เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

อำเภอเมืองสงขลา

ดัชนี อำเภอเมืองสงขลา

มืองสงขลา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขล.

สารบัญ

  1. 81 ความสัมพันธ์: บวรศักดิ์ อุวรรณโณบัญญัติ จันทน์เสนะบุญส่ง เลขะกุลพระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)พระรัตนธัชมุนี (จู อิสฺสรญาโณ)พระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี)พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลากีฬาชักเย่อในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45กีฬากรีฑาในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45กีฬากาบัดดีในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45กีฬายิมนาสติกในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45กีฬาลีลาศในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45กีฬาวอลเลย์บอลชายหาดในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45กีฬาจักรยานในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45กีฬาขี่ม้าในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45กีฬาเรือใบในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45กีฬาเอ็กซ์ตรีมในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45ภาณุ อุทัยรัตน์มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามหาวิทยาลัยทักษิณมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายชื่อพระธาตุเจดีย์รายชื่อวัดในจังหวัดสงขลารายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสงขลารายการรหัสไปรษณีย์ไทยลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557วัดมัชฌิมาวาส (จังหวัดสงขลา)วัดแจ้งวัดเลียบวิทยาลัยประมงติณสูลานนท์ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณศักดิ์เกษม หุตาคมศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสงขลาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลาสมเด็จพระราเมศวรสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สะพานติณสูลานนท์สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณสถานีรถไฟสงขลาสงขลา (แก้ความกำกวม)สงขลาอะควาเรี่ยมสนามกีฬาติณสูลานนท์สโมสรฟุตบอลสงขลา ยูไนเต็ดหอดูดาวอร่ามอาชว์วัต โล่ห์วีระอำนวย นิ่มมะโนอำเภอ... ขยายดัชนี (31 มากกว่า) »

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ

ตราจารย์กิตติคุณ บวรศักดิ์ อุวรรณโณ (19 ตุลาคม พ.ศ. 2497 —) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประธานกรรมการคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย ประธานคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและบวรศักดิ์ อุวรรณโณ

บัญญัติ จันทน์เสนะ

นายกองเอกบัญญัติ จันทน์เสนะ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ รองประธานกรรมการคณะกรรมการที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานมูลนิธิสวนประวัติศาสตร์ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และผู้แทนคณะรัฐมนตรี ในคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.).

ดู อำเภอเมืองสงขลาและบัญญัติ จันทน์เสนะ

บุญส่ง เลขะกุล

น.พ.บุญส่ง เลขะกุล บนปกนิตยสารเอเชียวีก นายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล (15 ธันวาคม พ.ศ. 2450 - 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ หมอบุญส่ง เป็นแพทย์ ช่างภาพ จิตรกร นักเขียน และอาจารย์ มีชื่อเสียงในฐานะที่เป็นผู้บุกเบิกการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้และสัตว์ป่าของประเทศไท.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและบุญส่ง เลขะกุล

พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)

ตราจารย์วิสามัญ มหาอำมาตย์ตรี พระยามานวราชเสวี (นามเดิม ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) (18 กันยายน พ.ศ. 2433 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527) อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 9 เป็นเวลา 15 ปี อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิบดีกรมอัยการ เลขาธิการเนติบัณฑิตยสภา อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภากรรมการองคมนตรีในรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 และศาสตราจารย์วิสามัญแห่งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและพระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)

พระรัตนธัชมุนี (จู อิสฺสรญาโณ)

ระรัตนธัชมุนี นามเดิม จู ทีปรักษพันธุ์ ฉายา อิสฺสรญาโณ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมฝ่ายธรรมยุติกนิกาย เจ้าอาวาสรูปที่ 9 ของวัดมัชฌิมาวาส (จังหวัดสงขลา) และอดีตเจ้าคณะจังหวัดสงขล.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและพระรัตนธัชมุนี (จู อิสฺสรญาโณ)

พระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี)

ระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี) อดีตเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหารและวัดราชผาติการามวรวิหาร และดำรงตำแหน่งสำคัญอีกหลายตำแหน่งในคณะสงฆ์ไทย เช่น สมาชิกสังฆสภา สังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การปกครอง เจ้าคณะภาค 7-8-9 (ธรรมยุต) เป็นต้น ในปี..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและพระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี)

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา

ัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา เป็นพิพิธภัณฑ์ตั้งอยู่ที่ถนนวิเชียรชม ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา 90000 ภายในจะมีห้องบางส่วนทั้งชั้นบน และชั้นล่าง เช่น ห้องศิลปทวารวดี ห้องเครื่องถ้วย ไทย-จีน ห้องประวัติศาสตร์ศิลปะไทย ห้องศรีวิชัย หรือ ศิลปกรรมภาคใต้ ฯลฯ.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา

กีฬาชักเย่อในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาชักเย่อในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 จัดแข่งขันที่โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 24 ถึง 28 มิถุนายน..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและกีฬาชักเย่อในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬากรีฑาในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬากรีฑาในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 จัดแข่งขันที่สนามกีฬาติณสูลานนท์ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 22 ถึง 26 มิถุนายน..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและกีฬากรีฑาในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬากาบัดดีในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬากาบัดดีในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 จัดแข่งขันที่สนามบาสเกตบอล โรงเรียนวรนารีเฉลิม อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 21 ถึง 27 มิถุนายน..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและกีฬากาบัดดีในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬายิมนาสติกในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬายิมนาสติกในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 จัดแข่งขันที่โรงยิมเนเซียม 2 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 20 ถึง 30 มิถุนายน..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและกีฬายิมนาสติกในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาลีลาศในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาลีลาศในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 จัดแข่งขันที่หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 21 ถึง 23 มีนาคม..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและกีฬาลีลาศในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาวอลเลย์บอลชายหาดในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาวอลเลย์บอลชายหาดในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 จัดแข่งขันที่หาดสมิหลา (นางเงือก) อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 20 ถึง 30 มีนาคม..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและกีฬาวอลเลย์บอลชายหาดในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาจักรยานในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาจักรยานในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 เป็นการแข่งขันกีฬาจักรยานที่จัดขึ้นในอำเภอหาดใหญ่ และอำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 25 ถึง 29 มิถุนายน..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและกีฬาจักรยานในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาขี่ม้าในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาขี่ม้าในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 จัดแข่งขันที่โรงเรียนอ.สงขลาพิทยานุสรณ์ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 21 ถึง 22 มิถุนายน..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและกีฬาขี่ม้าในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาเรือใบในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาเรือใบในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 จัดแข่งขันที่ลานวัฒนธรรม หาดชลาทัศน์ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 23 ถึง 29 มีนาคม..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและกีฬาเรือใบในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาเอ็กซ์ตรีมในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาเอ็กซ์ตรีมในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 จัดแข่งขันที่สนามกีฬาฟุตซอล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 21 ถึง 25 มิถุนายน..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและกีฬาเอ็กซ์ตรีมในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

ภาณุ อุทัยรัตน์

นายกองเอกภาณุ อุทัยรัตน์ ผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้อดีตเลขานุการผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กรรมการธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย อดีตเลขาธิการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) และอดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจำ (นักบริหารระดับสูง) อดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทยอดีตที่ปรึกษาด้านความมั่นคง(เจ้าหน้าที่นโยบายและแผน10 ชช) สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย และเป็นเลขาธิการคนแรกของ ศอ.บต.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและภาณุ อุทัยรัตน์

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (Songkhla Rajabhat University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของภาคใต้ พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดครูมณฑล วิทยาลัยครูสงขลา, สถาบันราชภัฏสงขลา และ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ดังเช่นปัจจุบัน.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

มหาวิทยาลัยทักษิณ

"มหาวิทยาลัยทักษิณ" เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดสงขลา เดิมเป็นวิทยาเขตหนึ่งของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ต่อมาได้รับการยกวิทยฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศ มีชื่อว่า "มหาวิทยาลัยทักษิณ" พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยทักษิณได้ผ่านกระบวนการตามกฎหมายครบทุกขั้นตอน และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและมหาวิทยาลัยทักษิณ

มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา

มหาวิทยาลัยทักษิณ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดสงขลา เดิมเป็นวิทยาเขตหนึ่งของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ต่อมา ได้รับการยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศ มีชื่อว่า มหาวิทยาลัยทักษิณ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยทักษิณได้ผ่านกระบวนการตามกฎหมายครบทุกขั้นตอน และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (Rajamangala University of Technology Srivijaya) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในประเทศไทย แยกตัวออกมาจากสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เมื่อปี..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

งประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

รายชื่อพระธาตุเจดีย์

ระธาตุเจดีย์ชินสีห์มิ่งมงคล วัดสว่างแสงจันทร์ บ้านหนองลาด ตำบลหนองเม็ก อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี หน้านี้เป็นรายชื่อพระธาตุเจดีย์ สำหรับความหมายดูที่ เจดี.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและรายชื่อพระธาตุเจดีย์

รายชื่อวัดในจังหวัดสงขลา

รายชื่อวัดในจังหวัดสงขล.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและรายชื่อวัดในจังหวัดสงขลา

รายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ

รงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ คือขนาดโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐที่กำหนดขึ้นโดยกรมสามัญศึกษาเดิม (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.) โดยกำหนดโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีจำนวนนักเรียนมากกว่า 2,501 คนขึ้นไป ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ปริมณฑลและโรงเรียนประจำจังหวัด ทั้งนี้ ไม่รวมโรงเรียนในสังกัดอื่น ๆ เช่น สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (โรงเรียนเทศบาล), สังกัดมหาวิทยาลัย (โรงเรียนสาธิต), โรงเรียนเอกชน เป็นต้น ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษแบ่งตามภาค ตามจำนวนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ไม่นับ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จังหวัดนครปฐม โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดสกลนคร ซึ่งมีเฉพาะนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและรายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสงขลา

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสงขล.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสงขลา

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย

นี่คือรายชื่อรหัสไปรษณีย์ไทยเรียงตามจังหวั.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและรายการรหัสไปรษณีย์ไทย

ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

ต่อไปนี้ คือลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไท..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

วัดมัชฌิมาวาส (จังหวัดสงขลา)

วัดมัชฌิมาวาส เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี เดิมเป็นชนิดวรวิหาร ปัจจุบันเป็นชนิดสามัญ ตั้งอยู่ที่ 222 หมู่ 11 ถนนไทรบุรี ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขล.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและวัดมัชฌิมาวาส (จังหวัดสงขลา)

วัดแจ้ง

วัดแจ้ง อาจหมายถึง.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและวัดแจ้ง

วัดเลียบ

วัดเลียบ สามารถหมายถึง.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและวัดเลียบ

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท์ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้

วิทยาลัยประมงติณสูลานนท์ (อังกฤษ: Tinsuranonda Fisheries College) เป็นวิทยาลัยด้านการประมง สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ ตั้งอยู่ในจังหวัดสงขลา โดยเปิดสอน 3 หลักสูตร คือ ปว., ปว.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและวิทยาลัยประมงติณสูลานนท์ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้

วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ

วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา ตั้งอยู่ที่ 140 หมู่ที่ 4 ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขล.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ

ศักดิ์เกษม หุตาคม

ักดิ์เกษม หุตาคม (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2461 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2529) นักเขียนนวนิยายรัก โศกนาฏกรรม และนักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียง เจ้าของนามปากกา อิงอร ได้รับฉายาว่า นักเขียนปลายปากกาจุ่มน้ำผึ้ง ศักดิ์เกษม หุตาคม เกิดที่จังหวัดสงขลา อาศัยอยู่กับมารดาและยาย เพราะกำพร้าบิดาตั้งแต่เด็ก จบชั้นมัธยมจากโรงเรียนมหาวชิราวุธ สงขลา แล้วเข้ามาหางานทำที่กรุงเทพ พร้อมกับเรียนกฎหมายที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จนจบอนุปริญญาเมื่อ..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและศักดิ์เกษม หุตาคม

ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสงขลา

ูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสงขลา เป็นศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก สังกัดโรงพยาบาลสงขลา กระทรวงสาธารณสุข และเป็นสถาบันร่วมผลิตแพทย์กับโครงการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ โดยก่อตั้งเมื่อปีพุทธศักราช 2549 ในเขตภาคใต้ ณ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขล.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสงขลา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา มี 8 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 8 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา

สมเด็จพระราเมศวร

มเด็จพระราเมศวร (พ.ศ. 1882 - พ.ศ. 1938) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 2 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 กับพระมเหสีซึ่งเป็นพระขนิษฐาในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ผู้ครองเมืองสุพรรณบุรี พระองค์ทรงขึ้นครองราชย์ได้เพียงปีเดียวก็สละราชสมบัติให้สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ผู้เป็นพระมาตุลา และเสด็จขึ้นครองราชสมบัติอีกครั้งภายหลังการสำเร็จโทษสมเด็จพระเจ้าทองลัน พระราชโอรสของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ที่ครองราชสมบัติได้เพียง 7 วัน แม้พระองค์จะทรงสำเร็จโทษพระเจ้าทองลันเพื่อชิงราชสมบัติ แต่ก็ทรงสร้างคุณูปการต่อกรุงศรีอยุธยาไว้หลายประการ ไม่ว่าจะด้านพระศาสนาหรือการสงคราม ซึ่งพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่ควรยกย่องเชิดชูพระเกียรติที่ทรงปกครองบ้านเมืองให้อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุขโดยที่ไม่มีเมืองต่างๆมารุกราน พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงขยายอาณาเขตให้อาณาจักรอยุธยายิ่งใหญ่ พระองค์ยังทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาอยู่ตลอดเวลา แม้เวลาส่วนมากจะทำศึกสงคราม.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและสมเด็จพระราเมศวร

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

สะพานติณสูลานนท์

นติณสูลานนท์ สะพานติณสูลานนท์ เป็นสะพานคอนกรีตที่ยาวที่สุดในประเทศไทย อยู่ในอำเภอเมืองสงขลา และอำเภอสิงหนคร โดยเชื่อมเกาะยอ 2 ด้าน ระหว่างฝั่งบ้านน้ำกระจาย อำเภอเมืองสงขลา และบ้านเขาเขียว อำเภอสิงหนคร ความยาวของสะพาน 2 ช่วงแรก 940 เมตร และ 1,700 เมตร ตามลำดับ รวมเป็น 2,640 เมตร ก่อสร้างขึ้นในสมัย ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จุดประสงค์ของการสร้างสะพานแห่งนี้ คือ การรองรับการคมนาคมทางรถยนต์ โดยไม่ต้องรอข้ามแพขนานยนต์ซึ่งมีไม่เพียงพอกับปริมาณรถยนต์ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้การเดินทางต้องใช้เวลานาน ทั้งเมื่อข้ามฝั่งมาแล้วก็ยังทำให้การจราจรติดขัดในตัวเมืองอีกด้วย ดังนั้น ในปี พ.ศ.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและสะพานติณสูลานนท์

สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ

ันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ หมู่ที่ 1 ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขล.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและสถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ

สถานีรถไฟสงขลา

นีรถไฟสงขลา ราว พ.ศ. ๒๔๕๘ (ปัจจุบันเก็บไว้ที่หอจดหมายเหตุแห่งชาติฯ สงขลา) สถานีรถไฟสงขลา ตั้งอยู่ที่ถนนปละท่า ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นสถานีรถไฟในทางรถไฟสายใต้ (ทางรถไฟสายสงขลา) ยกเลิกการใช้งานไปแล้วตั้งแต่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและสถานีรถไฟสงขลา

สงขลา (แก้ความกำกวม)

งขลา อาจหมายถึง.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและสงขลา (แก้ความกำกวม)

สงขลาอะควาเรี่ยม

งขลาอะควาเรี่ยม (Songkhla Aquarium) หรือเดิม สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ สงขลา ตั้งอยู่ที่แหลมสนอ่อน อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นแหล่งเรียนรู้ระบบนิเวศวิทยาและจัดแสดงพันธุ์สัตว์น้ำนานาชนิดแห่งแรกของภาคใต้ตอนล่าง โดยเริ่มเปิดให้เข้าชมตั้งแต่วันที่ 27 กันยายน พ.ศ.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและสงขลาอะควาเรี่ยม

สนามกีฬาติณสูลานนท์

นามกีฬาติณสูลานนท์เป็นสนามกีฬาในตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา, ประเทศไท.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและสนามกีฬาติณสูลานนท์

สโมสรฟุตบอลสงขลา ยูไนเต็ด

มสรฟุตบอลสงขลา ยูไนเต็ด (ในชื่อเดิมคือ สโมสรวัวชน ยูไนเต็ด) เป็นสโมสรฟุตบอลไทยในจังหวัดสงขลา และเป็นหนึ่งในสองทีมของบริษัทฟุตบอลสงขลา โดยอีกทีมหนึ่งคือ สงขลา เอฟซี.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและสโมสรฟุตบอลสงขลา ยูไนเต็ด

หอดูดาว

หอดูดาว เป็นสถานที่สำหรับใช้สังเกตการณ์ท้องฟ้าและดวงดาว ในการศึกษาด้านดาราศาสตร์ หรือโหราศาสตร์ หอดูดาวทางดาราศาสตร์ในปัจจุบันมักก่อสร้างเป็นอาคารรูปโดมมีช่องเปิด ภายในมีกล้องโทรทรรศน์เพื่อใช้ขยายภาพท้องฟ้า สาเหตุที่ใช้อาคารมีช่องเปิด ก็เพื่อลดแสงรบกวนจากภายนอก ส่วนอาคารรูปโดมนั้นเหมาะกับประเทศที่มีอากาศหนาวเย็น ในฤดูหนาวจะไม่มีหิมะค้างอยู่บนหลังคา อาคารโดมอาจติดตั้งกลไกการหมุนเพื่อติดตามดาว.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและหอดูดาว

อร่ามอาชว์วัต โล่ห์วีระ

นายอร่ามอาชว์วัต โล่ห์วีระ หรือชื่อเดิม นายอร่าม โล่ห์วีระ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ 6 สมั.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและอร่ามอาชว์วัต โล่ห์วีระ

อำนวย นิ่มมะโน

ลตำรวจโท อำนวย นิ่มมะโน เป็นอดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกระบวนการยุติธรรม และสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตที่ปรึกษาผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธร ภาค 1 อดีตรักษาราชการแทนผู้บัญชาการตำรวจนครบาล อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล และรองโฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาต.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและอำนวย นิ่มมะโน

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและอำเภอ

อำเภอบางกล่ำ

งกล่ำ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขล.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและอำเภอบางกล่ำ

อำเภอสิงหนคร

งหนคร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขล.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและอำเภอสิงหนคร

อำเภอหาดใหญ่

อำเภอหาดใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสงขลา เป็นที่ตั้งของนครหาดใหญ่ เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของภาคใต้ หาดใหญ่เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงในหลายด้าน เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงโดยเฉพาะแถบประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย จีน และอินเดี.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและอำเภอหาดใหญ่

อำเภอจะนะ

นะ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขลา และเป็นหนึ่งในสี่อำเภอจังหวัดสงขลาที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มพื้นที่ที่ยังมีเหตุการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไท.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและอำเภอจะนะ

อำเภอนาหม่อม

นาหม่อม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขล..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและอำเภอนาหม่อม

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและจังหวัดสงขลา

จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขล..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและจังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ถนนราชดำเนิน (แก้ความกำกวม)

นนราชดำเนิน อาจหมายถึง ในประเทศไท.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและถนนราชดำเนิน (แก้ความกำกวม)

ถนนเพชรเกษม

นนเพชรเกษม (Thanon Phet Kasem) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 สายกรุงเทพมหานคร–จุดผ่านแดนถาวรสะเดา (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานของประเทศไทย ที่มีเส้นทางมุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย มีระยะทาง 1277.512 กิโลเมตร นับเป็นทางหลวงหรือถนนสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย ถนนเพชรเกษมมีเส้นทางเริ่มต้นที่สะพานเนาวจำเนียร (ข้ามคลองบางกอกใหญ่) ตั้งอยู่บนเส้นแบ่งการปกครองระหว่างเขตบางกอกใหญ่กับเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร สิ้นสุดที่จุดผ่านแดนถาวรสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา บริเวณเขตแดนประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย เชื่อมต่อกับทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ ที่เมืองบูกิตกายูฮีตัม รัฐเกดะห์ ประเทศมาเลเซีย บางช่วงของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 123.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและถนนเพชรเกษม

ทรูมูฟ เอช

ทรูมูฟ เอช (TrueMove H) หรือ บริษัท เรียลมูฟ จำกัด (Real Move Co., Ltd) และ บริษัท ทรูมูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (TrueMove H Universal Communication Co., Ltd) เป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ที่ทำธุรกิจให้บริการโทรศัพท์มือถือรายหนึ่งในประเทศไทย โดยเป็นตัวแทนขายส่งต่อบริการของ กสท.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและทรูมูฟ เอช

ทะเลสาบสงขลา

ทะเลสาบสงขลา หรือ ทะเลสาบพัทลุง หรือ ทะเลสาบลำปำ (ชื่อที่เรียกในเขตจังหวัดพัทลุง) เป็นทะเลสาบแห่งเดียวในประเทศไทยที่อยู่ติดกันถึง 3 จังหวัด มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 1,000 ตารางกิโลเมตร ได้แก่ จังหวัดพัทลุง ในเขตอำเภอเมืองพัทลุง อำเภอปากพะยูน อำเภอบางแก้ว อำเภอเขาชัยสนและอำเภอควนขนุน, จังหวัดสงขลา ในเขตอำเภอระโนด อำเภอสทิงพระ อำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอสิงหนคร อำเภอเมืองสงขลา อำเภอควนเนียง อำเภอหาดใหญ่ และอำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช ทะเลสาบสงขลาตอนล่างมีเกาะขนาดใหญ่อยู่เกาะหนึ่ง คือ เกาะยอ และมีเกาะต่าง ๆ อีก ที่เป็นแหล่งสัมปทานเก็บรังนก คือ เกาะสี่ เกาะห้.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและทะเลสาบสงขลา

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407 สายคลองหวะ - สงขลา หรือ ถนนกาญจนวณิชย์ เป็นทางหลวงที่อยู่ในความควบคุมของแขวงการทางสงขลา สังกัดสำนักทางหลวงที่ 15 (สงขลา) เป็นเส้นทางหลักที่เชื่อมตัวเมืองสงขลาเข้ากับตัวเมืองหาดใหญ่ มีระยะทางเริ่มต้นจากทางแยกคลองหวะในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา แล้ววิ่งขึ้นเหนือไปยังอำเภอเมืองสงขลา ไปสิ้นสุดที่ทางแยกสำโรง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา อยู่ในเขตจังหวัดสงขลาทั้งหมด 28.3 กิโลเมตร ในอดีต ทางหลวงแผ่นดินสายนี้เป็นเส้นทางหลักสำหรับรถทุกคันจากถนนเพชรเกษมที่จะเข้าตัวเมืองสงขลา แต่เมื่อมีการก่อสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414 (ถนนลพบุรีราเมศวร์) ขึ้น รถจำนวนมากได้หันไปใช้เส้นทางนี้แทน เนื่องจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407 จะวิ่งผ่านเข้าไปในตัวเมืองหาดใหญ่ ขณะที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414 จะวิ่งเลี่ยงตัวเมืองหาดใหญ่ รัฐบาลสมัยจอมพล ป.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 408

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 408 สายนครศรีธรรมราช - ด่านประกอบ เป็นทางหลวงที่อยู่ในความควบคุมของแขวงทางหลวงนครศรีธรรมราชที่ 1 สังกัดสำนักงานทางหลวงที่ 16 นครศรีธรรมราช, แขวงทางหลวงสงขลาที่ 1 และแขวงทางหลวงสงขลาที่ 2 (นาหม่อม) สังกัดสำนักงานทางหลวงที่ 18 สงขลา เป็นเส้นทางหลักที่เชื่อมจังหวัดนครศรีธรรมราชเข้ากับจังหวัดสงขลา โดยไม่ต้องผ่านจังหวัดพัทลุง มีระยะทางเริ่มต้นจากตัวเมืองนครศรีธรรมราช แล้ววิ่งลงใต้ไปสิ้นสุดที่ด่านศุลกากรบ้านประกอบ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา อยู่ในความควบคุมของแขวงการทางนครศรีธรรมราชที่ 1 70.607 กิโลเมตร อยู่ในความควบคุมของแขวงทางหลวงสงขลาที่ 1 111.370 กิโลเมตร และอยู่ในความควบคุมของแขวงทางหลวงสงขลาที่ 2 (นาหม่อม) 63.276 กิโลเมตร รวมระยะทางทั้งหมด 245.253 กิโลเมตร.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 408

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414 สายน้ำกระจาย–ท่าท้อน หรือ ถนนลพบุรีราเมศวร์ เป็นทางหลวงที่อยู่ในความควบคุมของแขวงทางหลวงสงขลาที่ 1 สังกัดสำนักงานทางหลวงที่ 18 (สงขลา) มีจุดเริ่มต้นจากห้าแยกน้ำกระจาย อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา วิ่งขึ้นลงใต้ไปสิ้นสุดที่ถนนเพชรเกษม (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4) โดยเป็นเส้นทางสายใหม่ที่สร้างขึ้นเพื่อเลี่ยงเมืองหาดใหญ่แทนถนนกาญจนวณิช (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407) มีความยาวทั้งสิ้น 24.315 กิโลเมตร.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42 สายคลองแงะ–จุดผ่านแดนถาวรสุไหงโก-ลก (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) หรือที่เรียกกันในช่วงจังหวัดปัตตานีถึงนราธิวาสว่า ถนนเพชรเกษมสายปัตตานี–นราธิวาส หรือ ถนนเกาหลี หรือ บาตะฮ กอลี ในภาษามลายูปัตตานี เป็นทางหลวงแผ่นดินที่เชื่อมจังหวัดสงขลาเข้ากับจังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิว.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43 สายหาดใหญ่–มะพร้าวต้นเดียว เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานที่สำคัญสายหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง และเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 18 โดยทางหลวงสายนี้เป็นทางหลวงเส้นใหม่ที่ตัดขึ้นเพื่อย่นระยะทางจากจังหวัดสงขลาไปยังจังหวัดปัตตานี แทนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42 โดยเป็นทางหลวงขนาด 4 ช่องจราจรตลอดสาย รวมระยะทาง 94.952 กิโลเมตร.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43

ท่าอากาศยานสงขลา

ท่าอากาศยานสงขลา หรือ สนามบินสงขลา (Songkhla Airport) ตั้งอยู่ที่ อ.เมืองสงขลา จังหวัดสงขลา เป็นท่าอากาศยานในการดูแลของกองทัพเรือไทย มีความยาวทางวิ่ง 1,510 เมตร.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและท่าอากาศยานสงขลา

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

ณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา ตั้งที่ 140 หมู่ที่ 4 ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขล.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

ประพร เอกอุรุ

นายประพร เอกอุรุ (1 มิถุนายน พ.ศ. 2510 - 4 กันยายน พ.ศ. 2560) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 3 สมั.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและประพร เอกอุรุ

โรงเรียนนวมินทราชูทิศ ทักษิณ

รงเรียนนวมินทราชูทิศ ทักษิณ เป็นโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 5 รอบประจำภาคใต้ ซึ่งเป็นถาวรวัตถุทางการศึกษาที่ปวงชนชาวไทยน้อมเกล้าฯ ถวาย นอกจากโรงเรียนนวมินทราชูทิศ ทักษิณจะได้ทำหน้าที่เป็นสถานให้การศึกษาแก่เยาวชนชาวสงขลาและจังหวัดใกล้เคียงเป็นอย่างดี สมกับปรัชญาความรู้คู่คุณธรรม เอกลักษณ์ที่สำคัญและโดดเด่นอย่างหนึ่งของโรงเรียนคือ อาคารเรียนและอาคารประกอบลักษณะสถาปัตยกรรมทรงไทยประยุกต์แบบภาคใต้ ปัจจุบันเป็นสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงของภาคใต้ และลูกนวมินทร์ทุกคนที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันแห่งนี้ ต่างมีความรักภาคภูมิใจในสถาบัน และภูมิใจใน ตรานวมินทราชูทิศ ทักษิณ.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและโรงเรียนนวมินทราชูทิศ ทักษิณ

เกาะยอ

กาะยอ เป็นเกาะหนึ่งที่ตั้งอยู่กลางทะเลสาบสงขลาตอนล่าง มีฐานะเป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ตัวเกาะมีพื้นที่ทั้งหมด 15 ตารางกิโลเมตร หรือ 9,275 ไร่ ประชากรเป็นชาวไทยเชื้อสายจีน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เกาะยอ มีผลิตภัณฑ์จากหัตถกรรมที่มีชื่อเสียงคือ ผ้าทอเกาะยอ ที่มีลวดลายเป็นเอกลักษณ์ โดยเฉพาะลาย "ราชวัตถ์" ที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานชื่อลายผ้าดังกล่าว.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและเกาะยอ

เหตุระเบิดในจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2548

หตุระเบิดในจังหวัดสงขล..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและเหตุระเบิดในจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2548

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

เทศบาลตำบลพะวง

ทศบาลตำบลพะวง หรือ ตำบลพะวง ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา โดยกินอาณาเขตตำบลพะวงทั้งตำบล ในปัจจุบันตำบลพะวงถือเป็นประตูสู่นครสงขลาชั้นแรก เป็นแถบชานเมืองที่มีความเจริญรุ่งเรืองมากยิ่งขึ้น รวมทั้งเป็นที่ตั้งขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา และโรงเรียนนวมินทราชูทิศ ทักษิณ อีกด้วย องค์การบริหารส่วนตำบลพะวงได้ยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลตำบลพะวง เมื่อ วันที่ 1 มกราคม..2549.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและเทศบาลตำบลพะวง

เทศบาลนครสงขลา

นครสงขลา หรือ เทศบาลนครสงขลา เป็นเทศบาลนครที่ตั้งอยู่ในเขตตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา เป็นเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดสงขลา การที่นครสงขลาตั้งอยู่ติดกับชายฝั่งทะเลอ่าวไทย จึงทำให้มีการค้าขายทางพานิชย์นาวีป็นจำนวนมาก.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและเทศบาลนครสงขลา

เทศบาลนครหาดใหญ่

นครหาดใหญ่ เป็นเทศบาลนครที่ตั้งอยู่ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา หาดใหญ่ถือได้ว่าเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ และเป็นเทศบาลนครที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 3 ของประเทศไทย รองจากเทศบาลนครนนทบุรี และเทศบาลนครปากเกร็ด เนื่องจากเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า และการคมนาคมขนส่งที่สำคัญของภาคใต้ หาดใหญ่ได้ยกฐานะเป็นเทศบาลนครหาดใหญ่เมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและเทศบาลนครหาดใหญ่

เทศบาลเมือง

ทศบาลเมือง เป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นแบบเทศบาลสำหรับเมืองขนาดกลาง จัดตั้งโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและเทศบาลเมือง

เทศบาลเมืองสิงหนคร

ทศบาลเมืองสิงหนคร หรือ เมืองสิงหนคร ตั้งอยู่ในเขตอำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา เป็นชุมชนเมืองโบราณ เคยเป็นที่ตั้งและเป็นชื่อเมืองสงขลา ในอดีตก่อนที่จะย้ายตัวเมืองสงขลา มาอยู่ด้านตะวันออกของปากอ่าวทะเลสาบสงขลาซึ่งเห็นที่ตั้งของเทศบาลนครสงขลา ในปัจจุบัน โดยกระทรวงมหาดไทยได้ประกาศเปลียนแปลงฐานะเทศบาลตำบลสิงหนครมาเป็นเทศบาลเมืองสิงหนคร และมีผลบังคับใช้แล้ว ตั้งแต่วันที่ 23 พฤศจิกายน 2548.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและเทศบาลเมืองสิงหนคร

เขตพื้นที่การศึกษา

ตพื้นที่การศึกษา (Educational Service Area) เป็นระบบการจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาการปกครองที่จัดแบ่งโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อจัดระบบและกระจายอำนาจการจัดการศึกษาในประเทศไทยให้ครอบคลุมมากขึ้น เดิมมีสำนักงานประจำแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ใช้ชื่อว่า "สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษ..." (สพท.) และต่อมาได้มีการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาออกเป็น 2 ระดับ คือ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา โดยจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและเขตพื้นที่การศึกษา

เงือก

อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เงือก เป็นอมนุษย์ชนิดหนึ่งตามความเชื่อนิยายปรัมปราเกี่ยวกับน้ำ โดยเป็นจินตนาการเกี่ยวกับสัตว์น้ำ โดยมากจะเล่ากันว่าเงือกนั้นเป็นสัตว์ครึ่งมนุษย์ มีส่วนครึ่งท่อนบนเป็นคน ส่วนครึ่งท่อนล่างเป็นปลา ในหลายประเทศทั่วโลก มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับตำนานเงือกมากมาย โดยเชื่อว่า แท้จริงแล้วสัตว์ที่มนุษย์เห็นเป็นเงือก คือ พะยูน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเลขนาดใหญ่ ที่เมื่อให้นมลูกแล้วจะลอยตัวกลางน้ำเหมือนผู้หญิงให้นมลูก.

ดู อำเภอเมืองสงขลาและเงือก

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ดู อำเภอเมืองสงขลาและเปรม ติณสูลานนท์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ อ.เมืองสงขลา

อำเภอบางกล่ำอำเภอสิงหนครอำเภอหาดใหญ่อำเภอจะนะอำเภอนาหม่อมจังหวัดสงขลาจังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554ถนนราชดำเนิน (แก้ความกำกวม)ถนนเพชรเกษมทรูมูฟ เอชทะเลสาบสงขลาทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 408ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43ท่าอากาศยานสงขลาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณประพร เอกอุรุโรงเรียนนวมินทราชูทิศ ทักษิณเกาะยอเหตุระเบิดในจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2548เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เทศบาลตำบลพะวงเทศบาลนครสงขลาเทศบาลนครหาดใหญ่เทศบาลเมืองเทศบาลเมืองสิงหนครเขตพื้นที่การศึกษาเงือกเปรม ติณสูลานนท์