา-ลา-บอ-ริ-วัด) ทำให้บางแห่งมีการเขียนทับศัพท์ด้วยอักษรไทยว่า "ถาลาปริวัต" หรือ "ถาลาบริวัต" เช่น ในวงวิชาการด้านศิลปะของไทย เรียกชื่อศิลปะเขมรที่มีอายุอยู่ในช่วงประมาณ..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและอำเภอธาราบริวัตร · ดูเพิ่มเติม »

อินโดจีน

มุทรอินโดจีน เมื่อปี ค.ศ. 1886 '''อินโดจีน''': สีเขียวเข้ม: นับรวมเสมอ, สีเขียวอ่อน: นับรวมเป็นส่วนใหญ่, สีแดง: นับรวมเป็นบางครั้ง'''ภูมิภาคอินโดจีน''' (ชีววิทยา): สีเขียวเข้มและอ่อน อินโดจีน (Indochina) หรือ คาบสมุทรอินโดจีน (Indochinese Peninsula) เป็นคาบสมุทรที่ยื่นออกมาจากแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชีย และเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มาของชื่อว่าอินโดจีนนั้น ก็เพราะว่าคาบสมุทรนี้ตั้งอยู่ทางใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และทางตะวันออกของประเทศอินเดีย คำว่า "Indochina" มีที่มาจากคำว่า Indochine ในภาษาฝรั่งเศส และถูกใช้ในระหว่างยุคล่าอาณานิคม ในทางประวัติศาสตร์แล้ว ประเทศในอินโดจีนส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียและจีน ซึ่งแต่ละประเทศต่างก็รับเอาวัฒนธรรมจากทั้งสองชาตินี้เข้ามาระดับที่แตกต่างกัน อย่างเช่น ไทยและลาวได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียเป็นส่วนใหญ่ ส่วนเวียดนามได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากจีนเป็นส่วนใหญ่ ต่อมาในยุคล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก ชาติส่วนใหญ่ในอินโดจีนก็รับเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาเช่นกัน.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและอินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เป็นอนุสาวรีย์ในกรุงเทพมหานคร โดยรอบเป็นวงเวียนอยู่กึ่งกลางระหว่างถนนพหลโยธิน ถนนราชวิถี และถนนพญาไท ตั้งอยู่ที่กิโลเมตรที่ 5.0 ถนนพหลโยธิน โดยที่ กม.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ฮหวิ่ญ เติ๊น ฟ้าต

หวิ่ญ เติ๊น ฟ้าต (Huỳnh Tấn Phát; เกิด พ.ศ. 2456 หมีทอ อินโดจีนของฝรั่งเศส - เสียชีวิต 30 กันยายน พ.ศ. 2532 นครโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม) เป็นนักการเมืองชาวเวียดนามใต้และนักปฏิวัติ เป็นสมาชิกของสภาแห่งชาติสมัยแรก (สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม) และเป็นประธานรัฐบาลเวียดนามใต้ และหลังจากรวมชาติแล้วจึงได้เป็นรองประธานาธิบดีเวียดนาม.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและฮหวิ่ญ เติ๊น ฟ้าต · ดูเพิ่มเติม »

ฮานอย

นอย (Hanoi; Hà Nội ห่าโหน่ย) เป็นเมืองหลวงของประเทศเวียดนาม มีประชากร 6,472,200 คน (พ.ศ. 2552) ในอดีตเคยเป็นเมืองหลวงของเวียดนามเหนือระหว่าง พ.ศ. 2497 ถึง พ.ศ. 2519 และก่อนหน้านั้นเคยเป็นเมืองหลวงของพื้นที่เวียดนามในปัจจุบันเป็นครั้งคราวตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 11 จนถึง..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและฮานอย · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการ

ในปัจจุบัน ผู้สำเร็จราชการ หรือ ข้าหลวงใหญ่ (governor-general; governor general) บางแห่งเรียกว่าข้าหลวงต่างพระองค์ (ในอดีตภาษาไทยใช้ว่า เกาวนาเยเนราล) หมายถึง ผู้แทนพระองค์พระประมุขแห่งรัฐเอกราชรัฐหนึ่งที่ได้รับแต่งตั้งให้ปกครองรัฐเอกราชอีกรัฐหนึ่ง ในอดีตตำแหน่งนี้ใช้กับผู้สำเร็จราชการแทนพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีก็ได้ เช่น ผู้สำเร็จราชการอินโดจีนของฝรั่ง.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและผู้สำเร็จราชการ · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง เดอกู

็อง เดอกู (Jean Decoux; 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2427 – 21 ตุลาคม พ.ศ. 2506) นายทหารเรือแห่งกองทัพเรือฝรั่งเศสชาวเมืองบอร์โด อดีตข้าหลวงใหญ่แห่งอินโดจีนฝรั่งเศสในช่วง..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและฌ็อง เดอกู · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย

ักรพรรดิบ๋าว ดั่ย (จื๋อโกว๊กหงือ: Bảo Đại, จื๋อโนม: 保大, แปลว่า ผู้เก็บรักษาความยิ่งใหญ่; 22 ตุลาคม ค.ศ. 1913 - 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1997) พระนามเดิมว่า เหงียน ฟุก หวิญ ถวิ ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 13 และพระองค์สุดท้ายแห่งเหงียน ตั้งแต่ ค.ศ. 1926 - ค.ศ. 1945 ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอันนัม ในช่วงนี้พระองค์ทรงได้รับความคุ้มครองจากฝรั่งเศสโดยอินโดจีนฝรั่งเศส ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 2 ใน 3 ของเวียดนามในปัจจุบัน พระองค์ทรงขึ้นครองราชบัลลังก์ในปี ค.ศ. 1932 ญี่ปุ่นได้ขับไล่ฝรั่งเศสออกจากดินแดนนี้ในปี ค.ศ. 1945 และใช้อำนาจการปกครองผ่านจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ในช่วงนี้พระองค์ทรงเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "เวียดนาม" อีกครั้ง พระองค์ทรงสละราชบัลลังก์ในเดือนสิงหาคมเมื่อญี่ปุ่นยอมแพ้สงคราม พระองค์ยังทรงเป็นประมุขรัฐเวียดนามตั้งแต่ ค.ศ. 1949 จนกระทั่ง ค.ศ. 1955 จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ทรงถูกวิพากษ์วิจารณ์เนื่องจากมีความใกล้ชิดกับฝรั่งเศสเกินไปและประทับอยู่นอกเวียดนามเป็นเวลานานในรัชสมัยของพระองค์ โง ดิ่ญ เสี่ยม นายกรัฐมนตรีได้ขับไล่พระองค์ในการลงประชามติปลดจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ออกจากราชบัลลังก์เมื่อปี ค.ศ. 1955 แม้จะเป็นที่รับรู้อย่างกว้างขวางว่าเวียดมินห์หรือโฮจิมินห์เป็นผู้วางรากฐานเอกราชให้แก่สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามแต่เพียงฝ่ายเดียว แต่อย่างไรก็ตาม สแตนลีย์ คาร์โนว์ (Stanley Karnow) ได้โต้แย้งในหนังสือ Vietnam - A History ว.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิขาย ดิ่ญ

มเด็จพระจักรพรรดิขาย ดิ่ญ (Khải Định, จื๋อโนม: 啟定; 8 ตุลาคม ค.ศ. 1885 – 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1925) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 12 ของราชวงศ์เหงียนในเวียดนาม ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1916 ถึง ค.ศ. 1925 ทรงมีพระนามเดิมว่า เจ้าชายเหงียน ฟุก บื๋ว ด๋าว (Nguyễn Phúc Bửu Đảo, 阮福寶嶹) ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระจักรพรรดิด่ง คั้ญ แต่พระองค์ไม่ได้สืบทอดราชสมบัติโดยทันที จักรพรรดิขาย ดิ่ญ ขณะทรงกำลังศึกษาเล่าเรียน (ค.ศ. 1916) จักรพรรดิขาย ดิ่ญ ในปี ค.ศ.1916.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและจักรพรรดิขาย ดิ่ญ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีนาม เฟือง

มเด็จพระจักรพรรดินีนาม เฟือง แห่งเวียดนาม หรือ เจ้าหญิงนาม เฟือง แห่งเวียดนาม (南芳皇后) พระนามเดิมคือ มารี-เตแรซ เหงียน หืว ถิ ลาน (14 ธันวาคม พ.ศ. 2457 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระนางเป็นพระมเหสีพระองค์แรกของสมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนาม ผู้เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายของอันนัมในอารักขาของฝรั่งเศส และสมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์สุดท้ายของเวียดนาม เป็นพระมเหสีตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและจักรพรรดินีนาม เฟือง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระตะบอง

ระตะบอง หรือ บัตฎ็อมบอง (បាត់ដំបង แปลว่า "ตะบองหาย") เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศกัมพูชา อยู่ทางภาคตะวันตกของประเทศ มีเขตติดต่อกับจังหวัดสระแก้ว และจันทบุรี ประเทศไทย พื้นที่นี้อดีตเคยเป็นจังหวัดพระตะบองในมณฑลบูรพาของสยาม.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและจังหวัดพระตะบอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิบูลสงคราม

ังหวัดพิบูลสงคราม เป็น 1 ใน 4 จังหวัดที่ประเทศไทยได้ดินแดนคืนจากฝรั่งเศสในช่วง พ.ศ. 2484 โดยยกท้องที่การปกครองเสียมราฐขึ้นเป็นจังหวัด ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไทยต้องส่งดินแดนจังหวัดพิบูลสงครามคืนให้แก่ฝรั่งเศส ซึ่งปกครองประเทศกัมพูชาอยู่ในขณะนั้น ปัจจุบันคือจังหวัดเสียมราฐ จังหวัดอุดรมีชัย และจังหวัดบันทายมีชัยในประเทศกัมพูชา พื้นที่ของจังหวัดนี้เดิมอยู่ในมณฑลบูรพาในสมัยรัชกาลที่ 5 และตกอยู่ภายใต้ความปกครองของฝรั่งเศสเมื่อปี พ.ศ. 2450 ชื่อจังหวัดพิบูลสงครามนี้ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่จอมพลแปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีไทยในขณะนั้น ทั้งนี้ ยังปรากฏว่ามีการสร้างอนุสาวรีย์ไก่ขาวกางปีกซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของจอมพลแปลกไว้เป็นอนุสรณ์ของจังหวัดนี้ เมื่อมีการกำหนดให้มีตราประจำจังหวัดทั่วประเทศ กรมศิลปากรก็ได้นำอนุสาวรีย์ดังกล่าวมาผูกเป็นรูปตราประจำจังหวัดไว้ด้วย ส่วนชื่ออำเภอต่าง ๆ ที่ตั้งขึ้นในทั้ง 4 จังหวัด ที่ได้คืนมาจากฝรั่งเศสนั้น ส่วนหนึ่งตั้งชื่อตามบุคคลที่มีบทบาทอย่างสูงในการรบสงครามอินโดจีน อย่างไรก็ตาม ในการได้ดินแดนเสียมราฐคืนมาเป็นจังหวัดพิบูลสงครามนั้น นครวัด ยังคงอยู่ในเขตของฝรั่งเศส และปราสาทบันทายศรีแม้ตามเส้นแบ่งแดนจะอยู่ในเขตจังหวัดพิบูลสงคราม แต่ฝรั่งเศสได้ขอให้ขีดวงล้อมให้ดินแดนที่ตั้งของปราสาทบันทายศรี เป็นของฝรั่งเศสตามเดิม ทั้งนี้ ญี่ปุ่นซึ่งเป็นผู้ไกล่เกลี่ยได้เห็นชอบตามคำขอของฝรั่งเศส ปราสาททั้งสองจึงไม่อยู่ในเขตอธิปไตยของไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและจังหวัดพิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลานช้าง

ังหวัดลานช้าง (บางทีก็เรียกว่า จังหวัดล้านช้าง) เป็น 1 ใน 4 จังหวัดที่ประเทศไทยได้ดินแดนคืนจากฝรั่งเศสในช่วง พ.ศ. 2484 โดยยกท้องที่ดินแดนลาวฝั่งขวาแม่น้ำโขงตรงข้ามกับเมืองหลวงพระบาง ขึ้นเป็นจังหวัด เดิมพื้นที่นี้ขึ้นอยู่กับมณฑลพายัพในสมัยรัชกาลที่ 5 และตกอยู่ภายใต้ความปกครองของฝรั่งเศสเมื่อปี พ.ศ. 2447 พร้อมกันกับเมืองจำปาศักดิ์ ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไทยต้องส่งดินแดนนี้คืนให้แก่ฝรั่งเศส ซึ่งผู้ปกครองประเทศลาวในขณะนั้น ปัจจุบันพื้นที่ดังกล่าวนี้คือ แขวงไชยบุรี และเมืองจอมเพ็ด แขวงหลวงพระบาง ของประเทศลาว กรมศิลปากรได้กำหนดให้จังหวัดลานช้างใช้ตราประจำจังหวัดเป็นรูปช้างหลายตัวยืนอยู่กลางลานกว้าง โดยคิดรูปตราจากความหมายของชื่อจังหวัดที่แปลว่า “ดินแดนที่มีช้างจำนวนมาก”.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและจังหวัดลานช้าง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสตึงแตรง

ตึงแตรง (ស្ទឹងត្រែង, "แม่น้ำต้นกก") เป็น 1 ใน 2 จังหวัดที่อยู่ทางตอนเหนือสุดของประเทศกัมพูชา ชาวลาวเรียกชื่อที่แห่งนี้ว่า เซียงแตง (ຊຽງແຕງ) ส่วนในภาษาไทยเดิมเรียกตามภาษาลาวว่า เชียงแตง บ้างก็ทับศัพท์เป็น สตึงเตรง หรือ สะตึงแตรง พื้นที่ส่วนนี้เคยเป็นเขตแดนของอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ (ภายหลังเป็นประเทศราชของสยาม) ในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 23–25 ก่อนจะตกมาเป็นของกัมพูชาใน พ.ศ. 2447 จากการที่ฝรั่งเศสได้พื้นที่ฝั่งขวาของแม่น้ำโขงในบังคับสยามมาเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคมอินโดจีนฝรั่ง.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและจังหวัดสตึงแตรง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครจัมปาศักดิ์

ังหวัดนครจัมปาศักดิ์ เป็น 1 ใน 4 จังหวัดที่ประเทศไทยได้ดินแดนคืนจากฝรั่งเศสในช่วง พ.ศ. 2484 โดยยกท้องที่การปกครองเมืองจำปาศักดิ์ ซึ่งเดิมขึ้นอยู่กับมณฑลอุบลราชธานีในสมัยรัชกาลที่ 5 และตกอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสเมื่อปี พ.ศ. 2447 ขึ้นเป็นจังหวัด ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไทยต้องส่งดินแดนดังกล่าวให้แก่ฝรั่งเศส ซึ่งปกครองประเทศลาวในขณะนั้น ภายหลังเมื่อประเทศลาวได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสแล้ว พื้นที่ดังกล่าวจึงได้ยกขึ้นเป็นแขวงจำปาศักดิ์ของลาวในปัจจุบัน อนึ่ง พื้นที่ของจังหวัดนี้ยังกินอาณาบริเวณพื้นที่ส่วนหนึ่งของจังหวัดสตึงแตรง และพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดพระวิหาร ในประเทศกัมพูชาในปัจจุบันนี้ด้วย กรมศิลปากรได้กำหนดให้จังหวัดจัมปาศักดิ์ใช้ตราประจำจังหวัดเป็นรูปปราสาทวัดภู อันเป็นโบราณสถานสำคัญของเมืองจำปาศักดิ์ อย่างไรก็ตาม ในหนังสือตราประจำจังหวัดของกรมศิลปากร พิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2542 ไม่ได้ลงพิมพ์รูปตราดังกล่าวไว้ด้ว.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและจังหวัดนครจัมปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเกียนซาง

เมืองสักซ้า เกียนซาง (Kiên Giang) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง มีเมืองหลักคือ สักซ้า (Rạch Giá) เคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคมอินโดจีนของฝรั่งเศส ภายใต้อาณานิคมโคชินไชนา และต่อมาอยู่ภายใต้ของสาธารณรัฐเวียดนามและสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามในปัจจุบัน เกียนซาง.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและจังหวัดเกียนซาง · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติลาว

งชาติลาว แบบปัจจุบันเริ่มใช้มาตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 ซึ่งเป็นวันสถาปนาประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีลักษณะตามที่กำหนดไว้ใน รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หมวดที่ 10 มาตราที่ 91 ดังนี้ ธงนี้มีชื่อเรียกในภาษาลาวว่า ธงดวงเดือน ได้รับการออกแบบขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดย มหาสิลา วีระวงส์ นักปราชญ์ผู้ยิ่งใหญ่ของชาวลาว ธงนี้เป็นหนึ่งในธงของประเทศที่ปกครองด้วยรัฐบาลคอมมิวนิสต์ ที่ไม่มีสัญลักษณ์รูปค้อนเคียวของขบวนการคอมมิวนิสต์สากล ซึ่งมีอยู่น้อยมาก.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและธงชาติลาว · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายดอนเดด–ดอนคอน

| ทางรถไฟสายดอนเดด-ดอนคอน (Don Det–Don Khon Railway) เป็นทางรถไฟรางแคบระยะสั้น และเป็นทางรถไฟขนถ่ายสินค้าข้ามฝั่งน้ำ (Portage railway) เพื่อเชื่อมการเดินทางข้ามแม่น้ำโขงจากเกาะดอนเดด (ດອນເດດ) กับเกาะดอนคอน (ດອນຄອນ) ซึ่งสองเกาะนี้เป็นส่วนหนึ่งของสี่พันดอน (ສີ່ພັນດອນ) หรือศรีทันดร ที่มีความหมายว่าสี่พันเกาะ ตั้งทางตอนใต้ของประเทศลาว ซึ่งปัจจุบันเกาะดอนเดดและดอนคอนนั้นขึ้นกับเมืองโขง แขวงจำปาศักดิ์ ประเทศลาว ก่อสร้างตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและทางรถไฟสายดอนเดด–ดอนคอน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานด่งเฮ้ย

ท่าอากาศยานด่งเฮ้ย (Cảng hàng không Đồng Hới) เป็นท่าอากาศยานในเมืองด่งเฮ้ย เมืองหลักของจังหวัดกว๋างบิ่ญ ประเทศเวียดนาม ใกล้แขวงคำม่วนของประเทศลาว ทางวิ่งมีขนาด 2400 x 45 เมตร สนามบินแห่งนี้สามารถจุผู้โดยสารได้ 500,000 คนต่อปี นักล่าอาณานิคมชาวฝรั่งเศสได้สร้างลานบินขึ้นที่นี่โดยยังไม่ได้ลาดยางในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เพื่อรองรับการทำสงครามอินโดจีนครั้งที่ 1 ต่อมาเวียดนามเหนือได้พัฒนาสนามบินแห่งนี้เป็นฐานทัพเพื่อใช้ขนส่งทหารและยุทโธปกรณ์ไปโจมตีเวียดนามใต้ การปรับปรุงสนามบิน (โครงสร้างปัจจุบัน) เริ่มต้นเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2547 โดยมีกำหนดเปิดใช้ในปี พ.ศ. 2549 แต่มาแล้วเสร็จและเปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 เที่ยวบินพาณิชย์เที่ยวแรกของสนามบินแห่งนี้มาจากท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่ายในกรุงฮานอย ณ ปี..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและท่าอากาศยานด่งเฮ้ย · ดูเพิ่มเติม »

ท่าเรือไซ่ง่อน

ท่าเรือไซ่ง่อน ท่าเรือไซ่ง่อน (Cảng Sài Gòn) หรือ ท่าเรือนครโฮจิมินห์ (Cảng thành phố Hồ Chí Minh) เป็นท่าเรือในนครโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม ในปี..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและท่าเรือไซ่ง่อน · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์กับต่างประเทศของลาว

วามสัมพันธ์กับต่างประเทศของลาวนั้นหลังจากที่ขบวนการปะเทดลาวขึ้นครองอำนาจ รัฐบาลสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวได้เข้าร่วมเป็นรัฐบริวารของสหภาพโซเวียตและพึ่งพาความช่วยเหลือของสหภาพโซเวียตอย่างมาก นอกจากนั้น ลาวยังมีความสัมพันธ์ที่พิเศษกับเวียดนาม และลงนามในสนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือกันใน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและความสัมพันธ์กับต่างประเทศของลาว · ดูเพิ่มเติม »

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวง.ต.ควง ถือเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งกระทรวงคมนาคมยุคใหม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการคนแรก ด้วยประสบการณ์ที่เคยรับราชการจนมีตำแหน่ง เป็นถึงอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข นอกจากนี้ยังเคย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงเกษตราธิการ และกระทรวงมหาดไทยด้ว.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและควง อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซุน ยัตเซ็น

นายแพทย์ ซุน ยัตเซ็น (12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1866 - 12 มีนาคม ค.ศ. 1925) เป็นนักปฏิวัติ และ ได้รับการกล่าวขานว่าเป็น "บิดาของชาติ" ในสาธารณรัฐจีน และ "ผู้บุกเบิกการปฏิวัติประชาธิปไตย" ในสาธารณรัฐประชาชนจีน ด้วยความเป็นผู้ริเริ่มจีนชาตินิยมคนสำคัญ ซุนมีบทบาทสำคัญในจุดประกายการโค่นล้มราชวงศ์ชิงที่ปกครองแผ่นดินจีนเป็นราชวงศ์สุดท้ายและเกือบนำประเทศไปสู่ความหายนะ ซุนได้ปลุกกระแสให้ชาวจีนหันมาตระหนักถึงความล้มเหลวของราชวงศ์ชิง กระทั่งกลายเป็นกระแสต่อต้านราชวงศ์และนำไปสู่การปฏิวัติซินไฮ่ ซึ่งเปลี่ยนประเทศจีนเป็นประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ซุนเป็นประธานาธิบดีเฉพาะกาลคนแรกเมื่อสาธารณรัฐจีนก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและซุน ยัตเซ็น · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรศาสตร์ลาว

ตลาดริมทางเท้าในหลวงพระบาง. ต่อไปนี้เป็นการบรรยายลักษณะประชากรลาว คาดว่ามีประชากรลาวประมาณ 6.48 ล้านคน ใน เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและประชากรศาสตร์ลาว · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ไทย

การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยมักเริ่มนับตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัยเป็นต้นมา หากแต่ในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบัน พบหลักฐานของมนุษย์ซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุดถึงห้าแสนปี ตลอดจนหลักฐานของอารยธรรมและรัฐโบราณเป็นจำนวนมาก ภูมิภาคสุวรรณภูมิเคยถูกชาวมอญ เขมร และมลายูปกครองมาก่อน ต่อมา คนไทยได้สถาปนาอาณาจักรของตนเอง เช่น อาณาจักรสุโขทัย ไล่เลี่ยกันกับอาณาจักรล้านนา อาณาจักรเชียงแสน และอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรสุโขทัยเจริญรุ่งเรืองในช่วงเวลาค่อนข้างสั้นประมาณ 200 ปี ก็ถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรอยุธยาเป็นอาณาจักรที่รุ่งเรืองมั่งคั่ง เป็นศูนย์กลางการค้าระดับนานาชาติ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครอง ซึ่งบางส่วนใช้สืบมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และยังทรงตราพระราชกำหนดศักดินา ทำให้อยุธยาเป็นสังคมศักดินา อยุธยาเริ่มติดต่อกับชาติตะวันตกเมื่อ..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและประวัติศาสตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516)

ประวัติศาสตร์ไทยตั้งแต..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516) · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เวียดนาม

วียดนาม เรียกชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มีเนื้อที่ทั้งหมด 337,912 ตารางกิโลเมตร มีประชากรร่วม 89 ล้านคน (พ.ศ. 2554) เมืองหลวงคือ ฮานอย ประชากรส่วนใหญ่ของชาวเวียดนาม คือ ชาวเวียดนาม มีอยู่ประมาณร้อยละ 86 นอกจากนี้ยังมีชนกลุ่มน้อยอีก ได้แก่ โท้ ไต ม้ง เขมร และอื่นๆ ภาษาราชการ คือ ภาษาเวียดนาม ส่วนภาษาอื่นๆที่นิยมใช้ คือ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาของแต่ละชนชาติ ประวัติความเป็นมาของเวียดนามสามารถสืบย้อนกลับไปได้มากกว่า 4000 ปีก่อน การค้นพบทางโบราณคดีจากปี..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและประวัติศาสตร์เวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ปอล ดูแมร์

แซ็ฟ อาตานาซ ปอล ดูเม (Joseph Athanase Paul Doumer; 22 มีนาคม พ.ศ. 2400 - 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2475) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสและผู้ว่าการอินโดจีนฝรั่ง.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและปอล ดูแมร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์ บูล

ปีแยร์-ฟร็องซัว-มารี-หลุยส์ บูล (Pierre-François-Marie-Louis Boulle) วิศวกรและนักเขียนชาวฝรั่งเศส มีชื่อเสียงจากผลงานเขียนหนังสือเรื่อง Le Pont de la Rivière Kwai (1952) และ La Planète des singes (1963) ทั้งสองเรื่องถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์เรื่อง เดอะบริดจ์ออนเดอะริเวอร์แคว (1957) และ พิภพวานร (1963) และภาพยนตร์ภาคต่อ บูลเคยเป็นช่างเทคนิคของโรงงานยางพาราของอังกฤษในมลายู เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเข้าร่วมกับกองทัพเสรีฝรั่งเศสและปฏิบัติการเป็นสายลับในสิงคโปร์ จีน พม่า และอินโดจีนของฝรั่งเศส จนกระทั่งถูกจับโดยฝ่ายวิชีฝรั่งเศสที่แม่น้ำโขง และถูกนำตัวไปเป็นเชลยศึกเพื่อใช้แรงงาน หลังสงครามโลก เขากลับไปทำงานที่มลายู จากนั้นได้เดินทางกลับปารีส และนำประสบการณ์ระหว่างตกเป็นเชลยมาเขียนนวนิยาย "Le Pont de la Rivière Kwai" เกี่ยวกับเชลยศึกทหารสัมพันธมิตรที่ถูกทหารญี่ปุ่นเกณฑ์ไปสร้างทางรถไฟสายมรณะ ซึ่งกลายเป็นนิยายติดอันดับขายดี และถูกนำไปสร้างภาพยนตร์โดยแซม สปีเกล และเดวิด ลีน ได้รับรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ประจำปี 1957.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและปีแยร์ บูล · ดูเพิ่มเติม »

นะกะมุระ อะเกะโตะ

ลโท นะกะมุระ อะเกะโตะ (11 เมษายน ค.ศ. 1889 - 12 กันยายน ค.ศ. 1966) เป็นนายทหารชาวญี่ปุ่นผู้ซึ่งเป็นผู้บัญชาการกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นประจำประเทศไทย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและนะกะมุระ อะเกะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

นางบำเรอ

ฝ่ายสัมพันธมิตรที่ย่างกุ้ง ประเทศพม่า เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2488 นางบำเรอ (comfort women) เป็นคำเรียกสตรีซึ่งถูกทหารในสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่นเอาตัวลงเป็นทาสกามารมณ์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและนางบำเรอ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงจำปาศักดิ์

ำปาศักดิ์ (ຈໍາປາສັກ) เป็นแขวงหนึ่งของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดของประเทศ ติดชายแดนประเทศไทยและกัมพูชา มีเมืองปากเซเป็นเมืองหลักของแขวง และเป็นเมืองใหญ่อันดับ 3 ของลาว (รองจากเวียงจันทน์และเมืองไกสอน พมวิหาน) ถือเป็นศูนย์กลางการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจ รวมไปถึงการท่องเที่ยวของลาวตอนใต้ เป็นบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากมีแม่น้ำโขงไหลผ่านกลางและเกิดเกาะแก่งเป็นจำนวนมากจนได้ชื่อว่า "ดินแดนสี่พันดอน" แขวงจำปาศักดิ์เป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณ เนื่องจากเป็นพื้นที่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรขอมโบราณ และเป็นที่ตั้งของอาณาจักรจำปาศักดิ์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านช้างในเวลาต่อมา แขวงจำปาศักดิ์จึงมีมรดกทางวัฒนธรรมหลงเหลืออยู่มากมาย ถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศลาว โดยเฉพาะมรดกโลกปราสาทหินวัดพู นอกจากนี้ แขวงจำปาศักดิ์ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก เช่น น้ำตกคอนพะเพ็ง น้ำตกหลี่ผี น้ำตกผาส้วม เป็นต้น.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและแขวงจำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

โคชินไชนา

อาณานิคมโคชินไชนา หรือ อาณานิคมโคชินจีน (Cochinchina; Nam Kỳ, Kampuchea Krom) เป็นบริเวณที่อยู่ทางใต้ของเวียดนามซึ่งมีเมืองสำคัญคือไซ่ง่อนหรือไพรนครในภาษาเขมร ดินแดนนี้เป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสตั้งแต..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและโคชินไชนา · ดูเพิ่มเติม »

โง ดิ่ญ เสี่ยม

ง ดิ่ญ เสี่ยม (Ngô Đình Diệm; ในอดีตนิยมทับศัพท์ว่า โง ดินห์ เดียม) เป็นประธานาธิบดีคนแรกของเวียดนามใต้ตั้งแต่วันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2498 จนกระทั่งถูกสังหารเมื่อ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและโง ดิ่ญ เสี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

โตน ดึ๊ก ทั้ง

ตน ดึ๊ก ทั้ง (20 สิงหาคม พ.ศ. 2431 - 30 มีนาคม พ.ศ. 2523) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 2 และคนสุดท้ายของเวียดนามเหนือและประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามภายใต้การปกครองของเล สวน ตำแหน่งของประธานาธิบดีเป็นตำแหน่งทางพิธีการ และทั้งไม่เคยกำหนดนโยบายที่สำคัญหรือแม้กระทั่งการเป็นสมาชิกของสภาปกครองของเวียดนาม เขาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีครั้งแรกที่เวียดนามเหนือจาก 3 กันยายน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและโตน ดึ๊ก ทั้ง · ดูเพิ่มเติม »

ไพรแวง (เมือง)

รแวง หรือ กรุงไพรแวง (ក្រុងព្រៃវែង) เป็นเมืองหลักของจังหวัดไพรแวง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศกัมพูชา เมืองนี้เป็นที่อยู่อาศัยของชาวฝรั่งเศสในยุคอินโดจีน ซึ่งสถาณที่หลายแห่งทรุดโทรมแล้ว มีทะเลสาบขนาดใหญ่ทางตะวันตกของเมือง ซึ่งโดยปกติจะแห้งตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนสิงหาคม.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและไพรแวง (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติลาว

ลงชาติลาว หรือ เพงซาดลาวในภาษาลาว (ลาว: ເພງຊາດລາວ) เป็นเพลงที่ได้รับการรับรองให้เป็นเพลงชาติของราชอาณาจักรลาวอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2490 แต่งขึ้นทั้งส่วนคำร้องฉบับแรกสุด ประพันธ์โดย มหาพูมี และ ทำนองเรียบเรียงเมื่อปี พ.ศ. 2484 โดย ดร.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและเพลงชาติลาว · ดูเพิ่มเติม »

เมืองพวน

มืองพวน (Muang Phuan) หรือเมืองพวนเชียงขวาง เป็นหัวเมืองเก่าแก่ในประเทศลาว เดิมเป็นราชอาณาจักรสำคัญราชอาณาจักรหนึ่งหนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาได้กลายเป็นส่วนหนึ่งทางตอนเหนือของประเท.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและเมืองพวน · ดูเพิ่มเติม »

เรือลาดตระเวนเบาลาม็อต-ปีเก

รือลาดตระเวนเบาลาม็อต-ปีเก (La Motte-Picquet) เป็นเรือลาดตระเวนเบาชั้นดูว์กวาย-ทรูแอ็ง (Duguay-Trouin class) ของกองทัพเรือฝรั่งเศส ที่ได้ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่พลเรือเอกเคานต์ตูแซ็ง-กีโยม ปีเก เดอ ลา ม็อต (Toussaint-Guillaume Picquet de la Motte) นายทหารเรือฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และได้ทำพิธีปล่อยเรือลงน้ำในปี พ.ศ. 2467 เรือลาม็อต-ปีเกได้จัดเป็นเรือธงในสังกัดหมวดเรือเบาที่ 3 (3rd Light Division) ประจำการอยู่ที่ฐานทัพเรือเมืองแบรสต์ ประเทศฝรั่งเศส จนถึง พ.ศ. 2476 ต่อมาจึงได้ถูกส่งมาประจำการที่อินโดจีนฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2478 เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในซีกยุโรปขึ้นใน พ.ศ. 2482 เรือลำนี้ก็ได้ใช้ออกลาดตระเวนตามชายฝั่งอินโดจีนฝรั่งเศส และหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของดัตช์ (Dutch East Indies) ภายหลังฝรั่งเศสยอมแพ้แก่เยอรมนีแล้ว ความขัดแย้งตามแนวชายแดนสยาม-ฝรั่งเศสได้ทวีความรุนแรงจนปะทุเป็นกรณีพิพาทไทย-อินโดจีนฝรั่งเศสขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2483 เมื่อถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2484 เรือลาม็อต-ปีเกจึงได้ถูกจัดให้เป็นเรือธงของกองเรือเฉพาะกิจที่ 7 ซึ่งได้ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2483 ที่อ่าวคามแรงห์ ใกล้เมืองไซ่ง่อน ภายใต้การบังคับบัญชาของนาวาเอกเรอฌี เบร็องเฌ กองเรือดังกล่าวนี้ยังประกอบด้วยเรือสลุปอีก 4 ลำ คือ เรืออามีราลชาร์เน เรือดูว์มงดูร์วีล เรือมาร์น และเรือตาอูร์ และได้ทำการรบในยุทธนาวีเกาะช้าง จนทำลายกองเรือของไทยได้ 3 ลำ แต่เรือลาม็อต-ปีเกก็ได้รับความเสียหายอย่างหนักเช่นกัน เรือลาม็อต-ปีเกเดินทางไปซ่อมบำรุงที่ไซ่ง่อน 8 เดือนให้หลังยุทธนาวีที่เกาะช้าง กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นเข้ายึดอินโดจีนจากฝรั่งเศส ญี่ปุ่นนำเรือลาม็อต-ปีเกเดินทางไปยังโอซะกะเพื่อซ่อมบำรุงเรือ เรือลาม็อต-ปีเกก็ถูกจำกัดบทบาทลงและถูกปลดอาวุธเป็นเรือฝึกของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น (อยู่กับที่) เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2484 ต่อมาจึงถูกจมโดยคิระยามาโตะ ของญี่ปุ่น ในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2245.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและเรือลาดตระเวนเบาลาม็อต-ปีเก · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงธนบุรี

รือหลวงธนบุรี เป็นเรือรบประเภทเรือปืนยามฝั่งของกองทัพเรือไทย ซึ่งมีบทบาทสำคัญในช่วงกรณีพิพาทอินโดจีน ก่อนที่ไทยเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สองอย่างเต็มตัวในปี พ.ศ. 2484.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและเรือหลวงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เรือนจำจี๊ฮหว่า

รือนจำจี๊ฮหว่า เรือนจำจี๊ฮหว่า (Khám Chí Hòa หรือ Nhà Tù Chí Hòa) เป็นเรือนจำที่ตั้งอยู่ในนครโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม เป็นเรือนจำหนึ่งในสิบสองแห่งของประเทศMitchel P. Roth, Prisons and prison systems: a global encyclopedia, page 288 Publisher: Westport, Conn.; Greenwood Press, 2006.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและเรือนจำจี๊ฮหว่า · ดูเพิ่มเติม »

เวียดมินห์

งเวียดมินห์ กองทัพประชาชนเวียดนาม หรือ เหวียดมิงห์ หรือ เวียดมินห์ (Việt Nam Độc Lập Đồng Minh Hội หรือ Việt Minh) หรือบางแหล่งก็เรียก สันนิบาตเพื่อเอกราชเวียดนาม คือ ขบวนการทางการเมือง โดยมีจุดประสงค์เพื่อปลดปล่อยเวียดนามออกจากการปกครองของฝรั่งเศส จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2484 โดยมีโฮจิมินห์เป็นผู้นำ และมีนายพลหวอ เงวียน ซ้าป เป็นผู้บัญชาการกองทัพคนแรก.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและเวียดมินห์ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเบรวีเย

้นเบรวีเย (Brévié Line) เป็นเส้นแบ่งเขตที่กำหนดในแผนที่เมื่อ..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและเส้นเบรวีเย · ดูเพิ่มเติม »

เหงียน หืว เถาะ

หงียน หืว เถาะ (10 กรกฎาคม พ.ศ. 2453 - 24 ธันวาคม พ.ศ. 2539) เป็นประธานสภาปรึกษาแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติเวียดนามใต้ตั้งแต่ 6 มิถุนายน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและเหงียน หืว เถาะ · ดูเพิ่มเติม »

เจิ่น วัน กุง

น วัน กุง เจิ่น วัน กุง (Trần Văn Cung) เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและเจิ่น วัน กุง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี

้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี ในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (พระนามเต็ม: อ็องรี มารี ฌ็อง อ็องดร์ เดอ ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา; 11 มิถุนายน พ.ศ. 2477 - 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561) สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก พระองค์ประสูติที่เมืองตาลงซ์ แคว้นกีรงด์ สาธารณรัฐฝรั่งเศส เป็นโอรสในเคาต์อ็องดร์ เดอ ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา และเรอเน ดูร์เซโน อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงมาร์เกรเธอแห่งเดนมาร์ก เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1967 ในขณะที่มีพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงผู้เป็นทายาทโดยสันนิษฐานแห่งราชบัลลังก์เดนมาร์ก.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์

้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์ (ເຈົ້າບຸນອຸ້ມ ນະ ຈຳປາສັກ; ประสูติ: 12 ธันวาคม พ.ศ. 2454 – สิ้นพระชนม์: 17 มีนาคม พ.ศ. 2523) หรือ เสด็จเจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาสัก เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์พระองค์ที่ 13 (พระองค์สุดท้าย) ทรงประสูติในราชวงศ์จำปาศักดิ์และสืบพระราชสันตติวงศ์มาจากสมเด็จพระเจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูร (เจ้าหน่อกษัตริย์) พระมหากษัตริย์ผู้ทรงสถาปนาราชอาณาจักรจำปาศักดิ์และพระมหากษัตริย์แห่งนครจำปาศักดิ์พระองค์แรกของลาว เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีแห่งรัฐบาลพระราชอาณาจักรลาว 2 สมัย อดีตผู้ตรวจการแผ่นดินต่างพระเนตรพระกรรณพระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตแห่งราชอาณาจักรลาว และประมุขแห่งราชสกุล ณ จำปาศักดิ์ และสกุล จำปา ทรงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญทางการเมืองลาวในฐานะลาวฝ่ายขวาหลังได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส จนกระทั่งสิ้นสุดสมัยพระราชอาณาจักรลาวในปี พ.ศ. 2518 ทรงได้รับการยกย่องจากประชาชนชาวลาวในฐานะที่เป็นผู้ยอมสละราชบัลลังก์พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรจำปาศักดิ์ เพื่อให้ประเทศลาวรวมเป็นแผ่นดินเดียวกัน และทรงดำรงพระอิสริยยศแห่งราชวงศ์สูงเป็นลำดับที่ 3 ของพระราชอาณาจักร รองจากพระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตและสมเด็จเจ้าฟ้าองค์มกุฎราชกุมาร.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและเจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)

้าพระยาวงศานุประพัทธ์ เมื่อ พ.ศ. 2465 ภาพล้อเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ ฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 6 ทรงวาดจากภาพต้นฉบับด้านบน มหาอำมาตย์เอก พลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (นามเดิม:หม่อมราชวงศ์สท้าน หรือ หม่อมราชวงศ์กลาง) (24 มิถุนายน พ.ศ. 2409 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2483) อดีตเสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ (พ.ศ. 2452 – 2455) และกระทรวงคมนาคม ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว องคมนตรีในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระอัยกา (ตา) ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระปัยกา (ทวด) ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รวมทั้งเคยเป็นข้าหลวงใหญ่ปักปันเขตแดนบริเวณตอนเหนือของสยามกับหลวงพระบางในแคว้นอินโดจีนของฝรั่งเศส ระหว่าง พ.ศ. 2447 - พ.ศ. 2450.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์)

้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์) หรือ เสด็จเจ้าย่ำขะหม่อมยุติธรรมธร ดำรงพระยศเดิมเป็นที่ เจ้าราชดนัยแห่งนครจำปาศักดิ์ (พ.ศ. 2440 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2489) เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์พระองค์ที่ 12 และผู้ว่าราชการเมืองจำปาศักดิ์ในสมัยที่ลาวตกเป็นอาณานิคมของฝรั่ง.

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและเจ้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์) · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองพระตะบอง

ทศบาลเมืองพระตะบอง (Phra Tabong Town Municipality) เป็นอดีตเขตการปกครองท้องถิ่นระดับเทศบาลเมืองของประเทศไทย ในจังหวัดพระตะบอง โดยเทศบาลเมืองพระตะบองจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและเทศบาลเมืองพระตะบอง · ดูเพิ่มเติม »

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522 เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความสำเร็จเชิงอำนาจของพรรคการเมืองลัทธิคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา” (Communist Party of Kampuchea; Parti communiste du Kampuchéa – PCK) และ “พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย” (Parti du Kampuchéa démocratique) รูปแบบการปกครองของเขมรแดงมีจุดประสงค์เพื่อสร้าง "สังคมใหม่" โดยใช้รากฐานทางอุดมการณ์ที่เรียกว่า "อุดมการณ์ปฏิวัติแบบเบ็ดเสร็จ" (idéologie de révolution totale) ที่มีการรักษาเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ เป็นตัวขับเคลื่อน สิ่งแรกที่เขมรแดงกระทำหลังจากได้รับอำนาจ คือ การกวาดต้อนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดจากกรุงพนมเปญและเมืองสำคัญอื่น ๆ มาบังคับให้ทำการเกษตรและใช้แรงงานร่วมกันในพื้นที่ชนบท เพื่อจำแนกประชาชนที่ถือว่าเป็น "ศัตรูทางชนชั้น" ไม่ว่าจะเป็น ทหาร ข้าราชการ เชื้อพระวงศ์ ผู้มีการศึกษา หรือผู้มีวิชาชีพเฉพาะในด้านต่าง ๆ ออกมาเพื่อขจัดทิ้ง การกระทำดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ประชาชนชาวกัมพูชาต้องเสียชีวิตจากการถูกสังหาร ถูกบังคับใช้แรงงาน และความอดอยาก เป็นจำนวนประมาณ 850,000 ถึง 3 ล้านคน ซึ่งเมื่อเทียบอัตราส่วนของประชาชนที่เสียชีวิตต่อจำนวนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดในขณะนั้น (ประมาณ 7.5 ล้านคน ใน พ.ศ. 2518) ถือได้ว่าระบอบการปกครองของเขมรแดงเป็นหนึ่งในระบอบที่มีความรุนแรงที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขมรแดงปกครองกัมพูชาเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและเขมรแดง · ดูเพิ่มเติม »

เดียน เดล

นายพลเดียน เดล (Dien Del) เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและเดียน เดล · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องอิสริยยศพระราชาณาจักรกัมพูชา

รื่องอิสริยยศพระราชาณาจักรกัมพูชา (គ្រឿងឥស្សរិយយសព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា เคฺรืองอิสฺสริยยสพฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา, Ordre royal du Cambodge; เทียบเป็นคำภาษาไทยคือ "เครื่องราชอิสริยาภรณ์พระราชอาณาจักรกัมพูชา") เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งชาติของราชอาณาจักรกัมพูชา สถาปนาครั้งแรกเมื่อวันที่ 8 กุมภาพัน..

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและเครื่องอิสริยยศพระราชาณาจักรกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

5 มกราคม

วันที่ 5 มกราคม เป็นวันที่ 5 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 360 วันในปีนั้น (361 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: อินโดจีนของฝรั่งเศสและ5 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สหภาพอินโดจีนอินโดจีนฝรั่งเศส

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »