โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อำเภอเทพา

ดัชนี อำเภอเทพา

อำเภอเทพา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขลา และเป็นหนึ่งในสี่อำเภอจังหวัดสงขลาที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มพื้นที่ที่ยังมีเหตุการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไท.

26 ความสัมพันธ์: พฤศจิกายน พ.ศ. 2548ภาษามลายูปัตตานีรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสงขลารายการรหัสไปรษณีย์ไทยลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557วิทยาลัยชุมชนสงขลาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลาสมเพียร เอกสมญาสำเนียงสะกอมสถาบันวิทยาลัยชุมชนอำเภอสะบ้าย้อยอำเภอหนองจิกอำเภอจะนะอำเภอนาทวีอำเภอโคกโพธิ์ผีเสื้อและดอกไม้จังหวัดสงขลาจังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดนาทวีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43ทำเนียบหัวเมืองคฑาวุธ ทองไทยปลากะรังดอกแดงปลากะรังปากแม่น้ำเขตพื้นที่การศึกษา

พฤศจิกายน พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายูปัตตานี

ษามลายูปัตตานี หรือ ภาษามลายูปาตานี (มลายูปัตตานี: บาซอ 'นายู 'ตานิง; Bahasa Melayu Patani, อักษรยาวี: بهاس ملاي ڤطاني) หรือนิยมเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า ภาษายาวี (อักษรยาวี: بهاس جاوي) เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียนที่พูดโดยชาวไทยเชื้อสายมลายูในจังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา รวมทั้งในอำเภอนาทวี อำเภอจะนะ อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย ทางทิศตะวันออกของจังหวัดสงขลา (ไม่รวมจังหวัดสตูล) ในประเทศไทยมีประชากรที่พูดภาษานี้มากกว่า 1 ล้านคน ภาษานี้ใกล้เคียงมากกับภาษามลายูถิ่นในรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็นภาษาถิ่นที่แตกต่างจากส่วนที่เหลือของประเทศมาเลเซีย บางครั้งก็มีการเรียกรวมเป็นภาษาเดียวกันว่า "ภาษามลายูกลันตัน-ปัตตานี".

ใหม่!!: อำเภอเทพาและภาษามลายูปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสงขลา

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย

นี่คือรายชื่อรหัสไปรษณีย์ไทยเรียงตามจังหวั.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและรายการรหัสไปรษณีย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

ต่อไปนี้ คือลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: อำเภอเทพาและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยชุมชนสงขลา

วิทยาลัยชุมชนสงขลา เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ตามนโยบายการแก้ปัญหาพื้นที่พิเศษภาคใต้ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่สังคมสันติสุขของศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) โดยเฉพาะพื้นที่บริการ 5 อำเภอ ของจังหวัดสงขลา ได้แก่ อำเภอเทพา อำเภอจะนะ อำเภอนาทวี อำเภอสะบ้าย้อย และอำเภอสะเดา วิทยาลัยชุมชนสงขลา ตั้งอยู่ ณ บริเวณอาคารที่ว่าการอำเภอเทพา จังหวัดสงขล.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและวิทยาลัยชุมชนสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา มี 8 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 8 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

สมเพียร เอกสมญา

ลตำรวจเอก สมเพียร เอกสมญา (6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 จาก คมชัดลึก สืบค้นวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2553 — 12 มีนาคม พ.ศ. 2553) เป็นอดีตผู้กำกับการสถานีตำรวจภูธรบันนังสตา จังหวัดยะลา รับราชการตำรวจตั้งแต่เป็น พลตำรวจ จนถึงยศ พันตำรวจเอก และได้รับพระราชทานยศพลตำรวจเอกเป็นกรณีพิเศษ ได้ฉายาว่า จ่าเพียร นักสู้แห่งเทือกเขาบูโด และ จ่าเพียร ขาเหล็ก จากการปฏิบัติหน้าที่อยู่ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นเวลากว่า 40 ปี กระทั่งเคยได้รับการโปรดเกล้าฯ เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รับพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี เหรียญรามมาลาเข็มกล้ากลางสมร ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง และกระทำพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยา ณ อุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อ..

ใหม่!!: อำเภอเทพาและสมเพียร เอกสมญา · ดูเพิ่มเติม »

สำเนียงสะกอม

ษาไทยถิ่นใต้สำเนียงสะกอม เป็นภาษาไทยใต้กลุ่มหนึ่งที่มีความเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างจากภาษาใต้อื่นๆ มีคำศัพท์ที่ได้รับอิทธพลมาจากภาษาไทยถิ่นใต้ ภาษามลายูปัตตานี เป็นต้น ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงสะกอมมีใช้พูดสื่อสารกันในระหว่างสองตำบล ในสองอำเภอในจังหวัดสงขลา ได้แก่ตำบลสะกอม อำเภอจะนะ และตำบลสะกอม อำเภอเทพา มีอาณาเขตตั้งแต่ออกจากตัวเมืองจะนะ 4 กิโลเมตร เรื่อยไปจนถึงชายฝั่งทะเลจรดตำบลปากบาง อำเภอเทพา ผู้พูดมีทั้ง ชาวไทยมุสลิม ชาวไทยพุทธ และชาวไทยเชื้อสายจีน.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและสำเนียงสะกอม · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิทยาลัยชุมชน

ันวิทยาลัยชุมชน เป็นนิติบุคคลและเป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ แต่เดิมคือ "สำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน" ซึ่งมีหน้าที่กำกับดูแลวิทยาลัยชุมชน 20 แห่งทั่วประเทศ WA.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและสถาบันวิทยาลัยชุมชน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสะบ้าย้อย

อำเภอสะบ้าย้อย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขลา และเป็นหนึ่งในสี่อำเภอจังหวัดสงขลาที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มพื้นที่ที่ยังมีเหตุการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย ได้ปรากฏหลักฐานเอกสารราชการครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: อำเภอเทพาและอำเภอสะบ้าย้อย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองจิก

อำเภอหนองจิก เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและอำเภอหนองจิก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอจะนะ

นะ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขลา และเป็นหนึ่งในสี่อำเภอจังหวัดสงขลาที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มพื้นที่ที่ยังมีเหตุการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไท.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและอำเภอจะนะ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนาทวี

นาทวี เป็นอำเภอในจังหวัดสงขลา แยกมาเป็นกิ่งอำเภอจากหัวเมืองจะนะ และตั้งเป็นอำเภอนาทวี เมื่อปี พ.ศ. 2499 เป็นที่ตั้งของศาลจังหวัดนาทวีที่มีพื้นที่อำนาจศาลครอบคลุมอำเภอนาทวี สะเดา สะบ้าย้อย เทพา และจะนะ โดยพื้นที่ดังกล่าวยังเคยมีการพิจารณาจัดตั้งเป็น จังหวัดนาทวี อีกด้ว.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและอำเภอนาทวี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโคกโพธิ์

อำเภอโคกโพธิ์ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและอำเภอโคกโพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ผีเสื้อและดอกไม้

ผีเสื้อและดอกไม้ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี..

ใหม่!!: อำเภอเทพาและผีเสื้อและดอกไม้ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขล..

ใหม่!!: อำเภอเทพาและจังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนาทวี

ื้นที่โครงการจัดตั้งจังหวัดนาทวี แยกออกจากจังหวัดสงขลา จังหวัดนาทวี เป็นโครงการจัดตั้งจังหวัดใหม่ในประเทศไทย โดยจะแยกอำเภอจำนวนหนึ่งออกมาจากจังหวัดสงขลา ประกอบด้วย อำเภอนาทวี จะนะ เทพา สะบ้าย้อย และอำเภอสะเดา ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่เคลื่อนไหวของ องค์กรปลดปล่อยสหปัตตานี.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและจังหวัดนาทวี · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42 สายคลองแงะ–จุดผ่านแดนถาวรสุไหงโก-ลก (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) หรือที่เรียกกันในช่วงจังหวัดปัตตานีถึงนราธิวาสว่า ถนนเพชรเกษมสายปัตตานี–นราธิวาส หรือ ถนนเกาหลี หรือ บาตะฮ กอลี ในภาษามลายูปัตตานี เป็นทางหลวงแผ่นดินที่เชื่อมจังหวัดสงขลาเข้ากับจังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43 สายหาดใหญ่–มะพร้าวต้นเดียว เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานที่สำคัญสายหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง และเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 18 โดยทางหลวงสายนี้เป็นทางหลวงเส้นใหม่ที่ตัดขึ้นเพื่อย่นระยะทางจากจังหวัดสงขลาไปยังจังหวัดปัตตานี แทนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42 โดยเป็นทางหลวงขนาด 4 ช่องจราจรตลอดสาย รวมระยะทาง 94.952 กิโลเมตร.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43 · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบหัวเมือง

ทำเนียบหัวเมือง คือเขตการปกครองในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ประเทศสยามมีหัวเมืองขึ้นอยู่ 474 หัวเมือง หลักฐานที่ได้จากจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ที่ได้จารึกไว้ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยได้จารึกไว้ที่คอสอง เฉลียงพระเบียงล้อมพระอุโบสถทั้งสี่ด้าน หรืออีกอย่างหนึ่งก็คือระเบียงคด ได้เขียนภาพหัวเมืองขึ้นกรุงเทพมหานคร 474 หัวเมือง แต่ในปัจจุบันภาพดังกล่าวได้หายไปหมดแล้ว คงเหลือแต่จารึกที่บอกชื่อหัวเมืองเหล่านั้น กับเจ้าเมืองบางเมืองอยู่ราวครึ่งหนึ่ง ตรวจได้ศิลาจารึก 77 แผ่น ทำเนียบเมือง 194 เมือง แบ่งออกได้ดังนี้.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและทำเนียบหัวเมือง · ดูเพิ่มเติม »

คฑาวุธ ทองไทย

นายคฑาวุธ ทองไทย หรือ อ.ไข่ (เกิดเมื่อ: 31 มกราคม 2510 ที่ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา) เป็นศิลปินและนักร้องเพลงเพื่อชีวิตชาวไทย และเป็นนักร้องนำและผู้ก่อตั้งวงมาลีฮวนน่า เมื่อจบการศึกษาสายอาชีพที่วิทยาลัยศิลปหัตถกรรมนครศรีธรรมราช สาขาวิชาวิจิตร์ศิลป์ได้ออกจากภาคใต้ซึ่งเป็นภูมิลำเนา เพื่อมาตามหาฝันของตนเองและแสวงหาความก้าวหน้าของชีวิตที่กรุงเทพฯ ตามแบบคนต่างจังหวัดหรือคนบ้านนอกอื่น ๆ และได้มาศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา ที่คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จนจบการศึกษาด้านศิลปะจากมหาวิทยาลัยศิลปากร จากนั้นได้ไปเข้ารับราชการเป็นอาจารย์สอนวิชาศิลปะวาดเขียนแก่นักเรียนแผนกศิลปกรรม และวิชาทัศน์ศิลป์แก่นักศึกษาด้วย ที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์จังหวัดนครปฐม จนถึงปัจจุบัน ด้วยน้ำเสียงออกทำนองเอื่อนเล็กน้อย ผสมสำเนียงและคำร้องแบบปักษ์ใต้ จึงทำให้เขามีเอกลักษณ์จนติดหูผู้ฟัง เพลงที่ผู้ฟังส่วนใหญ่คุ้นเคยจนติดหู ได้แก่ "เรือรักกระดาษ", "หมาหยอกไก่", "กระท่อมกัญชา", "พร้าว", "โมรา", "หัวใจพรือโฉ้", "ว่าวจุฬา", "ลัง"และ",อาวรณ์" เป็นต้น อาจารย์ไข่ ได้เข้าร่วมกับกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย และได้แสดงออกโดยการขึ้นไปร้องเพลงบนเวทีและให้กำลังใจผู้ชุมนุมเป็นบางครั้งบางคราว.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและคฑาวุธ ทองไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะรังดอกแดง

ปลากะรังดอกแดง หรือ ปลาเก๋าดอกแดง หรือ ปลาเก๋าจุดน้ำตาล หรือ ปลากะรังปากแม่น้ำ (Orange-spotted grouper, Estuary cod) ปลาชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะรัง (Serranidae) เป็นปลาในวงศ์นี้อีกชนิดหนึ่งที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่ รูปร่างค่อนข้างป้อม หัวใหญ่ จะงอยปากแหลม นัยน์ตาโต ปากกว้างเฉียงขึ้นเล็กน้อย มีฟันเป็นเขี้ยวแหลมอยู่บนขากรรไกรทั้งบนและล่าง ครีบหลังยาว ครีบหางมีขนาดใหญ่และแข็งแรง ปลายมนกลม พื้นตัวเป็นสีเทาและมีลายน้ำตาลอยู่บนหัวและข้างลำตัว มีจุดประอยู่ตามหัวและลำตัว แต่บางตัวก็ไม่มีจุดขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและขนาดของปลา มีขนาดลำตัวโดยเฉลี่ย 30 เซนติเมตร แต่สามารถใหญ่ได้ถึง 1.5 เมตร พบกระจายพันธุ์ตามแถบปากแม่น้ำ, ป่าชายเลน หรือกองหินใต้ทะเล ในประเทศไทยพบชุกชุมที่อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ในต่างประเทศพบได้ที่ทะเลแดง, มหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย เป็นปลาเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่ง ที่มีการเพาะเลี้ยงกันเพื่อการพาณิชย์ มีการส่งออกไปขายยังต่างประเทศ เป็นปลาที่ชาวจีนมีความเชื่อว่า เมื่อรับประทานแล้วจะทำให้บำรุงกำลังเชฟกระทะเหล็ก ประเทศไทย (ช่วงวัตถุดิบปริศนา), รายการทางช่อง 7: วันพุธที่ 13 มีนาคม..

ใหม่!!: อำเภอเทพาและปลากะรังดอกแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะรังปากแม่น้ำ

ปลากะรังปากแม่น้ำ (Arabian grouper, Greasy grouper; ชื่อวิทยาศาสตร์: Epinephelus tauvina) ปลาทะเลชนิดหนึ่งในวงศ์ปลากะรัง (Serranidae) วงศ์ย่อย Epinephelinae มีชื่ออื่น ๆ อีก เช่น "ปลาเก๋าลายจุด", "ปลาเก๋าจุดน้ำตาล" มีพื้นลำตัวเป็นสีน้ำตาลอ่อน มีจุดดำและลายปื้นสีเขียวกระจายไปทั่วตัว จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในวงศ์นี้ โดยสามารถยาวได้ถึง 80 เซนติเมตร มีพฤติกรรมกินเหยื่อโดยการฮุบกินไปทั้งตัว พบกระจายอยู่ตั้งแต่ทะเลแดง, แอฟริกาใต้ ในทวีปเอเชียพบได้จนถึงประเทศญี่ปุ่น โดยอาศัยอยู่ในทะเลที่มีความลึกตั้งแต่ 1–300 เมตร อีกทั้งยังสามารถพบได้ในบริเวณปากแม่น้ำหรือป่าชายเลนที่มีสภาพเป็นน้ำกร่อยด้วย สำหรับในประเทศไทยพบชุกชุมที่อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา นิยมบริโภคเป็นปลาเศรษฐกิจ มีการเพาะเลี้ยงในกระชัง.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและปลากะรังปากแม่น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

เขตพื้นที่การศึกษา

ตพื้นที่การศึกษา (Educational Service Area) เป็นระบบการจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาการปกครองที่จัดแบ่งโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อจัดระบบและกระจายอำนาจการจัดการศึกษาในประเทศไทยให้ครอบคลุมมากขึ้น เดิมมีสำนักงานประจำแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ใช้ชื่อว่า "สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษ..." (สพท.) และต่อมาได้มีการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาออกเป็น 2 ระดับ คือ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา โดยจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้.

ใหม่!!: อำเภอเทพาและเขตพื้นที่การศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อ.เทพา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »