เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

อำเภอเวียงสา

ดัชนี อำเภอเวียงสา

วียงสา (40px) เป็นอำเภอศูนย์กลางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของจังหวัดน่านตอนใต้.

สารบัญ

  1. 61 ความสัมพันธ์: ชลน่าน ศรีแก้วพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ. 2531พระครูอินทสรวิสุทธิ์ (อินสม อินฺทสโร)กลุ่มรอยเลื่อนในประเทศไทยการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2555มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์รายชื่อวัดในจังหวัดน่านรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดน่านรายการรหัสไปรษณีย์ไทยลำน้ำว้าล้านนาไท 57 เมืองวิทยาลัยน่าน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่านหมู่บ้านเมืองรามอำเภอบ้านหลวงอำเภอภูเพียงอำเภอร้องกวางอำเภอสองอำเภอนาน้อยอำเภอแม่จริมอำเภอเมืองน่านอุทยานแห่งชาติแม่จริมอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยจังหวัดน่านทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 101ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1026ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117ทิวเขาหลวงพระบางตำบลบ่อสวกตำบลบ้านฟ้าตำบลกลางเวียงตำบลกองควายตำบลยาบหัวนาตำบลศรีษะเกษตำบลสวดตำบลสะเนียนตำบลส้านตำบลอ่ายนาไลยตำบลขึ่งตำบลตาลชุมตำบลตาลชุม (อำเภอเวียงสา)ตำบลนาซาวตำบลนาปังตำบลนาเหลืองตำบลน้ำพางตำบลน้ำมวบตำบลน้ำตก (อำเภอนาน้อย)ตำบลน้ำปั้วตำบลน้ำปายตำบลน้ำแก่น... ขยายดัชนี (11 มากกว่า) »

ชลน่าน ศรีแก้ว

นายแพทย์ชลน่าน ศรีแก้ว เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดน่าน เขต 2 สังกัดพรรคเพื่อไทย เคยได้รับการยกย่องเป็น "ดาวเด่นสภาฯ" จากการตั้งฉายานักการเมือง ของสื่อมวลชนประจำปี พ.ศ.

ดู อำเภอเวียงสาและชลน่าน ศรีแก้ว

พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ. 2531

การทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุประทาน ถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ในรัชกาลที่ 9 เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้น เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานยิ่งกว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ไทยที่เคยทรงครองราชย์ยาวนานที่สุด นับตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.

ดู อำเภอเวียงสาและพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ. 2531

พระครูอินทสรวิสุทธิ์ (อินสม อินฺทสโร)

ระครูอินทสรวิสุทธิ์ (ครูบาอินสม) คือ เป็นพระเถระองค์สำคัญของตำบลนาเหลืองที่มีลูกศิษย์มากมาย ซึ่งท่านได้มรณภาพเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน..

ดู อำเภอเวียงสาและพระครูอินทสรวิสุทธิ์ (อินสม อินฺทสโร)

กลุ่มรอยเลื่อนในประเทศไทย

แนวรอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทย โดยกรมทรัพยากรธรณี (พ.ศ. 2555) กลุ่มรอยเลื่อนในประเทศไทย สำหรับประเทศไทยมีการจัดกลุ่มรอยเลื่อนที่สำคัญไว้สามกลุ่ม ตามทิศทางการวางตัวและการเคลื่อนที.

ดู อำเภอเวียงสาและกลุ่มรอยเลื่อนในประเทศไทย

การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2555

การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไท..

ดู อำเภอเวียงสาและการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2555

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (Uttaradit Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกและเพียงแห่งเดียวที่ตั้งอยู่ในจังหวัดอุตรดิตถ์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.

ดู อำเภอเวียงสาและมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

รายชื่อวัดในจังหวัดน่าน

รายชื่อวัดในจังหวัดน่าน.

ดู อำเภอเวียงสาและรายชื่อวัดในจังหวัดน่าน

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดน่าน

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดน่าน.

ดู อำเภอเวียงสาและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดน่าน

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย

นี่คือรายชื่อรหัสไปรษณีย์ไทยเรียงตามจังหวั.

ดู อำเภอเวียงสาและรายการรหัสไปรษณีย์ไทย

ลำน้ำว้า

ลำน้ำว้า ไหลผ่านอุทยานแห่งชาติแม่จริม ลำน้ำว้า หรือ แม่น้ำว้า มีต้นกำเนิดมาจากเทือกเขาบริเวณพื้นที่หมู่บ้านน้ำว้า ตำบลบ่อเกลือเหนือ อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ไหลลัดเลาะผ่านพื้นที่ อำเภอสันติสุข อำเภอแม่จริม จนไปบรรจบกับแม่น้ำน่านที่ อำเภอเวียงสา ณ บริเวณพึ้นที่รอยต่อสามตำบลของอำเภอเวียงสา อันได้แก่ ตำบลไหล่น่าน ตำบลขึ่ง และ ตำบลกลางเวียง ชึ่งคนท้องถิ่นเรียกกันว่า "สบว้า" รวมระยะทางกว่า 300 กิโลเมตร โดยได้ไหลผ่านอุทยานแห่งชาติในจังหวัดน่าน รวม 3 แห่ง ได้แก่ อุทยานแห่งชาติขุนน่าน อุทยานแห่งชาติดอยภูคา และอุทยานแห่งชาติแม่จริม ลำน้ำว้าแบ่งออกเป็น 3 ตอน คือ น้ำว้าตอนบน น้ำว้าตอนกลาง และน้ำว้าตอนล่าง ซึ่งนักท่องเที่ยวนิยมมาผจญภัยในรูปแบบการล่องแก่ง.

ดู อำเภอเวียงสาและลำน้ำว้า

ล้านนาไท 57 เมือง

ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึง ล้านนาไท 57 เมือง ในฐานะหัวเมืองเหนือที่อยู่ใต้การปกครองของพระเจ้ากาวิละ แต่ก็ไม่ได้ระบุว่ามีเมืองใดบ้าง ปัจจุบันมีหลักฐานที่พม่านำไปจากเชียงใหม่ในสมัยที่พม่าปกครองเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ.

ดู อำเภอเวียงสาและล้านนาไท 57 เมือง

วิทยาลัยน่าน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

วิทยาลัยน่าน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (Nan College, Uttaradit Rajabhat University) เป็น วิทยาลัย สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ภายใต้ความร่วมมือของภาคีเครือข่าย เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของประชาชน บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.

ดู อำเภอเวียงสาและวิทยาลัยน่าน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ดู อำเภอเวียงสาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน

หมู่บ้านเมืองราม

้านเมืองราม หมู่ที่ 4 ตำบลนาเหลือง อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน เป็นหมู่บ้านเก่าแก่ที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ และยังเป็นแหล่งเรียนรู้การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ที่สำคัญของอำเภอ เพราะอยู่ตอนกลางของตำบลจึงเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการศึกษาระดับประถมศึกษา แต่เดิมก็เคยเป็นที่ตั้งอบต.นาเหลืองอีกด้ว.

ดู อำเภอเวียงสาและหมู่บ้านเมืองราม

อำเภอบ้านหลวง

้านหลวง (50px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดน่าน.

ดู อำเภอเวียงสาและอำเภอบ้านหลวง

อำเภอภูเพียง

ูเพียง (40px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดน่าน.

ดู อำเภอเวียงสาและอำเภอภูเพียง

อำเภอร้องกวาง

อำเภอร้องกวาง (40px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแพร.

ดู อำเภอเวียงสาและอำเภอร้องกวาง

อำเภอสอง

อำเภอสอง (30px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแพร.

ดู อำเภอเวียงสาและอำเภอสอง

อำเภอนาน้อย

นาน้อย (40px) ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดน่าน เป็นเมืองที่รองรับการขยายตัวเศรษฐกิจของจังหวัดน่านตอนใต้.

ดู อำเภอเวียงสาและอำเภอนาน้อย

อำเภอแม่จริม

อำเภอแม่จริม (40px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดน่าน.

ดู อำเภอเวียงสาและอำเภอแม่จริม

อำเภอเมืองน่าน

มืองน่าน (40px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดน่าน.

ดู อำเภอเวียงสาและอำเภอเมืองน่าน

อุทยานแห่งชาติแม่จริม

อุทยานแห่งชาติแม่จริม ตั้งอยู่ในท้องที่ของอำเภอแม่จริมและอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 106 ของประเทศไทย เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม..

ดู อำเภอเวียงสาและอุทยานแห่งชาติแม่จริม

อุทยานแห่งชาติในประเทศไทย

น้ำตกเหวสุวัต อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติในประเทศไทย เกิดขึ้นจากพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาต..

ดู อำเภอเวียงสาและอุทยานแห่งชาติในประเทศไทย

จังหวัดน่าน

ังหวัดน่าน (15px) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของภาคเหนือ เป็นที่ตั้งของเมืองที่สำคัญในอดีต อาทิ เมืองวรนคร เวียงศีรษะเกษ อีกทั้งยังเป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำที่สำคัญของแม่น้ำน่าน.

ดู อำเภอเวียงสาและจังหวัดน่าน

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 101

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 101 สายกำแพงเพชร–จุดผ่านแดนถาวรห้วยโก๋น/น้ำเงิน (เขตแดนไทย/ลาว) เป็นเส้นทางที่เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดในภาคกลางกับจังหวัดในภาคเหนือด้านตะวันออก มีปลายทางทิศใต้บนถนนพหลโยธิน ในตำบลนครชุม อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร และมีปลายทางทิศเหนือที่จุดผ่านแดนถาวรบ้านห้วยโก๋น ในตำบลห้วยโก๋น อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน เชื่อมต่อกับบ้านน้ำเงิน เมืองเงิน แขวงไชยบุรี ประเทศลาว ระยะทางรวม 505.853 กิโลเมตร และในช่วงเด่นชัย ถึงจุดผ่านแดนถาวรบ้านห้วยโก๋น เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 13.

ดู อำเภอเวียงสาและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 101

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1026

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1026 (แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 101 อำเภอเวียงสา-ปากนาย) เป็นทางหลวงแผ่นดินระหว่างอำเภอเวียงสา ถึงอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน มีความยาวประมาณ 76 กิโลเมตร.

ดู อำเภอเวียงสาและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1026

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117 สายนครสวรรค์ – บ้านม่วงเจ็ดต้น (รวมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1325, 1104 และ 1047 สายคลองเมม – ม่วงเจ็ดต้น) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหลักที่เชื่อมการขนส่งจราจรระหว่างจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิจิตร และจังหวัดพิษณุโลก และเป็นทางหลวงสายรองในช่วงจังหวัดพิษณุโลกถึงจังหวัดอุตรดิตถ์ รวมระยะทางตลอดทั้งสาย 396.784 กิโลเมตร.

ดู อำเภอเวียงสาและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117

ทิวเขาหลวงพระบาง

ทิวเขาหลวงพระบาง แผนที่ทิวเขาหลวงพระบาง ทิวเขาหลวงพระบาง เป็นทิวเขาหินแกรนิต เริ่มจากบริเวณลำน้ำโขงทางเหนือ ทอดตัวเป็นแนวมาทางใต้จนถึงตะวันตกของอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย และทางเหนือของอำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเป็นบริเวณที่เชื่อมต่อกับทิวเขาเพชรบูรณ์ในภาคกลาง มีอาณาบริเวณกว้างขวาง อยู่ระหว่างแม่น้ำน่าน และแม่น้ำโขง กว้างประมาณ 50-100 กิโลเมตร ยาวประมาณ 250 กิโลเมตร ทางแถบตอนเหนือของทิวเขานี้ เป็นตอนที่บังคับให้แม่น้ำโขงไหลวกไปทางตะวันออก เข้าไปในประเทศลาว ยอดเขาที่สูงและมีชื่อเป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ ภูหวายซ่อมใหญ่ สูงประมาณ 1,801 เมตร อยู่ทางเหนือสุด มีแม่น้ำโขงล้อมอยู่สามด้าน, ดอยน้ำหงส์ มีความสูง 1,478 เมตร, ภูสามเส้า มีความสูง 2,061 เมตร, ภูหลวงพระบาง สูง 2,059 เมตร อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอปัว จังหวัดน่าน เป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำว้า ซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำน่าน, ภูยี สูง 1,630 เมตร อยู่ทางทิศตะวันตกของอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน, ภูหลักหมื่น สูง 1,478 เมตร อยู่ริมแม่น้ำน่าน ทางทิศตะวันออกของอำเภอนาน้อย, ดอยภูคา สูง 1,980 เมตร ในหลายพื้นที่ของจังหวัดน่าน, ภูเมี่ยง สูง 2,300 เมตร อยู่ในเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ และภูสอยดาว มีความสูง 2,120 เมตร อยู่ในเขตระหว่างจังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดอุตรดิตถ์ ทิวเขาหลวงพระบางเป็นทิวเขาแบ่งเขตมาแต่สมัยโบราณ ปัจจุบันใช้เป็นพรมแดนระหว่างไทยกับลาวในภาคเหนือ.

ดู อำเภอเวียงสาและทิวเขาหลวงพระบาง

ตำบลบ่อสวก

ตำบลสวก เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของตัวอำเภอ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลบ่อสวก

ตำบลบ้านฟ้า

ตำบลบ้านฟ้า เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลบ้านฟ้า

ตำบลกลางเวียง

ตำบลกลางเวียง เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ตั้งอยู่บริเวณกึ่งกลางของพื้นที่อำเภอ เป็นศูนย์กลางความเจริญและที่ตั้งของสถานที่ราชการต่าง ๆ ของอำเภอเวียง.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลกลางเวียง

ตำบลกองควาย

ตำบลกองควาย เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน ตั้งอยู่ทางทิศใต้สุดของตัวอำเภอ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลกองควาย

ตำบลยาบหัวนา

ตำบลยาบหัวนา เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ตั้งอยู่บริเวณทิศตะวันตกสุดของอำเภอ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลยาบหัวนา

ตำบลศรีษะเกษ

ตำบลศรีษะเกษ เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ตั้งอยู่บริเวณตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอนาน้อ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลศรีษะเกษ

ตำบลสวด

ตำบลสวด เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน ตั้งอยู่ทางตอนกลางของอำเภอ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลสวด

ตำบลสะเนียน

ตำบลสะเนียน เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกสุดของตัวอำเภอ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลสะเนียน

ตำบลส้าน

ตำบลส้าน เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายแม่น้ำน่านทางทิศใต้ของตัวอำเภอ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลส้าน

ตำบลอ่ายนาไลย

ตำบลอ่ายนาไลย เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของตัวอำเภอ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลอ่ายนาไลย

ตำบลขึ่ง

ตำบลกลางขึ่ง เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของตัวอำเภอบนฝั่งซ้ายแม่น้ำน่าน.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลขึ่ง

ตำบลตาลชุม

ตำบลตาลชุม อาจหมายถึง.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลตาลชุม

ตำบลตาลชุม (อำเภอเวียงสา)

ตำบลตาลชุม เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของตัวอำเภอบนฝั่งซ้ายแม่น้ำน่าน ตำบลตาลชุมเป็นตำบลเก่าแก่ ตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลตาลชุม (อำเภอเวียงสา)

ตำบลนาซาว

ตำบลนาซาว เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของตัวอำเภอ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลนาซาว

ตำบลนาปัง

ตำบลนาปัง เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ตั้งอยู่บริเวณทิศใต้ของอำเภอ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลนาปัง

ตำบลนาเหลือง

ตำบลนาเหลือง เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลนาเหลือง

ตำบลน้ำพาง

ตำบลน้ำพาง เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน ตั้งอยู่บริเวณทิศตะวันออกของอำเภอ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลน้ำพาง

ตำบลน้ำมวบ

ตำบลน้ำมวบ เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของตัวอำเภอ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลน้ำมวบ

ตำบลน้ำตก (อำเภอนาน้อย)

ตำบลน้ำตก เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอำเภอนาน้อ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลน้ำตก (อำเภอนาน้อย)

ตำบลน้ำปั้ว

ตำบลน้ำปั้ว เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ตั้งอยู่บริเวณตอนเหนือของอำเภอ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลน้ำปั้ว

ตำบลน้ำปาย

ตำบลน้ำปาย เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน ตั้งอยู่บริเวณทิศใต้สุดของอำเภอ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลน้ำปาย

ตำบลน้ำแก่น

ตำบลน้ำแก่น เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ตั้งอยู่บริเวณทิศใต้ของอำเภอ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลน้ำแก่น

ตำบลไหล่น่าน

ตำบลไหล่น่าน เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของตัวอำเภอบนฝั่งซ้ายแม่น้ำน่าน.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลไหล่น่าน

ตำบลเรือง

ตำบลเรือง เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของตัวอำเภอ.

ดู อำเภอเวียงสาและตำบลเรือง

แม่น้ำน่าน

แม่น้ำน่าน (30px) มีต้นกำเนิดอยู่ในเทือกเขาหลวงพระบาง จังหวัดน่าน มีความยาวตลอดลำน้ำ 740 กิโลเมตร ซึ่งยาวที่สุด ในบรรดาแควต้นน้ำเจ้าพระยาด้วยกัน นับเป็นหนึ่งในแม่น้ำสายหลักในภาคเหนือและภาคกลางของไทย โดยได้ไหลย้อนขึ้นไปท่วมจังหวัดเชียงใหม่อยู่เสมอ.

ดู อำเภอเวียงสาและแม่น้ำน่าน

โรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก

ตำบลน้ำมวบ ได้ยกที่ดินสาธารณประโยชน์ของตำบลให้เป็นที่ของโรงเรียน รวมพื้นที่ 50 ไร่ 5 ตารางวา โรงเรียน สาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก เดิมเป็นหน่วยเคลื่อนที่ของโรงเรียนสา ซึ่งจัดตั้งในปีการศึกษา 2528 โดยใช้หอประชุมโรงเรียน บ้านน้ำมวบ เป็นห้องเรียน -ปีพุทธศักราช 2529 เจ้าตำบลน้ำมวบ พระครูไพโรจน์สาธุกิจ ได้นำประชาชนทั้งสองตำบล จัดสร้างอาคารเรียนชั่วคราว มุงหญ้าคาให้ 1 หลัง และ ดร.เอกวิทย์ ณ ถลาง อธิบดีกรมสามัญศึกษา ได้ยกโรงเรียนเป็นโรงเรียนสาขาของโรงเรียนสา -ปีการศึกษา 2531 นายมารุต บุญนาค รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และนายพนอม แก้วกำเนิด อธิบดีกรมสามัญศึกษา ได้ประกาศจัดตั้งโรงเรียนเอกเทศ และให้ชื่อว่า โรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2531 โดยให้โรงเรียนเข้าร่วมอยู่ในโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา ของกรมสามัญศึกษา (ค.อ.มต.สศ.) โดยมี นายประพันธ์ พันธุปาล ผู้อำนวยการโรงเรียนสา ปฏิบัติหน้าที่ผู้บริหารคนแรก -เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2531 กรมสามัญศึกษา ได้แต่งตั้ง นายจรูญ วรรณวิไลย อาจารย์ 2 โรงเรียนปัว ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะ ผู้บริหารโรงเรียน และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งครูใหญ่ -เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2531 พลเอกมานะ รัตนโกเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศเปลี่ยนชื่อโรงเรียน เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ ในวโรกาสพระราชมังคลาภิเษก เป็น โรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก -เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2535 กรมสามัญศึกษา ได้แต่งตั้งนายรังสรรค์ จันทร์เจนจบ ตำแหน่งครูใหญ่ โรงเรียนเมืองลีประชาสามัคคี มารักษาการ ในตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ โรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก และได้แต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการโรงเรียน สาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก ในปี 2542 -เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2543 กรมสามัญศึกษาได้แต่งตั้งให้ นายปัญญา บุญมาก ตำแหน่งอาจารย์ใหญ่โรงเรียนเมืองลีประชาสามัคคี มารักษาการในตำแหน่งอาจารย์ใหญ่โรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก และเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2544 กรมสามัญศึกษา ได้แต่งตั้งให้นายวิเชียร บรรลือ ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนสูงเม่นชนูปถัมภ์ มาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ -เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2546 สำนักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แต่งตั้งให้ นายสมพร วัลลิยะเมธี ผู้ช่วยผู้อำนวยการ โรงเรียนน้ำปาดชนูปถัมภ์ มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์รัชมังคลาภิเษก จนถึงวันที่ 9 มกราคม 2549 -เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2549 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แต่งตั้งให้ นายสมบูรณ์ สุนทร ผู้อำนวยการโรงเรียน บ้านฝั่งหมิ่น มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก -เมื่อวันที่ กุมภาพันธ์ 2552 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาน่าน เขต 1 ได้แต่งตั้งให้ นายศิลป์ชัย ทัศณีวรรณ์ ผู้อำนวยการโรงเรียน บ้านน้ำปาย อำเภอแม่จริม มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก จนถึงปัจจุบัน.

ดู อำเภอเวียงสาและโรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก

โรงเรียนไทยรัฐวิทยา

รงเรียนไทยรัฐวิทยา เป็นโรงเรียนรัฐบาล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กรมสามัญศึกษา) อยู่ภายใต้การอุปถัมภ์ของ มูลนิธิไทยรั.

ดู อำเภอเวียงสาและโรงเรียนไทยรัฐวิทยา

เวียง

แผนที่เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า ที่มีรูปลักษณะเป็น'''เวียง''' เวียง คือ กำแพงหรือฮั่วบริเวณเมืองที่ถูกล้อมรอบไปด้วยคูน้ำ และ กำแพง หรือเมืองในสมัยก่อนเชียงแสนจนถึงล้านนา ส่วนมากจะถูกใช้เรียกในภาคเหนือและประเทศเพื่อนบ้าน นอกจากนี้ เวียง ยังเป็นหนึ่งในจตุสดมภ์ ชึ่งหมายถึง เมือง ซึ่งมีขุนเวียงเป็นผู้ดูแล สำหรับเวียงโบราณนั้นมีหลายแห่ง เช่น.

ดู อำเภอเวียงสาและเวียง

เจ้าลัดดา อรุณสิทธิ์

้าลัดดา อรุณสิทธิ์ (นามเดิม: เจ้าหมัดคำ ณ น่าน; เกิด: 9 ตุลาคม พ.ศ. 2472) เป็นธิดาในเจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้าผู้ครองนครน่าน เกิดแต่เจ้าศรีคำ ณ น่าน ทั้งนี้เจ้าลัดดา อรุณสิทธิ์ ถือเป็นธิดาคนสุดท้ายในเจ้ามหาพรหมสุรธาดาที่ยังมีชีวิตอยู่ ปัจจุบันพำนักอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่กับบุตร-.

ดู อำเภอเวียงสาและเจ้าลัดดา อรุณสิทธิ์

เทศบาลตำบลกลางเวียง

ทศบาลตำบลกลางเวียง เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลตำบล ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน มีพื้นที่ครอบคลุม 2 ตำบล คือ ตำบลกลางเวียง (ยกเว้นหมู่ 3 และหมู่ 4) และตำบลปงสนุกทั้งตำบล.

ดู อำเภอเวียงสาและเทศบาลตำบลกลางเวียง

เทศบาลตำบลกองควาย

ทศบาลตำบลกองควาย เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลตำบล ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน มีพื้นที่ครอบคลุมตำบลกองควายทั้งตำบล.

ดู อำเภอเวียงสาและเทศบาลตำบลกองควาย

เทศบาลตำบลเวียงสา

ทศบาลตำบลเวียงสา เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลตำบล ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน มีพื้นที่ครอบคลุม 2 หมู่บ้าน ของตำบลกลางเวียง.

ดู อำเภอเวียงสาและเทศบาลตำบลเวียงสา

เขตพื้นที่การศึกษา

ตพื้นที่การศึกษา (Educational Service Area) เป็นระบบการจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาการปกครองที่จัดแบ่งโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อจัดระบบและกระจายอำนาจการจัดการศึกษาในประเทศไทยให้ครอบคลุมมากขึ้น เดิมมีสำนักงานประจำแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ใช้ชื่อว่า "สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษ..." (สพท.) และต่อมาได้มีการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาออกเป็น 2 ระดับ คือ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา โดยจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้.

ดู อำเภอเวียงสาและเขตพื้นที่การศึกษา

หรือที่รู้จักกันในชื่อ อ.เวียงสา

ตำบลไหล่น่านตำบลเรืองแม่น้ำน่านโรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษกโรงเรียนไทยรัฐวิทยาเวียงเจ้าลัดดา อรุณสิทธิ์เทศบาลตำบลกลางเวียงเทศบาลตำบลกองควายเทศบาลตำบลเวียงสาเขตพื้นที่การศึกษา