โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อำเภอระแงะ

ดัชนี อำเภอระแงะ

อำเภอระแงะ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

43 ความสัมพันธ์: พระศรีนรารัฐราชกิริณีฯพฤษภาคม พ.ศ. 2549กบฏหวันหมาดหลีกันยายน พ.ศ. 2548ภาณุ อุทัยรัตน์มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์มณฑลเทศาภิบาลรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนราธิวาสรายชื่อเทศบาลตำบลในประเทศไทยรายการรหัสไปรษณีย์ไทยรำรี มามะวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาสสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสำนักงานวิทยาเขตเกษตรศาสตร์สำเนียงตากใบสถานีรถไฟตันหยงมัสอำเภอยี่งออำเภอรือเสาะอำเภอศรีสาครอำเภอสุคิรินอำเภอสุไหงปาดีอำเภอจะแนะอำเภอโคกโพธิ์อำเภอเมืองนราธิวาสอำเภอเจาะไอร้องอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยจังหวัดยะลาจังหวัดนราธิวาสจังหวัดเชียงรายจูหลิง ปงกันมูลทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42ทำเนียบหัวเมืองดิเกร์ ฮูลูคลองสุไหงบารูความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ตำบลตันหยงลิมอซาไกเชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์เขตพื้นที่การศึกษา

พระศรีนรารัฐราชกิริณีฯ

ระศรีนรารัฐราชกิริณีฯ ตราประจำจังหวัดนราธิวาสในปัจจุบัน (เริ่มใช้ พ.ศ. 2520) แสดงภาพช้างเผือกในใบเรือ หมายถึง พระศรีนรารัฐราชกิริณีฯ พระศรีนรารัฐราชกิริณีฯ ช้างสำคัญในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นช้างสำคัญอยู่ในตระกูล “พรหมพงศ์” จำพวก “อัฏฐทิศ” ชื่อ “อัญชัน” พระศรีนรารัฐราชกิริณีฯ เป็นช้างพังเผือก พลัดจากแม่ช้างป่าบริเวณป่าเทือกเขากือซา ตำบลจะแนะ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส นายมายิ มามุ ราษฎรบ้านกูมุง ตำบลจะแนะ ผู้พบได้ตั้งชื่อให้เป็นภาษาพื้นเมืองว่า จิ ต่อมาได้ชื่อว่า พังจิตรา นายวัชร สิงคิวิบูลย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม..

ใหม่!!: อำเภอระแงะและพระศรีนรารัฐราชกิริณีฯ · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและพฤษภาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กบฏหวันหมาดหลี

กบฏหวันหมาดหลี เป็นเหตุการณ์กบฏที่เกิดที่หัวเมืองปักษ์ใต้ รัชสมัยของรัชกาลที่ 3 เมื่อปีระกา นพศก..

ใหม่!!: อำเภอระแงะและกบฏหวันหมาดหลี · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน พ.ศ. 2548

อห์น โรเบิร์ต.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและกันยายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

ภาณุ อุทัยรัตน์

นายกองเอกภาณุ อุทัยรัตน์ ผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้อดีตเลขานุการผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กรรมการธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย อดีตเลขาธิการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) และอดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจำ (นักบริหารระดับสูง) อดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทยอดีตที่ปรึกษาด้านความมั่นคง(เจ้าหน้าที่นโยบายและแผน10 ชช) สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย และเป็นเลขาธิการคนแรกของ ศอ.บต.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและภาณุ อุทัยรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ (อังกฤษ: Princess of Naradhiwas University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 77 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาสก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ภายหลังจากการหลอมรวมวิทยาลัยต่างๆ และยกฐานะขึ้นจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส วิทยาลัยการอาชีพตากใบ วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเด็จพระโสทรเชษฐภคินีเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 8 และ 9 เนื่องด้วยพระองค์ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พุทธศักราช 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนที่ 14ก วันที่ 8 กุมภาพัน..

ใหม่!!: อำเภอระแงะและมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเทศาภิบาล

มณฑลเทศาภิบาลคือระบบแบ่งเขตการปกครองส่วนภูมิภาคในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่มีการใช้มาจนถึงสมัยช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สองประมาณ 7 ปี เป็นการเลียนแบบการปกครองของอังกฤษในพม่าและมาเลเซีย เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2440 โดยพระราชดำริของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ มณฑลมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครอง เจ้าเมืองไม่มีอำนาจที่จะปกครอง หน่วยการปกครองเรียงจากใหญ่ไปเล็กได้ดังนี้ ในปี พ.ศ. 2458 ดินแดนสยามมีมณฑลอยู่ 19 แห่งครอบคลุมพื้นที่ 72 เมือง (เปลี่ยนเป็น จังหวัด ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจตกต่ำจึงทำให้หลายมณฑลถูกยุบรวมกันตั้งแต่ปี พ.ศ. 2468 (มณฑลเพชรบูรณ์ถูกยุบลงไปก่อนหน้านั้นแล้ว) ภายหลังจึงคงเหลืออยู่เพียง 14 มณฑล ได้แก่ กรุงเทพพระมหานคร มณฑลจันทบุรี มณฑลนครชัยศรี มณฑลนครสวรรค์ มณฑลนครศรีธรรมราช มณฑลนครราชสีมา มณฑลปราจีนบุรี มณฑลปัตตานี มณฑลพายัพ มณฑลพิษณุโลก มณฑลภูเก็ต มณฑลราชบุรี มณฑลอยุธยา และมณฑลอุดรธานี ทั้งหมดถูกล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 2476 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อมีการตราพระราชบัญญัติการบริหารราชการส่วนภูมิภาค พุทธศักราช 2476 ขึ้น และนับจากนั้น จังหวัดก็ได้กลายเป็นเขตการปกครองย่อยของประเทศไทยที่มีระดับสูงที.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและมณฑลเทศาภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนราธิวาส

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนราธิวาส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเทศบาลตำบลในประเทศไทย

ทศบาลตำบล เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดเล็ก โดยทั่วไปเทศบาลตำบลมีฐานะเดิมเป็นสุขาภิบาลหรือองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) การจัดตั้งเทศบาลตำบลกระทำโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะท้องถิ่นขึ้นเป็นเทศบาลตำบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 เทศบาลตำบลมีนายกเทศมนตรีคนหนึ่งทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 12 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรเขตเทศบาล ปัจจุบัน ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: อำเภอระแงะและรายชื่อเทศบาลตำบลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย

นี่คือรายชื่อรหัสไปรษณีย์ไทยเรียงตามจังหวั.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและรายการรหัสไปรษณีย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รำรี มามะ

รำรี มามะ (เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2493) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส 4 สมั.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและรำรี มามะ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส เป็นหน่วยงานหลักในการบริหารหลักในพื้นที่วิทยาเขตแห่งนี้ และมีภารกิจในการผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ทั้งระดับปริญญาตรี,และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพด้านเกษตร ที่มีคุณภาพ มีความรู้เป็นเลิศทางวิชาการ ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ และเป็นที่ยอมรับของสังคม ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนพัฒนา และส่งเสริมให้มีการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และองค์ความรู้ใหม่ พร้อมถ่ายทอดสู่สังคม โดยคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทำการเรียนการสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) ซึ่งเป็นหลักสูตรดั้งเดิมที่เคยเปิดสอน ส่วนวิทยาลัยเกษตร อนุปริญญาต่อเนื่องได้เปิดหลักสูตรวิทยาศาตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์เกษตร) ขึ้นมาใหม.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500) พระราชธิดาพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระขนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ในพระราชวังดุสิตสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี มีพระธิดา 2 พระองค์ คือ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ พระองค์ทรงเป็นเจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์ผู้มีผลงานดีเด่นของโลกในสาขาสารเคมีก่อมะเร็ง และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ทรงก่อตั้งสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: อำเภอระแงะและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานวิทยาเขตเกษตรศาสตร์

ำนักงานวิทยาเขตเกษตรศาสตร์ เป็นหน่วยงานกลางในการอำนวยการบริหารและบริการประสานงานใน คณะเกษตรศาสตร์ และวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส ที่มุ่งเน้นให้การศึกษา สร้างสรรคและพัฒนาความรู้ ให้บริการทางวิชาการ รวมทั้งสืบสานและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับนโยบายการศึกษา การพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ โดยเฉพาะการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางด้านเกษตรแ.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและสำนักงานวิทยาเขตเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สำเนียงตากใบ

ษาไทยถิ่นใต้สำเนียงตากใบ หรือภาษาเจ๊ะเห เป็นภาษาไทยถิ่นใต้กลุ่มหนึ่ง ที่พูดกันมากตั้งแต่อำเภอปานาเระ อำเภอสายบุรีของจังหวัดปัตตานี ลงไปจนถึงชายแดนไทย-มาเลเซียฝั่งตะวันออก โดยเฉพาะอำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รวมถึงในเขตอำเภออื่นๆ ของจังหวัดนราธิวาสด้วย นอกจากนี้ ภาษาเจ๊ะเห ยังใช้พูดกันในกลุ่มคนมาเลเซียเชื้อสายไทยในรัฐกลันตันของมาเลเซียด้วย ถือเป็นภาษาไทยถิ่นใต้ที่มีเอกลักษณ์พิเศษ มีการคำที่แตกต่างจากภาษาไทยถิ่นใต้ทั่วไปค่อนข้างมากคำพูดและสำเนียงภาษาได้สร้างความพิศวงแก่ชาวใต้ด้วยกันเองรวมไปถึงชาวไทยกลุ่มอื่นด้วย คือสำเนียงพูดเสียงชาวใต้ผสมกับภาษากับภาษาไทยถิ่นเหนือ เช่นถ้าชาวตากใบถามว่ามาทำไม เขาจะพูดว่า ”มาเญิใด๋” ปลายประโยคทอดเสียงยาวว่า “มาเญียด้าย” อนึ่งสำเนียงตากใบมีลักษณะสำเนียงคล้ายกับกลุ่มภาษาไทยถิ่นตะวันออก (ภาษาไทยถิ่นจันทบุรี, ภาษาไทยถิ่นระยอง, เป็นต้น).

ใหม่!!: อำเภอระแงะและสำเนียงตากใบ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟตันหยงมัส

นีรถไฟตันหยงมัส เป็นสถานีรถไฟระดับ 1 ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ในเส้นทางรถไฟสายใต้ ตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส มีจำนวนราง 3 ชานชลาราง ใช้อาณัติสัญญาณแบบประแจสายลวด และแบบหางปลา ระยะทางห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพ 1,215.50 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 18-21 ชั่วโมง หมวดหมู่:สถานีรถไฟ สายใต้ หมวดหมู่:แขวงบำรุงทางตันหยงมัส.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและสถานีรถไฟตันหยงมัส · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอยี่งอ

อำเภอยี่งอ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและอำเภอยี่งอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอรือเสาะ

อำเภอรือเสาะ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและอำเภอรือเสาะ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอศรีสาคร

อำเภอศรีสาคร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและอำเภอศรีสาคร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสุคิริน

อำเภอสุคิริน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและอำเภอสุคิริน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสุไหงปาดี

อำเภอสุไหงปาดี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและอำเภอสุไหงปาดี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอจะแนะ

อำเภอจะแนะ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและอำเภอจะแนะ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโคกโพธิ์

อำเภอโคกโพธิ์ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและอำเภอโคกโพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองนราธิวาส

อำเภอเมืองนราธิวาส เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและอำเภอเมืองนราธิวาส · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเจาะไอร้อง

อำเภอเจาะไอร้อง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและอำเภอเจาะไอร้อง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติในประเทศไทย

น้ำตกเหวสุวัต อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติในประเทศไทย เกิดขึ้นจากพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาต..

ใหม่!!: อำเภอระแงะและอุทยานแห่งชาติในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดยะลา

ลา เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและจังหวัดยะลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนราธิวาส

นราธิวาส เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นจังหวัดชายแดนใต้สุดของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลตะวันออกของแหลมมลายู ห่างจากกรุงเทพฯ ทางรถยนต์ประมาณ 1,149 กิโลเมตร โดยมีเนื้อที่ประมาณ 4,475.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,797,143.75 ไร่ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดปัตตานีในเขตอำเภอสายบุรี อำเภอไม้แก่น และอ่าวไทย ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทยและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดยะลาในเขตอำเภอบันนังสตา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้และภูเขา 2 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งหมด มีป่าพรุประมาณ 361,860 ไร่ ทางแถบทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดทิวเขาสันกาลาคีรีซึ่งเป็นแนวกั้นพรมแดนไทย-มาเลเซีย ลักษณะพื้นที่จะมีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศตะวันออก พื้นที่ราบส่วนใหญ่อยู่บริเวณติดกับอ่าวไทยและที่ราบลุ่มบริเวณแม่น้ำ 4 สาย คือ แม่น้ำบางนรา แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำตากใบ และแม่น้ำโก-ลก มีประชากรจำนวน 796,239 คน แยกเป็นชาย 393,837 คน หญิง 402,402 คน โดยจังหวัดนราธิวาสมีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการอุตสาหกรรมอยู่ที่อำเภอสุไหงโก-ลก ซึ่งเป็นอำเภอที่มีขนาดใหญ่และมีความเจริญกว่าตัวจังหวัดมาก.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและจังหวัดนราธิวาส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงราย

ังหวัดเชียงราย (55px เจียงฮาย; 50px) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทยวน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มีน้ำแม่กก น้ำแม่อิง แม่น้ำรวก และแม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศพม่า และประเทศลาว หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้ ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและจังหวัดเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

จูหลิง ปงกันมูล

ูหลิง ปงกันมูล หรือ จุ้ย (29 มีนาคม พ.ศ. 2522 — 8 มกราคม พ.ศ. 2550) เป็นข้าราชการครู ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านกูจิงลือปะ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส ผู้ถูกจับเป็นตัวประกันไปคุมขังไว้ในอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กใกล้มัสยิดประจำหมู่บ้าน และถูกรุมทำร้ายจนบาดเจ็บสาหัส เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2549 เจ้าหน้าที่สามารถช่วยครูจูหลิงได้และนำตัวส่งโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ และส่งต่อไปยังโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ในวันต่อมา เนื่องจากเธอถูกตีจนสมองกระทบกระเทือนอย่างรุนแรง สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถได้ทรงรับจูหลิงเป็นคนไข้ในพระราชินูปถัมภ์กระทั่งเสียชีวิต.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและจูหลิง ปงกันมูล · ดูเพิ่มเติม »

ทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย

ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติอยู่อย่างมากมาย และยังมีความอุดมสมบูรณ์อยู่ แบ่งออกเป็น ทรัพยากรดิน ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรน้ำ และทรัพยากรแร่ธาต.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42 สายคลองแงะ–จุดผ่านแดนถาวรสุไหงโก-ลก (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) หรือที่เรียกกันในช่วงจังหวัดปัตตานีถึงนราธิวาสว่า ถนนเพชรเกษมสายปัตตานี–นราธิวาส หรือ ถนนเกาหลี หรือ บาตะฮ กอลี ในภาษามลายูปัตตานี เป็นทางหลวงแผ่นดินที่เชื่อมจังหวัดสงขลาเข้ากับจังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42 · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบหัวเมือง

ทำเนียบหัวเมือง คือเขตการปกครองในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ประเทศสยามมีหัวเมืองขึ้นอยู่ 474 หัวเมือง หลักฐานที่ได้จากจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ที่ได้จารึกไว้ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยได้จารึกไว้ที่คอสอง เฉลียงพระเบียงล้อมพระอุโบสถทั้งสี่ด้าน หรืออีกอย่างหนึ่งก็คือระเบียงคด ได้เขียนภาพหัวเมืองขึ้นกรุงเทพมหานคร 474 หัวเมือง แต่ในปัจจุบันภาพดังกล่าวได้หายไปหมดแล้ว คงเหลือแต่จารึกที่บอกชื่อหัวเมืองเหล่านั้น กับเจ้าเมืองบางเมืองอยู่ราวครึ่งหนึ่ง ตรวจได้ศิลาจารึก 77 แผ่น ทำเนียบเมือง 194 เมือง แบ่งออกได้ดังนี้.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและทำเนียบหัวเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ดิเกร์ ฮูลู

กร์ ฮูลู (Dikir Hulu) เป็นการละเล่นพื้นบ้านของชาวไทยมุสลิมใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ดิเกร์มาจากภาษาอาหรับว่า ดิเกร์อาวัล หรือดิเกร์อาวา ซึ่งหมายถึงการสวดหรือการร้องเพลง คำว่าฮูลู เป็นภาษามลายู หมายถึง ยุคก่อนหรือจุดเริ่มต้นพัฒนามาจากพิธีกรรมประกอบดนตรีเพื่อรักษาผู้ป่วยที่เชื่อว่าเกิดจากการกระทำของภูตผี ตั้งแต่สมัยที่ผู้คนในบริเวณนี้ยังนับถือศาสนาพุทธนิกายมหายานหรือศาสนาฮินดู ซึ่งได้รับอิทธิพลจากชวา ภายหลังเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลามจึงได้นำการกล่าวสรรเสริญพระเจ้าในศาสนาอิสลามแทน.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและดิเกร์ ฮูลู · ดูเพิ่มเติม »

คลองสุไหงบารู

ลองสุไหงบารู (มลายูปัตตานี: سوڠاي بهارو) หรือ คลองใหม่ เป็นคลองขุดสายหนึ่งในอำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี คลองนี้ถูกขุดขึ้นตามคำสั่งของพระยาวิชิตภักดี (ตนกูสุไลมาน ซาฟุดดิน) หรือตนกูบอสู เพื่อเป็นทางลัดของแม่น้ำปัตตานีที่คดโค้งเพื่อความสะดวกแก่บรรดาพ่อค้าที่ล่องเรือลงไปค้าขายยังเมืองยะลาที่อยู่พื้นที่ชั้นในและยังประโยชน์ด้านเก็บภาษีอากรแก่เมืองปัตตานีด้วย แต่การขุดคลองดังกล่าวได้สร้างผลกระทบต่อพื้นที่เกษตรกรรมของชาวเมืองหนองจิก จนเกิดปัญหานาร้างเนื่องจากปัญหาถูกน้ำเค็มรุกล้ำเรื่อยมามาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและคลองสุไหงบารู · ดูเพิ่มเติม »

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย

นการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย หรือ ไฟใต้ เป็นความขัดแย้งที่กำลังดำเนินอยู่ในภาคใต้ของประเทศไทย ความขัดแย้งนี้กำเนิดในปี..

ใหม่!!: อำเภอระแงะและความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

ณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นคณะเกษตรศาตร์แห่งแรกของสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดนราธิวาส มีวัตถุประสงค์ในจัดการเรียนการสอนในด้านการเกษตร โดยแบ่งออกเป็น 2 แห่ง ได้แก่ คณะเกษตรศาสตร์ ชั้นปริญญาตรี และวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: อำเภอระแงะและคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลตันหยงลิมอ

ตันหยงลิมอ เป็นตำบลในอำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การเกษตรกรรม.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและตำบลตันหยงลิมอ · ดูเพิ่มเติม »

ซาไก

ซาไก เป็นมนุษย์โบราณอาจจะที่มีมาตั้งแต่สมัยยุคหิน ประมาณ 1,500–10,000 ปีมาแล้ว รูปร่างผอมมีผิวดำ ฝีปากหนา ท้องป่อง น่องสั้นเรียว ผมหยิกเป็นก้นหอยติดศีรษะ ชาติพันธุ์นิกรอยด์ หรือเนกริโต ตระกูลออสโตร-เอเชียติก อยู่กระจายกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ราว 7-60 คน ในรัฐเกดะห์ มาเลเซีย ในส่วนลึกของนิวกินี ฟิลิปปินส์และหมู่เกาะอันดามัน เรียกตนเองว่า “มันนิ” (Mani) ส่วนผู้อื่นเรียกว่า เงาะ เงาะป่า ชาวป่า ซาแก หรือ โอรัง อัสลี (Orang Asli) หรือ กอ.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและซาไก · ดูเพิ่มเติม »

เชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์

ื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์ (18 มกราคม พ.ศ. 2552 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เป็นรายการที่เป็นรายงานผลการปฏิบัติงานของรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ โดยออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (เอ็นบีที) ทุกวันอาทิตย์ เวลา 09.00 - 10.00 น. โดยภายในรายการมีการส่ง SMS แสดงความคิดเห็นและตั้งข้อซักถาม และยังมีช่องทางในการสื่อสารกับนายกรัฐมนตรี คือ ทุกวันศุกร์ หน้า 2 ของหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ จะมีการตอบคำถามของท่านนายกรัฐมนตรีที่ประชาชนส่งคำถามเข้าม.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและเชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตพื้นที่การศึกษา

ตพื้นที่การศึกษา (Educational Service Area) เป็นระบบการจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาการปกครองที่จัดแบ่งโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อจัดระบบและกระจายอำนาจการจัดการศึกษาในประเทศไทยให้ครอบคลุมมากขึ้น เดิมมีสำนักงานประจำแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ใช้ชื่อว่า "สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษ..." (สพท.) และต่อมาได้มีการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาออกเป็น 2 ระดับ คือ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา โดยจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้.

ใหม่!!: อำเภอระแงะและเขตพื้นที่การศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ระแงะอ.ระแงะ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »