เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

อำเภอเมืองอ่างทอง

ดัชนี อำเภอเมืองอ่างทอง

อำเภอเมืองอ่างทอง เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การบริหาร เศรษฐกิจ และการศึกษาของจังหวัดอ่างทอง.

สารบัญ

  1. 27 ความสัมพันธ์: บางแก้วมหาดไทยรายชื่อวัดในจังหวัดอ่างทองรายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยารายชื่อทางแยกในจังหวัดอ่างทองรายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดอ่างทองรายชื่อเทศบาลตำบลในประเทศไทยรายการรหัสไปรษณีย์ไทยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทองออมสิน (เต่า)อำเภอมหาราชอำเภอวิเศษชัยชาญอำเภอป่าโมกอำเภอโพธิ์ทองอำเภอไชโยอ่างทอง (แก้ความกำกวม)จังหวัดอ่างทองจิ๋ว พิจิตรทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 309ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3195ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 334คลองมหาราชเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู)เทศบาลเมืองเทศบาลเมืองอ่างทอง

บางแก้ว

งแก้ว อาจหมายถึง.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและบางแก้ว

มหาดไทย

มหาดไทย อาจหมายถึง.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและมหาดไทย

รายชื่อวัดในจังหวัดอ่างทอง

รายชื่อวัดในจังหวัดอ่างทอง.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและรายชื่อวัดในจังหวัดอ่างทอง

รายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา

รายชื่อสะพานข้ามหรืออุโมงค์ลอดแม่น้ำเจ้าพระยา เรียงลำดับจากเหนือน้ำไปท้ายน้ำ.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและรายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา

รายชื่อทางแยกในจังหวัดอ่างทอง

หมวดหมู่:จราจร อ่างทอง.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและรายชื่อทางแยกในจังหวัดอ่างทอง

รายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ

รงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ คือขนาดโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐที่กำหนดขึ้นโดยกรมสามัญศึกษาเดิม (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.) โดยกำหนดโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีจำนวนนักเรียนมากกว่า 2,501 คนขึ้นไป ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ปริมณฑลและโรงเรียนประจำจังหวัด ทั้งนี้ ไม่รวมโรงเรียนในสังกัดอื่น ๆ เช่น สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (โรงเรียนเทศบาล), สังกัดมหาวิทยาลัย (โรงเรียนสาธิต), โรงเรียนเอกชน เป็นต้น ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษแบ่งตามภาค ตามจำนวนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ไม่นับ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จังหวัดนครปฐม โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดสกลนคร ซึ่งมีเฉพาะนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและรายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดอ่างทอง

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดอ่างทอง.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดอ่างทอง

รายชื่อเทศบาลตำบลในประเทศไทย

ทศบาลตำบล เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดเล็ก โดยทั่วไปเทศบาลตำบลมีฐานะเดิมเป็นสุขาภิบาลหรือองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) การจัดตั้งเทศบาลตำบลกระทำโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะท้องถิ่นขึ้นเป็นเทศบาลตำบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและรายชื่อเทศบาลตำบลในประเทศไทย

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย

นี่คือรายชื่อรหัสไปรษณีย์ไทยเรียงตามจังหวั.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและรายการรหัสไปรษณีย์ไทย

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง

ออมสิน (เต่า)

ออมสิน คือ เต่าตนุ เพศเมีย อายุประมาณ 25 ปี ที่ป่วยจากการกลืนเหรียญเข้าไปเป็นจำนวนมากถึง 915 เหรียญ เดิมอาศัยอยู่ในบ่อเลี้ยงในอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ต่อมาถูกนำตัวมารักษาที่โรงพยาบาลสัตว์เล็ก คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แม้การผ่าตัดจะผ่านพ้นไปได้ด้วยดี แต่ในท้ายที่สุดออมสินได้ตายลงเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2560 ด้วยอาการกระแสเลือดเป็นพิษจากโลหะหนัก.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและออมสิน (เต่า)

อำเภอมหาราช

มหาราช เป็นอำเภอหนึ่งใน 16 อำเภอของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ อำเภอนครใหญ่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและอำเภอมหาราช

อำเภอวิเศษชัยชาญ

อำเภอวิเศษชัยชาญ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง เดิมชื่อ อำเภอวิเศษไชยชาญ และก่อนหน้านั้น ชื่อ อำเภอไผ่จำศีล.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและอำเภอวิเศษชัยชาญ

อำเภอป่าโมก

อำเภอป่าโมก เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและอำเภอป่าโมก

อำเภอโพธิ์ทอง

อำเภอโพธิ์ทอง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและอำเภอโพธิ์ทอง

อำเภอไชโย

อำเภอไชโย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอ่างทอง.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและอำเภอไชโย

อ่างทอง (แก้ความกำกวม)

อ่างทอง อาจหมายถึง.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและอ่างทอง (แก้ความกำกวม)

จังหวัดอ่างทอง

ังหวัดอ่างทอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นจังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตหัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น ตุ๊กตาชาววัง งานจักสาน เป็นต้น.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและจังหวัดอ่างทอง

จิ๋ว พิจิตร

๋ว พิจิตร (16 กรกฎาคม พ.ศ. 2466 - 18 ตุลาคม พ.ศ. 2553) นักแต่งเพลงชาวไทย ที่มีผลงานมีชื่อเสียงจำนวนมาก รวมทั้งเพลงแหล่ และเพลงบวชนาค เจ้าของฉายาปรมาจารย์เพลงแหล่ จิ๋ว พิจิตร มีชื่อจริงคือ ดิเรก เกศรีระคุปต์ เกิดที่ตำบลบางแก้ว อำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง เป็นบุตรของ นายเปรื้อง และ นางสงวน เกศีระคุปต์ มีพี่น้องด้วยกัน 6 คน โดยจิ๋วเป็นคนโต สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่โรงเรียนปัทมโรจน์ราษฎร์บำรุง อำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง จากนั้นจึงเป็นครูประชาบาลเพียงปีกว่าๆ ก็ลาออก สมัยเป็นครูสอนหนังสือเคยแต่งเพลงเชียร์กีฬาประจำโรงเรียนไว้มากมาย และยังเคยร้องเพลงประกวดตามงานวัดในจังหวัดอ่างทองและจังหวัดใกล้เคียง ได้รับรางวัลชนะเลิศมาหลายครั้ง จิ๋ว พิจิตร ได้คลุกคลีอยู่กับคณะละคร.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและจิ๋ว พิจิตร

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 309

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 309 สายวังน้อย–สิงห์บุรี เป็นถนนสายหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดอ่างทอง และจังหวัดสิงห์บุรี ระยะทางรวม 96.968 กิโลเมตร โดยลักษณะเส้นทางเป็นถนนขนาด 2-4 ช่องจราจร บางช่วงขนานไปกับแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นถนนสายเก่าที่เป็นเส้นทางคมนาคมจากกรุงเทพมหานครไปยังจังหวัดภาคกลางทั้งสามจังหวัด ก่อนที่จะมีถนนสายเอเชียในเวลาต่อม.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 309

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3195

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3195 สายสุพรรณบุรี–ป่างิ้ว เป็นส่วนหนึ่งของถนนที่รู้จักกันทั่วไปว่า ถนนโพธิ์พระยา–ท่าเรือ เป็นทางหลวงแผ่นดินขนาด 4 ช่องจราจร ระยะทาง 33.357 กิโลเมตร เริ่มกิโลเมตรที่ 0 บริเวณทางแยกโพธิ์พระยา ตำบลโพธิ์พระยา อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี มุ่งหน้าไปทางตะวันออก เข้าสู่จังหวัดอ่างทอง ผ่านอำเภอสามโก้ ผ่านอำเภอวิเศษชัยชาญ โรงพยาบาลวิเศษชัยชาญ (ทางเข้าด้านทิศเหนือ) ผ่านจุดตัดทางแยกวิเศษชัยชาญ กับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3454 จากนั้นมุ่งขึ้นไปทางทิศตะวันออก ผ่านวัดนางในธัมมิการาม ข้ามแม่น้ำน้อยที่ตำบลศาลเจ้าโรงทอง ผ่านทางเข้าวัดม่วง ตำบลหัวตะพาน เข้าอำเภอเมืองอ่างทอง และสิ้นสุดบนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3064 ที่ทางแยกป่างิ้ว ตำบลป่างิ้ว.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3195

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 สายบางปะอิน–แยกหลวงพ่อโอ เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานที่รู้จักกันทั่วไปในฐานะส่วนหนึ่งของโครงข่ายทางหลวงเอเชีย เป็นเส้นทางหลักที่เชื่อมต่อระหว่างกรุงเทพมหานครสู่จังหวัดในภาคกลาง และภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 150.545 กิโลเมตร ในอนาคตมีโครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษหมายเลข 5 สายบางปะอิน-นครสวรรค์ โดยใช้เส้นทางร่วมกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 334

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 334 สายทางต่างระดับอ่างทอง–บ้านรอ เป็นทางหลวงแผ่นดินในจังหวัดอ่างทองที่เชื่อมต่อระหว่างตัวเมืองอ่างทองและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 เข้าด้วยกัน มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 4.300 กิโลเมตร เดิมทางเลี่ยงเมืองอ่างทองได้ถูกกำหนดให้เป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 334 ด้วย แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 368 ซึ่งมีระยะทาง 4.865 กิโลเมตร ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 334 เริ่มต้นที่สี่แยกบ้านรอ แยกออกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 309 ไปทางทิศตะวันออก ผ่านสามแยกบ้านอิฐ (แยกทางเลี่ยงเมืองอ่างทอง) ตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 บริเวณกิโลเมตรที่ 50 แล้วต่อกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3267 ซึ่งไปอำเภอท่าเรือ โดยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 334 เป็นส่วนหนึ่งของถนนโพธิ์พระยา–ท่าเรือ.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 334

คลองมหาราช

ลองมหาราช หรือ คลองชัยนาท-อยุธยา เป็นคลองชลประทานในโครงการเจ้าพระยาใหญ่ แยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณเหนือเขื่อนเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท ขนานไปกับแม่น้ำเจ้าพระยา ผ่านอำเภออินทร์บุรี อำเภอเมืองสิงห์บุรี อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี อำเภอไชโย อำเภอเมืองอ่างทอง อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง อำเภอบางปะหัน สิ้นสุดที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาบริเวณภูเขาทอง รวมระยะทาง 120.394 กิโลเมตร สามารถส่งน้ำได้ปริมาณสูงสุด 75 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อปี..

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและคลองมหาราช

เจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู)

้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี หรือ พระราชมนู เป็นขุนศึกและสมุหพระกลาโหมคนสำคัญในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชมนู เกิดเมื่อไรและมีชื่อใดไม่ปรากฏแต่ได้ติดตาม สมเด็จพระนเรศวรมหาราชคราวประกาศอิสรภาพจึงสันนิษฐานว่าครอบครัวของพระราชมนูอาจถูกกวาดต้อนคราวเสียกรุงฯครั้งที่ 1 ได้มีการกล่าวไว้ในพงศาวดารว่าพระราชมนูเป็นทหารที่เก่งกล้าและมีความสามารถนอกจากนั้นยังเป็นทหารคู่พระทัยของสมเด็จพระนเรศวรอีกด้วย ซึ่งพระราชมนูมักออกศึกเคียงคู่พระนเรศวรในการตีเมืองต่างๆเสมอและสามารถชนะกลับมาได้เกือบทุกครั้งรวมถึงศึกยุทธหัตถีที่ตำบลหนองสาหร่ายอีกด้วย ภายหลังพระราชมนูได้รับการโปรดเกล้าจากสมเด็จพระนเรศวรให้เป็นออกญาพระสมุหกลาโหม แต่ประวัติของพระราชมนูมีอยู่น้อยมากเพราะมีการกล่าวถึงในพงศาวดารไม่กี่เล่ม พระราชมนูนั้นเคยรับพระราชบัญชาให้ไปตีเมืองโพธิสัตว์ (ปัจจุบันอยู่ในเขตพม่า) ซึ่งถือเป็นเมืองใหญ่ ในครั้งยังมียศเป็นคุณพระ ตอนนั้นองค์ดำเกรงว่าทัพน้อยของพระราชมนูจะไม่อาจเอาชัย จึงส่งทัพหลวงออกตามไปช่วย ปรากฏว่าเมื่อทัพหลวงไปถึง เมืองโพธิสัตว์ก็แตกเสียแล้ว ทัพหลวงไม่ต้องเข้าช่วยแต่อย่างใด นอกจากนี้พระราชมนูยังมีความบ้าบิ่นอย่างที่ใครๆในยุคนั้นไม่กล้า คือการขัดรับสั่งของพระนเรศในคราวตามเสด็จศึกพระเจ้าเชียงใหม่ ซึ่งพระราชมนูขัดรับสั่งถอนทัพโดยกล่าวว่า "การรบกำลังติดพัน กลัวว่าถอยแล้วจะเป็นเหตุให้ข้าศึกตามตี" เมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้เสด็จขึ้นครองราชย์สืบต่อจากสมเด็จพระมหาธรรมราชา พระองค์จึงได้ปูนบำเหน็จให้พระราชมนูขึ้นเป็น เจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี ที่สมุหพระกลาโหม พระราชทานพานทอง น้ำเต้าทอง เจียดทองซ้ายขาว กระบี่ ฝวักทองและเครื่องอุปโภคต่าง ๆ ล่าสุดได้มีการค้นพบเจดีย์บรรจุอัฐิของเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดีหรือพระราชมนูพร้อมกับภริยาที่วัดช้างให้ บ้านน้ำผึ้ง ตำบลบ้านอิฐ อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง ทำให้ได้ทราบความจริงว่าพระราชมนูนั้นมีชื่อจริงว่า เพชร หรือ เพ็ชร เมื่อสิ้นรัชสมัยของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช แล้วพระราชมนูได้ลาออกจากราชการและมาบวชจำพรรษาที่วัดช้างให้จนมรณภาพซึ่งทางกรมศิลปากรได้เตรียมเข้ามาบูรณะปฏิสังขรณ์เจดีย์บรรจุอัฐิของพระราชมนูและภร.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู)

เทศบาลเมือง

ทศบาลเมือง เป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นแบบเทศบาลสำหรับเมืองขนาดกลาง จัดตั้งโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและเทศบาลเมือง

เทศบาลเมืองอ่างทอง

อ่างทอง เป็นเทศบาลเมืองแห่งหนึ่งและแห่งเดียวในจังหวัดอ่างทอง เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัด ตั้งอยู่บนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยา มีพื้นที่ครอบคลุมหลายตำบลในอำเภอเมืองอ่างทอง ได้แก่ ตำบลตลาดหลวง ตำบลบางแก้ว และบางส่วนของตำบลศาลาแดง ตำบลบ้านแห ตำบลบ้านอิฐ ตำบลโพสะ และตำบลย่านซื่อ โดยในปี..

ดู อำเภอเมืองอ่างทองและเทศบาลเมืองอ่างทอง

หรือที่รู้จักกันในชื่อ อ.เมืองอ่างทอง