สารบัญ
27 ความสัมพันธ์: บัวผัน จันทร์ศรีพระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน)พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสุพรรณบุรีรายการรหัสไปรษณีย์ไทยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรีสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)สง่า มะยุระอำเภอวิเศษชัยชาญอำเภอสามชุกอำเภอสามโก้อำเภอดอนเจดีย์อำเภอแสวงหาอำเภอโพธิ์ทองอำเภอเมืองสุพรรณบุรีจองชัย เที่ยงธรรมจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดอ่างทองทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3195ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340ขวัญจิต ศรีประจันต์ประภัตร โพธสุธนไสว วงษ์งามเชาวน์ มณีวงษ์เชาวน์วัศ สุดลาภาเทศบาลตำบลบ้านกร่างเขตพื้นที่การศึกษา
บัวผัน จันทร์ศรี
ัวผัน จันทร์ศรี (พ.ศ. 2463 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548) ศิลปินเพลงพื้นบ้าน เพลงอีแซว ที่มีชื่อเสียงของตำบลวังน้ำซับ อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี บัวผัน จันทร์ศรี เกิดเมื่อปีจอ..
ดู อำเภอศรีประจันต์และบัวผัน จันทร์ศรี
พระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน)
ระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน) เจ้าคณะภาค 5 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ แม่กองบาลีสนามหลวง เลขานุการแม่กองงานพระธรรมทูต รองประธานคณะพระธรรมจาริก หัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 3 ประธานคณะเลขานุการผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เลขาธิการสมัชชามหาคณิสสร.
ดู อำเภอศรีประจันต์และพระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน)
พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)
ลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป) พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป) (26 เมษายน พ.ศ. 2430 - 14 กันยายน พ.ศ.
ดู อำเภอศรีประจันต์และพระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)
รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสุพรรณบุรี
ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสุพรรณบุรี.
ดู อำเภอศรีประจันต์และรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสุพรรณบุรี
รายการรหัสไปรษณีย์ไทย
นี่คือรายชื่อรหัสไปรษณีย์ไทยเรียงตามจังหวั.
ดู อำเภอศรีประจันต์และรายการรหัสไปรษณีย์ไทย
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี
มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.
ดู อำเภอศรีประจันต์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)
ตราจารย์พิเศษ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ประยุทธ์ อารยางกูร ฉายา ปยุตฺโต หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปในนามปากกา "ป.
ดู อำเภอศรีประจันต์และสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)
สง่า มะยุระ
ง่า มะยุระ (20 สิงหาคม พ.ศ. 2452 - 12 กันยายน พ.ศ. 2521) จิตรกรชาวไทย เป็นเจ้าของและผู้ให้กำเนิดผลิตภัณฑ์พู่กัน เป็นโรงงานทำพู่กันแห่งแรกของประเทศไทย สง่า มะยุระเกิดที่ อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรบุญธรรมในหลวงพ่อหรุ่น อดีตเจ้าอาวาสวัดเสาธงทอง เริ่มเรียนวิชาสามัญที่โรงเรียนวัดสัปรสเทศ พร้อมกับฝึกวิชาวาดเขียนมาตั้งแต่เด็กกับอาจารย์อู๋ ที่วัดมะนาว อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ต่อมาได้มาอยู่กับอาจารย์ม้วนที่วัดสุวรรณาราม ริมคลองบางกอกน้อย ธนบุรี สง่าได้มีโอกาสเรียนวาดเขียนกับครูสอิ้งที่อยู่ข้างวัดสุวรรณาราม โดยครูสอิ้งพาไปช่วยเขียนลายรดน้ำที่หน้าต่างพระวิหารวัดพระเชตุพนฯ ต่อมาได้ไปสมัครทำงานเขียนพานแว่นฟ้ากับคุณผิน และเขียนตู้พระมาลัยที่วัดมหาธาตุ สง่า มะยุระ ได้รู้จักกับหลวงเจนจิตรยง ช่างเขียนอันลือชื่อในสมัยนั้น ท่านชวนให้ไปช่วยเขียนลายบนโถกะยาคู โดยนำฟักทองมากลึงให้มีรูปร่างเหมือนโถ และต้องเขียนลายให้เสร็จในวันเดียวกัน มิฉะนั้นฟักทองจะเหี่ยว ทั้งสองท่านช่วยกันเขียนจนเสร็จ หลวงเจนจิตรยงชื่นชอบฝีมือว่าของสง่า จึงชวนให้ไปช่วยเขียนภาพที่วัดสุวรรณคีรี คลองบางกอกน้อย โดยมอบหมายให้เขียนลายรดน้ำที่บานประตูหน้าต่างโบสถ์แทนท่านทั้งหมด นายสง่าต้องใช้เวลาเขียนถึงสี่เดือนจึงเสร็จ สง่าได้อุปสมบทที่วัดสุวรรณาราม ธนบุรี เป็นระยะเวลาสองพรรษา ในระหว่างนั้นได้มีโอกาสเข้าไปเขียนภาพรามเกียรติ์ที่พระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเทวาภินิมมิต (ฉาย เทียมศิลป์ไชย) เป็นผู้อำนวยการเขียนภาพ ในเวลาต่อมา เมื่อภาพเขียนที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามเกิดชำรุดเสียหาย นายสง่าก็ได้มีโอกาสเข้าไปเขียนซ่อม บางห้องมีภาพชำรุดมากก็เขียนใหม่ทั้งหมดจนสำเร็จ หลังจากลาสิกขาแล้วก็มาตั้งร้านขายเครื่องดื่มที่หลังโรงพยาบาลศิริราช โดยให้บิดาเป็นผู้ขาย ส่วนตนเองไปทำงานประจำที่ร้านคณะช่าง อันเป็นร้านช่างเขียนรับงานเขียนต่าง ๆ และทำบล็อกด้วย ทำงานอยู่ร้านคณะช่างได้สองปีก็ลาออก และไปทำงานที่โรงพิมพ์บุญครอง สง่าสมรสเมื่อปี..
ดู อำเภอศรีประจันต์และสง่า มะยุระ
อำเภอวิเศษชัยชาญ
อำเภอวิเศษชัยชาญ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง เดิมชื่อ อำเภอวิเศษไชยชาญ และก่อนหน้านั้น ชื่อ อำเภอไผ่จำศีล.
ดู อำเภอศรีประจันต์และอำเภอวิเศษชัยชาญ
อำเภอสามชุก
อำเภอสามชุก เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรีซึ่งเป็นจังหวัดที่เก่าแก่และมีความสำคัญมากแห่งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไท.
ดู อำเภอศรีประจันต์และอำเภอสามชุก
อำเภอสามโก้
อำเภอสามโก้ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง จัดตั้งขึ้นเป็นอำเภอเมื่อปี พ.ศ. 2508.
ดู อำเภอศรีประจันต์และอำเภอสามโก้
อำเภอดอนเจดีย์
อนเจดีย์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี.
ดู อำเภอศรีประจันต์และอำเภอดอนเจดีย์
อำเภอแสวงหา
อำเภอแสวงหา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอ่างทอง.
ดู อำเภอศรีประจันต์และอำเภอแสวงหา
อำเภอโพธิ์ทอง
อำเภอโพธิ์ทอง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง.
ดู อำเภอศรีประจันต์และอำเภอโพธิ์ทอง
อำเภอเมืองสุพรรณบุรี
อำเภอเมืองสุพรรณบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี.
ดู อำเภอศรีประจันต์และอำเภอเมืองสุพรรณบุรี
จองชัย เที่ยงธรรม
นายจองชัย เที่ยงธรรม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี และอดีตกรรมการบริหารพรรคชาติไท.
ดู อำเภอศรีประจันต์และจองชัย เที่ยงธรรม
จังหวัดสุพรรณบุรี
รรณบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร จังหวัดที่อยู่ติดกัน (จากทิศเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา) ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม และกาญจนบุรี.
ดู อำเภอศรีประจันต์และจังหวัดสุพรรณบุรี
จังหวัดอ่างทอง
ังหวัดอ่างทอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นจังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตหัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น ตุ๊กตาชาววัง งานจักสาน เป็นต้น.
ดู อำเภอศรีประจันต์และจังหวัดอ่างทอง
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3195
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3195 สายสุพรรณบุรี–ป่างิ้ว เป็นส่วนหนึ่งของถนนที่รู้จักกันทั่วไปว่า ถนนโพธิ์พระยา–ท่าเรือ เป็นทางหลวงแผ่นดินขนาด 4 ช่องจราจร ระยะทาง 33.357 กิโลเมตร เริ่มกิโลเมตรที่ 0 บริเวณทางแยกโพธิ์พระยา ตำบลโพธิ์พระยา อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี มุ่งหน้าไปทางตะวันออก เข้าสู่จังหวัดอ่างทอง ผ่านอำเภอสามโก้ ผ่านอำเภอวิเศษชัยชาญ โรงพยาบาลวิเศษชัยชาญ (ทางเข้าด้านทิศเหนือ) ผ่านจุดตัดทางแยกวิเศษชัยชาญ กับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3454 จากนั้นมุ่งขึ้นไปทางทิศตะวันออก ผ่านวัดนางในธัมมิการาม ข้ามแม่น้ำน้อยที่ตำบลศาลเจ้าโรงทอง ผ่านทางเข้าวัดม่วง ตำบลหัวตะพาน เข้าอำเภอเมืองอ่างทอง และสิ้นสุดบนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3064 ที่ทางแยกป่างิ้ว ตำบลป่างิ้ว.
ดู อำเภอศรีประจันต์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3195
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 สายบางบัวทอง–ชัยนาท หรือเรียกกันทั่วไปว่า ถนนบางบัวทอง–สุพรรณบุรี และ ถนนสุพรรณบุรี–ชัยนาท เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดชัยนาท ระยะทาง 164.21 กิโลเมตร เป็นเส้นทางที่สามารถไปภาคเหนือได้โดยไม่ต้องผ่านทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 เดิมชื่อ ถนนตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี ก่อสร้างเมื่อปี..
ดู อำเภอศรีประจันต์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340
ขวัญจิต ศรีประจันต์
วัญจิต ศรีประจันต์ มีชื่อจริงว่า เกลียว เสร็จกิจ (3 สิงหาคม พ.ศ. 2490 -) เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงพื้นบ้าน-อีแซว) ปี 2539จากเว็บไซต์หอสมุดแห่งชาติ จังหวัดสุพรรณบุรี เฉลิมพระเกียรติ สืบค้นเมื่อ 13 เมษายน 2561 จากการเป็นแม่เพลงพื้นบ้านภาคกลางที่มีชื่อเสียง เต็มไปด้วยความสามารถในการเล่นเพลงแบบหาตัวจับได้ยาก และเมื่อหันเข้าสู่วงการเพลงลูกทุ่ง ก็ได้รับความนิยมอย่างสูง มีผลงานเพลงดังมากมาย ในจำนวนนั้นก็เป็นเพลงที่เกิดจากการแต่งของตัวเองด้วยหลายเพลง โดยในการนำเสนอเพลงลูกทุ่ง ขวัญจิต ศรีประจันต์ ก็ได้นำท่วงทำนองเพลงพื้นบ้านภาคกลางเข้ามาผสมผสานอย่างลงตัว.
ดู อำเภอศรีประจันต์และขวัญจิต ศรีประจันต์
ประภัตร โพธสุธน
นายประภัตร โพธสุธน อดีตเลขาธิการพรรคชาติไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการในหลายกระทรวง หลายสมั.
ดู อำเภอศรีประจันต์และประภัตร โพธสุธน
ไสว วงษ์งาม
ว วงษ์งาม มีชื่อจริงว่า ไสว สุวรรณประทีป ศิลปินพื้นบ้าน เพลงอีแซว ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินพื้นบ้าน (สาขาเพลงพื้นบ้านภาคกลาง) จากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ เมื่อปี..
ดู อำเภอศรีประจันต์และไสว วงษ์งาม
เชาวน์ มณีวงษ์
รองศาสตราจารย์ เชาวน์ มณีวงษ์ อดีตหัวหน้าพรรคพลังชล และอดีตรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน และเป็นอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยบูรพา ระหว่างปี..
ดู อำเภอศรีประจันต์และเชาวน์ มณีวงษ์
เชาวน์วัศ สุดลาภา
นายเชาวน์วัศ สุดลาภา อดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (จอมพลประภาส จารุเสถียร) ในรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมัย ในรัฐบาลของพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์เป็นนายกรัฐมนตรี และในสมัยนายชวน หลีกภัย 1 เป็นนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่7 ที่มาจากการแต่งตั้ง สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายการต่างประเทศ (ฯพณฯ ท่าน พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณเป็นนายกรัฐมนตรี ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีด้านการบริหาร พณฯ ท่าน บรรหาร ศิลปอาชานายกรัฐมนตรีเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ประธานคณะกรรมการการศึกษาสภาผู้แทนราษฎร เลขาธิการสันนิบาตเสรีชนแห่งประเทศไทย เป็นเลขานุการคณะกรรมการปราบปรามอาชญากรรมแห่งชาติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย ผู้อำนวยการกองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย รองหัวหน้าพรรคกิจสังคมและผู้ว่าราชการในอีกหลายจังหวั.
ดู อำเภอศรีประจันต์และเชาวน์วัศ สุดลาภา
เทศบาลตำบลบ้านกร่าง
ทศบาลตำบลบ้านกร่างตำบลบ้านกร่าง ตั้งอยู่ในเขตอำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอศรีประจันต์ไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 2 กิโลเมตร สภาพพื้นที่แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นที่ตั้งของ หมู่ที่ 1 ส่วนที่ 2 เป็นที่ตั้ง ของหมู่ที่ 2 – 6 โดยมีพื้นที่ ของเทศบาลตำบลศรีประจันต์กั้นกลาง.
ดู อำเภอศรีประจันต์และเทศบาลตำบลบ้านกร่าง
เขตพื้นที่การศึกษา
ตพื้นที่การศึกษา (Educational Service Area) เป็นระบบการจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาการปกครองที่จัดแบ่งโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อจัดระบบและกระจายอำนาจการจัดการศึกษาในประเทศไทยให้ครอบคลุมมากขึ้น เดิมมีสำนักงานประจำแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ใช้ชื่อว่า "สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษ..." (สพท.) และต่อมาได้มีการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาออกเป็น 2 ระดับ คือ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา โดยจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้.
ดู อำเภอศรีประจันต์และเขตพื้นที่การศึกษา
หรือที่รู้จักกันในชื่อ อ.ศรีประจันต์