โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อำเภอบางบัวทอง

ดัชนี อำเภอบางบัวทอง

งบัวทอง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนนทบุรี ในอดีตมีพื้นที่กว้างใหญ่มากโดยคลุมพื้นที่อำเภอไทรน้อย อำเภอบางใหญ่ และบางส่วนของอำเภอปากเกร็ด (ปัจจุบันแยกออกไปแล้ว) มีประวัติศาสตร์มาตั้งแต่ พ.ศ. 2445 เดิมพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม แต่ปัจจุบันเมื่อความเจริญจากกรุงเทพมหานครแผ่ขยายออกมาจนถึงบางบัวทอง ทำให้มีหมู่บ้านจัดสรร บริษัทห้างร้าน สำนักงานจำนวนมาก รวมถึงหน่วยงานราชการต่าง ๆ ทยอยย้ายเข้ามาอยู่ในท้องที่นี้ แต่ก็ยังคงเห็นท้องนาบางส่วนอยู่ นอกจากนี้ อำเภอบางบัวทองยังเป็นอำเภอที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของจังหวัดนนทบุรีด้วย (และมีความหนาแน่นมากเป็นอันดับ 3).

81 ความสัมพันธ์: บางบัวทอง (แก้ความกำกวม)บางพลูบางรักพระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติพิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกรภาษามลายูบางกอกมัสยิดนูรุ้ลอิสลามมนัส ปิติสานต์รายชื่อวัดในจังหวัดนนทบุรีรายชื่อถนนในจังหวัดนนทบุรีรายชื่อทางแยกในจังหวัดนนทบุรีรายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนนทบุรีรายชื่อเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพรายการรหัสไปรษณีย์ไทยรถไฟฟ้ามหานครรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมลำดับเวลาของจังหวัดในประเทศไทยวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์วัดพระแม่สกลสงเคราะห์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดธนบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรีสยามแม็คโครสะพานพระราม 4สถานีคลองบางไผ่หมู่บ้านบุศรินทร์หนู กันภัยอภิวันท์ วิริยะชัยอำเภอบางใหญ่อำเภอลาดหลุมแก้วอำเภอปากเกร็ดอำเภอไทรน้อยอำเภอเมืองนนทบุรีอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554จังหวัดนนทบุรีจังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554ถนนบรมราชชนนีถนนชัยพฤกษ์ถนนบางกรวย-ไทรน้อยถนนบ้านกล้วย-ไทรน้อยถนนพระรามที่ 2ถนนพหลโยธินถนนกัลปพฤกษ์ถนนกาญจนาภิเษกถนนราชพฤกษ์ถนนนครอินทร์ทางรถไฟสายบางบัวทองทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304...ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 347ทางแยกต่างระดับบางบัวทองทางแยกต่างระดับบางใหญ่ที่สุดในประเทศไทยท่าเตียนคลองลากค้อนงูกรีนแมมบาตะวันออกงูกรีนแมมบาตะวันตกตำบลบางพลับ (อำเภอปากเกร็ด)ตำบลพิมลราชแก้วเก้า กรกตแยกบางบัวทองแยกบางพลูแยกปากเกร็ดโรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์โรงเรียนวัดลาดปลาดุกโรงเรียนสารสาสน์วิเทศบางบัวทองเหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558เทศบาลตำบลบางใหญ่เทศบาลตำบลไทรน้อยเทศบาลตำบลเสาธงหินเทศบาลเมืองเทศบาลเมืองบางบัวทองเทศบาลเมืองพิมลราชเขตพื้นที่การศึกษาเด่นเก้าแสน เก้าวิชิต ขยายดัชนี (31 มากกว่า) »

บางบัวทอง (แก้ความกำกวม)

งบัวทอง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและบางบัวทอง (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

บางพลู

งพลู อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและบางพลู · ดูเพิ่มเติม »

บางรัก

งรัก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและบางรัก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539

ระราชพิธีกาญจนาภิเษก (Golden Jubilee) เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาสที่พระมหากษัตริย์ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ตามคติสากล พระราชพิธีนี้จัดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยพระองค์ทรงครองราชสมบัติ เป็นปีที่ 50 ใน พุทธศักราช 2538 และครบรอบ 50 ปีจริงในวันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2539 ซึ่งถือเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติเป็นระยะเวลายาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติไทย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีหมายกำหนดการจัดงานพระราชพิธีกาญจนาภิเษก และงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ระหว่างวันที่ 8-10,12,14,23 มิถุนายน,7พฤศจิกายน..

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและพระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ

ระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ (ประสูติ 29 เมษายน พ.ศ. 2548) เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร กับท่านผู้หญิงศรีรัศมิ์ สุวะดี ถือเป็นพระรัชทายาทโดยสันนิษฐานตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร

ัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร หรือ อุทยานมังกรสวรรค์ สร้างขึ้นตามความต้องการของ นายบรรหาร ศิลปอาชา ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยได้เริ่มออกแบบและจัดสร้างพิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกรขึ้นภายในบริเวณศาลเจ้าพ่อหลักเมืองจังหวัดสุพรรณบุรี ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำสุพรรณบุรี ห่างจากฝั่งแม่น้ำไปตามถนนมาลัยแมน ตำบลรั้วใหญ่ อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ก่อตั้งขึ้นเพื่อนำเสนอเรื่องราวความเป็นมาของชาวจีนในประเทศไทย ตลอดจนประวัติศาสตร์และอารยธรรมจีน เพื่อเป็นอนุสรณ์สัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีน ครบ 20 ปีใน..

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและพิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายูบางกอก

ษามลายูบางกอก หรือ ภาษามลายูกรุงเทพ (อักษรยาวี: بڠكوق ملايو; บาซอนายูบาเกาะ) เป็นภาษามลายูถิ่นที่ใช้พูดกันในชุมชนชาวไทยเชื้อสายมลายูที่พำนักบริเวณชานเมืองของกรุงเทพมหานคร บ้างก็เป็นชนที่อาศัยมาแต่เดิม บ้างก็เป็นกลุ่มที่ถูกกวาดต้อนขึ้นภาคกลางของไทยช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ปัจจุบันมีผู้ใช้ภาษามลายูบางกอกไม่มากนักเมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนประชากรเชื้อสายมลายูในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในจังหวัดปทุมธานี และนนทบุรี และมีจำนวนมากที่หันมาใช้ภาษาไทยมาตรฐาน.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและภาษามลายูบางกอก · ดูเพิ่มเติม »

มัสยิดนูรุ้ลอิสลาม

มัสยิดนูรุ้ลอิสลาม หรือ สุเหร่าเขียว ได้รับการขึ้นทะเบียนมัสยิดเลขหมายทะเบียน 5 มัสยิดนูรุ้ลอิสลาม ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 ตำบลละหาร อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ณ ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492) โดยมีนายกาเซ็ม เจริญสุข เป็นอิหม่าม และเป็นมัสยิดสายซุนนี ที่เก่าแก่แห่งหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี เรื่องราวของชุมชนมลายูมุสลิมบ้านสุเหร่าเขียว เป็นชุมชนที่เกิดต่อจากชุมชนมุสลิมบ้านปากลัด จังหวัดสมุทรปราการ และชุมชนบ้านท่าอิฐ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ที่เกิดขึ้นตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรกในราชวงศ์จักรี เป็นปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มัสยิดนูรุ้ลอิสลาม หรือ ชุมชนบ้านสุเหร่าเขียว ประมาณกันว่าเป็นมัสยิดที่เริ่มมีขึ้นตั้งแต่ก่อนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2411) - (23 ตุลาคม พ.ศ. 2453).

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและมัสยิดนูรุ้ลอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

มนัส ปิติสานต์

มนัส ปิติสานต์ (1 กรกฎาคม พ.ศ. 2471 -) เป็นนักดนตรี และนักแต่งเพลง ที่มีชื่อเสียง เกิดที่อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี เป็นบุตรของนายมูล และนางจำเริญ ปิติสานต์ บิดารับราชการจึงติดตามบิดามาเรียนหนังสือที่อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ แล้วย้ายมาเรียนต่อชั้นมัธยมที่โรงเรียนเนติศึกษา ย่านราชวัตร จนกระทั่งเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง ได้ย้ายไปเรียนที่กองดุริยางค์ทหารอากาศ เป็นลูกศิษย์ของพระเจนดุริยางค์ รุ่นเดียวกับสง่า อารัมภีร ปรีชา เมตไตรย์ และชลหมู่ ชลานุเคราะห์ และเข้ารับราชการ เป็นนักดนตรีของกองดุริยางค์ทหารอากาศ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและมนัส ปิติสานต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดนนทบุรี

รายชื่อวัดในจังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและรายชื่อวัดในจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อถนนในจังหวัดนนทบุรี

นี่คือ รายชื่อถนนในจังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและรายชื่อถนนในจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในจังหวัดนนทบุรี

รายชื่อทางแยกในจังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและรายชื่อทางแยกในจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ

รงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ คือขนาดโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐที่กำหนดขึ้นโดยกรมสามัญศึกษาเดิม (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.) โดยกำหนดโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีจำนวนนักเรียนมากกว่า 2,501 คนขึ้นไป ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ปริมณฑลและโรงเรียนประจำจังหวัด ทั้งนี้ ไม่รวมโรงเรียนในสังกัดอื่น ๆ เช่น สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (โรงเรียนเทศบาล), สังกัดมหาวิทยาลัย (โรงเรียนสาธิต), โรงเรียนเอกชน เป็นต้น ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษแบ่งตามภาค ตามจำนวนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ไม่นับ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จังหวัดนครปฐม โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดสกลนคร ซึ่งมีเฉพาะนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและรายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนนทบุรี

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนนทบุรี จำแนกตามอำเภอที่ตั้ง.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

การเดินรถโดยสารประจำทางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (นนทบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร ปทุมธานี และนครปฐม) แบ่งเป็นเส้นทางรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ มีทั้งหมด 8 เขตการเดินรถ จำนวน 126 เส้นทาง, เส้นทางรถโดยสารประจำทางร่วมบริการ จำนวน 115 เส้นทาง และเส้นทางที่มีรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ และรถโดยสารประจำทางร่วมบริการ ให้บริการร่วมกัน จำนวน 26 เส้นทาง รวมทั้งหมด 216 เส้นทาง โดยเริ่มให้บริการประจำวัน ตั้งแต่ราว 02:30-05:00 น. และยุติการให้บริการประจำวัน ตั้งแต่ราว 21:00-01:00 น. นอกจากนี้ ยังมีรถให้บริการตลอดคืน ซึ่งจะคิดค่าธรรมเนียมเพิ่มจากปกต.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและรายชื่อเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย

นี่คือรายชื่อรหัสไปรษณีย์ไทยเรียงตามจังหวั.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและรายการรหัสไปรษณีย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร

รถไฟฟ้ามหานคร (Metropolitan Rapid Transit, MRT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) รถไฟฟ้ามหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และสายฉลองรัชธรรม.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและรถไฟฟ้ามหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line) หรือ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง (MRT Purple Line) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม. หรือ MRTA) เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) ส่วนต่อขยายเดิมช่วงเตาปูน-บางใหญ่, สายสีม่วงเดิม ช่วงหอสมุดแห่งชาติ-เตาปูน และสายสีส้มเดิม ช่วงสามเสน (หอสมุดแห่งชาติ)-ราษฎร์บูรณะ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน กลายเป็นรถไฟฟ้าเส้นทางใหม่ที่กำหนดให้เป็นสายสีม่วง บรรจุในแผนแม่บทฯ ของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 นาม ฉลองรัชธรรม เป็นชื่อที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเพื่อเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง ระยะแรก สายคลองบางไผ่-นนทบุรี-เตาปูน มีความหมายว่า “เฉลิมฉลองพระราชาที่ปกครองโดยธรรม” โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยได้ยื่นเรื่องขอพระราชทานชื่อเส้นทาง เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสพระราชพืธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเวลาของจังหวัดในประเทศไทย

ทความนี้เรียงลำดับเวลาของจังหวัดในประเทศไทยตามหัวข้อต่าง ๆ เช่น การจัดตั้งและยุบเลิกจังหวัด การเปลี่ยนนามจังหวัด ตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและลำดับเวลาของจังหวัดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์

วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์ (ตัวเต็ม: 普頌皇恩寺, ตัวย่อ: 普頌皇恩寺, พินอิน: Pǔ sòng huáng ēn sì ผู่ซ่งหวางเอินสื้อ, ฮกเกี้ยน: โพ้ซงอ๋องอุนซี่, สำเนียงแต้จิ๋ว: โพ้วซึงอ๊วงอึ๋นยี่) หรือ วัดเล่งเน่ยยี่ 2 เป็นวัดมหายานในความอุปถัมภ์ของคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 75 หมู่ที่ 4 ตำบลโสนลอย อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี บนพื้นที่ 12 ไร่เศษ จัดสร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เนื่องในวโรกาสงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี 9 มิถุนายน พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระแม่สกลสงเคราะห์

วัดพระแม่สกลสงเคราะห์ (Beata Maria Virginis Omnis Gratiae Mediatricis; The Blessed Virgin Mary The Mediatrix of all Graces Church) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิก ขนาดใหญ่ที่สุดในเขตอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 179 หมู่ 5 ตำบลโสนลอย บนที่ดินบริเวณหลังตลาดสดเทศบาลเมืองบางบัวทอง ริมคลองขุนพระพิมลราชา ใกล้กับถนนกาญจนาภิเษก มีพิธีเสกวัดเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1927 (พ.ศ. 2470) โดยมีการจัดสร้างอาคารวัดขึ้นใหม่อีก 2 ครั้ง ในรอบ 65 ปี ทั้งนี้ วัดพระแม่สกลสงเคราะห์หลังปัจจุบัน มีพิธีเสกเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 1992 (พ.ศ. 2535) ปัจจุบัน (ตั้งแต่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2009) มีคุณพ่อยอห์น บัปติสตา บุญเสริม เนื่องพลี ดำรงตำแหน่งอธิการ.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและวัดพระแม่สกลสงเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดธนบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดธนบุรี.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี มี 7 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2557) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 7 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สยามแม็คโคร

ทความนี้เกี่ยวกับบริษัทค้าส่งในประเทศไทย สำหรับความหมายอื่นดูที่ แม็คโคร บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) (SIAM MAKRO PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:MAKRO) เป็นธุรกิจค้าส่งในเครือเจริญโภคภัณฑ์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและสยามแม็คโคร · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระราม 4

นพระราม 4 (Rama IV Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมการคมนาคมระหว่างพื้นที่ตำบลบางตะไนย์กับตำบลปากเกร็ด อำเภอปากเกร็ด ทางตอนเหนือของจังหวัดนนทบุรี โดยสร้างเป็นส่วนต่อจากสะพานลอยรถข้ามห้าแยกปากเกร็ดตามแนวถนนแจ้งวัฒนะ ยกระดับเหนือถนนแจ้งวัฒนะย่านกลางเมืองปากเกร็ด ข้ามแม่น้ำตรงด้านเหนือของเกาะเกร็ด แล้วเชื่อมต่อกับถนนชัยพฤกษ์ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำ (ก่อนที่จะไปบรรจบถนนราชพฤกษ์) สะพานแห่งนี้สร้างขึ้นตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่อำเภอปากเกร็ด อำเภอบางบัวทอง อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2540 โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณห้าแยกปากเกร็ดและถนนเชื่อมต่อ เพื่ออำนวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่การคมนาคม การขนส่ง และการจราจร กรมทางหลวงชนบทได้เริ่มดำเนินการก่อสร้างถนนตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2546กรมทางหลวงชนบท.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและสะพานพระราม 4 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีคลองบางไผ่

นีคลองบางไผ่ (อังกฤษ: Khlong Bangphai Station, รหัส PP01) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ที่ถนนกาญจนาภิเษก อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ตั้งอยู่บริเวณใกล้แหล่งชุมชนบริเวณนอกพื้นที่เศรษฐกิจอำเภอบางใหญ่ โดยเป็นสถานีต้นทางของรถไฟฟ้าสายนี้.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและสถานีคลองบางไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้านบุศรินทร์

หมู่บ้านบุศรินทร์ วงแหวน-รัตนาธิเบศร.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและหมู่บ้านบุศรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

หนู กันภัย

หนู กันภัย มีชื่อจริงว่า นายสมพงษ์ กันภัย เป็นนักสักที่มีชื่อเสียง โดยเฉพาะการสักยันต์แบบที่เรียกว่า "ห้าแถว" ซึ่งอ้างว่ามีอิทธิฤทธิ์ทำให้ผู้สักอยู่ยงคงกระพัน ของมีคมฟันแทงไม่เข้า นายสมพงษ์เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและหนู กันภัย · ดูเพิ่มเติม »

อภิวันท์ วิริยะชัย

ันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีหลายกระทรวง.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและอภิวันท์ วิริยะชัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางใหญ่

งใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนนทบุรี มีประชากรค่อนข้างมาก แต่เดิมตั้งอยู่บริเวณที่คลองสามสายมาบรรจบกันได้แก่ ปลายคลองอ้อมนนท์ สุดคลองบางกอกน้อย และต้นคลองบางใหญ่ แต่ปัจจุบันตัวอำเภอได้ย้ายมาอยู่ในหมู่บ้านบางใหญ่ซิตี้ ซึ่งได้รับความเจริญอย่างรวดเร็วจากการก่อสร้างถนนกาญจนาภิเษกและถนนรัตนาธิเบศร์ มีบริการที่ทันสมัย เช่น โรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า ตลาดกลางของจังหวัด หน่วยงานราชการ หมู่บ้านจัดสรรที่เกิดใหม่ ดังนั้น พื้นที่การเกษตรอาจไม่พบเห็นในเขตเมืองแล้ว โดยส่วนหนึ่งของเขตเมืองบางใหญ่อยู่ในพื้นที่ของอำเภอบางบัวทอง.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและอำเภอบางใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอลาดหลุมแก้ว

ลาดหลุมแก้ว เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและอำเภอลาดหลุมแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปากเกร็ด

ปากเกร็ด เป็นเป็นอำเภอที่มีตำบลมากที่สุดในจังหวัดนนทบุรี ที่ตั้งมีแม่น้ำเจ้าพระยาตัดผ่านตัวอำเภอ สภาพพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกส่วนใหญ่เป็นสวนผลไม้ต่าง ๆ ไร่นา ท้องทุ่ง ปศุสัตว์ ดังเช่นในชนบท ส่วนทางฝั่งตะวันออกมีที่พักอาศัย อุตสาหกรรม ห้างสรรพสินค้า โรงภาพยนตร์ ซูเปอร์มาร์เก็ต และยังเป็นที่ตั้งหน่วยงานราชการส่วนกลางของประเทศ ในอดีตอำเภอปากเกร็ดเคยขึ้นกับจังหวัดพระนครอยู่ช่วงหนึ่ง และบางตำบลเคยอยู่ในอำเภอบางบัวทอง.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและอำเภอปากเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอไทรน้อย

ทรน้อย เป็นอำเภอที่จัดตั้งขึ้นล่าสุด รวมทั้งมีพื้นที่มากที่สุดและมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดในจังหวัดนนทบุรี สภาพพื้นที่ทั่วไปยังคงสภาพชนบทไว้ เช่น ท้องนา ท้องไร่ บ้านเรือนแบบเรียบง่าย แต่มีระบบสาธารณูปโภคชั้นสูง เช่น โรงไฟฟ้า บ่อขยะ คลองชลประทาน และยังพบวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวนนทบุรีอีกด้วย อำเภอไทรน้อยเป็นจุดเชื่อมต่อที่สำคัญระหว่างจังหวัดนนทบุรี นครปฐม ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา และสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและอำเภอไทรน้อย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองนนทบุรี

มืองนนทบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา เศรษฐกิจ และการสาธารณสุขของจังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและอำเภอเมืองนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554

อุทกภัยในประเทศไท..

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี..

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและจังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนบรมราชชนนี

นนบรมราชชนนี (Thanon Borommaratchachonnani) เป็นเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร ระหว่างเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร และอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ระยะทางรวม 33.984 กิโลเมตร เฉพาะส่วนที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงมีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338 สายอรุณอมรินทร์–นครชัยศรี และมีระยะทาง 31.265 กิโลเมตร.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและถนนบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนชัยพฤกษ์

นนชัยพฤกษ์ (Thanon Chaiyaphruek) หรือ ทางหลวงชนบท น.3030 สายชัยพฤกษ์ เป็นเส้นทางการคมนาคมในพื้นที่อำเภอปากเกร็ดและอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี โดยเป็นถนนแอสฟัลต์คอนกรีตขนาด 6 ช่องทางจราจร เขตทางกว้าง 60 เมตรกรมทางหลวงชนบท.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและถนนชัยพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนบางกรวย-ไทรน้อย

นนบางกรวย-ไทรน้อย (Thanon Bang Kruai - Sai Noi) ประกอบด้วยเส้นทางที่มีชื่อซ้ำกันสองสาย สายแรกคือถนนบางกรวย-ไทรน้อยสายหลัก ซึ่งระยะทางส่วนใหญ่ของถนนได้รับการกำหนดให้เป็น "ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215" เป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญสายหนึ่งบนพื้นที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาในจังหวัดนนทบุรี เนื่องจากตัดผ่านเกือบทุกอำเภอของจังหวัด ได้แก่ อำเภอบางกรวย อำเภอเมืองนนทบุรี อำเภอบางใหญ่ อำเภอบางบัวทอง และอำเภอไทรน้อยตามลำดับ ส่วนอีกสายคือถนนบางกรวย-ไทรน้อยสายแยกเข้าตัวอำเภอบางใหญ่เก่า เป็นเส้นทางสั้น ๆ ในเขตอำเภอบางใหญ่ ระยะทางบางส่วนของถนนสายนี้ได้รับการกำหนดให้เป็น "ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3584".

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและถนนบางกรวย-ไทรน้อย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนบ้านกล้วย-ไทรน้อย

นนบ้านกล้วย-ไทรน้อย (Thanon Ban Kluai - Sai Noi) หรือ ทางหลวงชนบท น.1013 สายแยกทางหลวงหมายเลข 9 (กม.ที่ 43+490) - อำเภอไทรน้อย เป็นถนนขนาด 2 ช่องการจราจรในจังหวัดนนทบุรี เริ่มจากถนนกาญจนาภิเษก (ฝั่งตะวันตก) ในพิ้นที่ตำบลพิมลราช (ในเขตเทศบาลเมืองบางบัวทอง) อำเภอบางบัวทอง ไปทางทิศตะวันตก เข้าสู่ตำบลพิมลราช (ในเขตเทศบาลเมืองพิมลราช) จากนั้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือโดยขนานไปกับแนวคลองพระพิมลราชา ข้ามคลองตาชมเข้าเขตตำบลไทรน้อย อำเภอไทรน้อย ไปทางทิศเดิม และไปสิ้นสุดบริเวณเขตเทศบาลตำบลไทรน้อย โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือถนนเทศบาล 6.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและถนนบ้านกล้วย-ไทรน้อย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 2

นนพระรามที่ 2 (Thanon Rama II) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 สายธนบุรี–ปากท่อ เป็นถนนที่ตัดผ่านกรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดราชบุรี เป็นเส้นทางหลักที่มุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย และยังเป็นหนึ่งในถนนพระรามทั้ง 7 สาย ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ยกเว้นถนนพระรามที่ 2 ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง ถนนพระรามที่ 2 มีระยะทางรวม 84.041 กิโลเมตร.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและถนนพระรามที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพหลโยธิน

นนพหลโยธิน (Thanon Phahon Yothin) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 สายกรุงเทพมหานคร−แม่สาย (เขตแดน) เป็นถนนสายหลักในกรุงเทพมหานคร และเป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย (ประกอบด้วยถนนพหลโยธิน ถนนมิตรภาพ ถนนสุขุมวิท และถนนเพชรเกษม) สายทางเริ่มต้นที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ผ่านภาคกลาง และมุ่งเข้าสู่ภาคเหนือของประเทศไทย สิ้นสุดที่ด่านพรมแดนแม่สาย อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย บริเวณชายแดนประเทศพม่า รวมระยะทางยาว 994.749 กิโลเมตร บางช่วงของถนนพหลโยธินอยู่ในโครงข่ายทางหลวงเอเชีย ได้แก่ ช่วงบ้านหินกองถึงอำเภอบางปะอินเป็นทางหลวงเอเชียสาย 1, ช่วงแยกหลวงพ่อโอ (เส้นแบ่งเขตจังหวัดชัยนาทกับจังหวัดนครสวรรค์) ถึงอำเภอเมืองตาก เป็นทั้งทางหลวงเอเชียสาย 1 และสาย 2 และช่วงอำเภอเมืองสระบุรีถึงบ้านหินกองเป็นทางหลวงเอเชียสาย 12 นอกจากนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ ถนนพหลโยธินช่วงตั้งแต่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เส้นทางของถนนจะเบี่ยงไปทิศตะวันออก ผ่านจังหวัดสระบุรีและจังหวัดลพบุรี แล้ววกกลับมายังจังหวัดชัยนาท เนื่องจากในสมัยก่อนต้องการให้ทางหลวงสายหลักผ่านที่ตั้งของกองทหารสำคัญของประเท.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและถนนพหลโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกัลปพฤกษ์

นนกัลปพฤกษ์ (Thanon Kanlapaphruek) หรือ ทางหลวงชนบท กท.1001 เป็นเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยเป็นถนนคอนกรีตขนาด 4 ช่องจราจร เชื่อมต่อระหว่างถนนราชพฤกษ์กับถนนกาญจนาภิเษก.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและถนนกัลปพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกาญจนาภิเษก

นนกาญจนาภิเษก (Thanon Kanchanaphisek) หรือ ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 เป็นถนนสายสำคัญที่มีเส้นทางเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนล้อมรอบตัวเมืองกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ รวมถึงผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 168 กิโลเมตร ถนนสายนี้สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจราจรที่ติดขัดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีปริมาณการจราจรและการขนส่งเพิ่มขึ้น อันเป็นผลจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเป็นทางเลี่ยงเมืองกรุงเทพมหานครที่เป็นตัวเชื่อมทางสายหลักเข้าไปสู่ทุกภาคของประเทศ เริ่มก่อสร้างครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและถนนกาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชพฤกษ์

นนราชพฤกษ์ (Thanon Ratchaphruek) หรือ ทางหลวงชนบท น.3021 สายราชพฤกษ์ เป็นถนนที่ทอดยาวจากกรุงเทพมหานครสู่จังหวัดนนทบุรี เป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญสายหนึ่ง โดยสามารถเดินทางจากถนนสาทรถึงอำเภอบางบัวทองได้โดยไม่ต้องผ่านทางแยกสัญญาณไฟจราจร (ไม่ติดไฟแดง) แม้แต่แห่งเดียว.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและถนนราชพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนนครอินทร์

นนนครอินทร์ (Thanon Nakhon In) หรือ ทางหลวงชนบท น.1020 สายนครอินทร์ เป็นเส้นทางการคมนาคมในพื้นที่อำเภอเมืองนนทบุรีและอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี โดยเป็นถนนขนาด 10 ช่องทางจราจร มีเส้นทางเริ่มต้นที่แยกติวานนท์ ในอำเภอเมืองนนทบุรี ไปบรรจบกับถนนกาญจนาภิเษกที่ทางแยกต่างระดับบางคูเวียงในอำเภอบางกรว.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและถนนนครอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายบางบัวทอง

ทางรถไฟสายบางบัวทอง หรือ ทางรถไฟสายพระยาวรพงษ์ เป็นทางรถไฟราษฎร์ที่เดินรถระหว่างอำเภอบางพลัด จังหวัดธนบุรี กับอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ตั้งแต..

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและทางรถไฟสายบางบัวทอง · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 สายแยกมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์–ต่างระดับบางใหญ่ เป็นทางหลวงแผ่นดินในกรุงเทพมหานครและจังหวัดนนทบุรี ครอบคลุมถนนสองสายต่อเนื่องกัน ได้แก่ ถนนรัตนาธิเบศร์ และถนนงามวงศ์วาน ทางหลวงสายนี้ช่วงที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานครจะอยู่ในเขตควบคุมของกรุงเทพมหานครและแขวงทางหลวงกรุงเทพ ส่วนช่วงที่อยู่ในเขตจังหวัดนนทบุรีจะอยู่ในเขตควบคุมของแขวงทางหลวงนนทบุรี โดยสองหน่วยงานหลังเป็นหน่วยงานสังกัดสำนักงานทางหลวงที่ 13 กรุงเท.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 สายปากเกร็ด–สะพานต่างระดับนครราชสีมา เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานที่เชื่อมระหว่างจังหวัดนนทบุรี กรุงเทพมหานคร จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดนครราชสีมา มีจุดเริ่มต้นบนถนนติวานนท์ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306) ที่ห้าแยกปากเกร็ด ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดบนถนนมิตรภาพ กับทางเลี่ยงเมืองนครราชสีมาด้านตะวันตก (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 204) ที่ทางแยกต่างระดับนครราชสีมา ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ระยะทางทั้งสิ้น 298.515 กิโลเมตร อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง 296.707 กิโลเมตร.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 สายบางปะอิน–แยกหลวงพ่อโอ เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานที่รู้จักกันทั่วไปในฐานะส่วนหนึ่งของโครงข่ายทางหลวงเอเชีย เป็นเส้นทางหลักที่เชื่อมต่อระหว่างกรุงเทพมหานครสู่จังหวัดในภาคกลาง และภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 150.545 กิโลเมตร ในอนาคตมีโครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษหมายเลข 5 สายบางปะอิน-นครสวรรค์ โดยใช้เส้นทางร่วมกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 หรือ ถนนบางกรวย-ไทรน้อย (Thanon Bang Kruai - Sai Noi) ซึ่งระยะทางส่วนใหญ่ของถนนมีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 สายต่อทางของอำเภอบางกรวย - ต่อเขตเทศบาลตำบลราษฎร์นิยมหมายถึงเทศบาลตำบลไทรน้อยซึ่งแต่เดิมมีฐานะเป็นสุขาภิบาลราษฎร์นิยม และอยู่ในความดูแลของสำนักงานบำรุงทางนนทบุรี (หน่วยงานของกรมทางหลวง) ประกอบด้วยเส้นทางสองสาย สายแรกคือถนนบางกรวย-ไทรน้อยสายหลัก ซึ่งเป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญสายหนึ่งบนพื้นที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาในจังหวัดนนทบุรี เนื่องจากตัดผ่านเกือบทุกอำเภอของจังหวัด คือ อำเภอบางกรวย อำเภอเมืองนนทบุรี อำเภอบางใหญ่ อำเภอบางบัวทอง และอำเภอไทรน้อยตามลำดับ ส่วนอีกสายคือถนนบางกรวย-ไทรน้อยสายแยกเข้าตัวอำเภอบางใหญ่เก่า ซึ่งเป็นเส้นทางสั้น ๆ ในเขตอำเภอบางใหญ.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33 สายสุพรรณบุรี–อรัญประเทศ (เขตแดนไทย/กัมพูชา) เป็นทางหลวงแผ่นดินที่เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดในภาคกลางและภาคตะวันออกของประเทศไทย สายทางเริ่มต้นในจังหวัดสุพรรณบุรี และสิ้นสุดที่ชายแดนประเทศกัมพูชา อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 299.549 กิโลเมตร ในปัจจุบัน ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33 เฉพาะช่วงหินกองถึงอรัญประเทศได้รับการกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายทางหลวงเอเชียสาย 1 โดยถนนตลอดสายมีขนาดระหว่าง 2-6 ช่องจราจร.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 สายบางบัวทอง–ชัยนาท หรือเรียกกันทั่วไปว่า ถนนบางบัวทอง–สุพรรณบุรี และ ถนนสุพรรณบุรี–ชัยนาท เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดชัยนาท ระยะทาง 164.21 กิโลเมตร เป็นเส้นทางที่สามารถไปภาคเหนือได้โดยไม่ต้องผ่านทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 เดิมชื่อ ถนนตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี ก่อสร้างเมื่อปี..

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345 สายบางบัวทอง–บางพูน เป็นถนนสายหนึ่งในจังหวัดนนทบุรีเชื่อมต่อกับจังหวัดปทุมธานี ต้นทางอยู่ที่ทางแยกต่างระดับบางบัวทอง (จุดตัดกับถนนกาญจนาภิเษกและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340) อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านจุดตัดกับถนนราชพฤกษ์ที่ทางแยกต่างระดับขุนมหาดไทย ตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307 (นนทบุรี-ปทุมธานี) ที่แยกบางคูวัด อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ตัดกับถนนติวานนท์ที่แยกปู่โพธิ์ เลียบคลองรังสิตประยูรศักดิ์ไปทางทิศเดิม จากนั้นโค้งไปทางทิศเหนือไปบรรจบถนนรังสิต-ปทุมธานีที่แยกบางพูน.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 347

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 347 สายเทคโนปทุมธานี–เจ้าปลุก เป็นทางหลวงแผ่นดินในจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีระยะทาง 66.246 กิโลเมตร เริ่มต้นที่ปลายทางทิศใต้บนทางแยกกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346 ในอำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี มุ่งหน้าสู่ทิศเหนือ จนสิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3267 และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3196 อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 347 เป็นทางหลวงสายสำคัญที่ช่วงแบ่งเบาการจราจรบนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 เพื่อมุ่งหน้าไปยังภาคเหนือของประเทศไท.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 347 · ดูเพิ่มเติม »

ทางแยกต่างระดับบางบัวทอง

ทางแยกต่างระดับบางบัวทอง (Bang Bua Thong Interchange) หรือชื่อเดิม แยก 345 เป็นชุมทางต่างระดับบริเวณทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 (ถนนบางบัวทอง-สุพรรณบุรี) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345 (ถนนบางบัวทอง-บางคูวัด) บรรจบกับถนนกาญจนาภิเษก ในเขตตำบลละหาร อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและทางแยกต่างระดับบางบัวทอง · ดูเพิ่มเติม »

ทางแยกต่างระดับบางใหญ่

ทางแยกต่างระดับบางใหญ่ (Bang Yai Interchange) หรือ สามแยกบางใหญ่ เป็นทางแยกต่างระดับบริเวณจุดตัดถนนรัตนาธิเบศร์ กับถนนกาญจนาภิเษก ในเขตตำบลเสาธงหิน อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและทางแยกต่างระดับบางใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดในประเทศไทย

ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและที่สุดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ท่าเตียน

ประชาชนทั่วไปและนักท่องเที่ยวลงเรือด่วนเจ้าพระยา ร้านค้าและอาคารพาณิชย์ทางเข้าตลาดท่าเตียน หลังการปรับปรุง ท่าเตียน เป็นท่าเรือและตลาดแห่งหนึ่ง ในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บนถนนมหาราช ด้านตะวันตกติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา ท่าเตียน มีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนานตั้งแต่ยุคเริ่มต้นสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ โดยอยู่บริเวณด้านหลังพระบรมมหาราชวัง และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม โดยที่ชื่อ "ท่าเตียน" มีที่มาต่าง ๆ กันไป บ้างก็ว่าเกิดจากในรัชสมัยรัชกาลที่ 4 ที่แถบนี้เคยเกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ จนราบเรียบเหี้ยนเตียน หรือเชื่อว่ามาจาก "ฮาเตียน" เมืองท่าแห่งหนึ่งในตอนใต้ของประเทศเวียดนาม (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดเกียนซาง ในต้นกรุงรัตนโกสินทร์เป็นดินแดนของไทย ในชื่อ บันทายมาศ หรือ พุทไธมาศ) เนื่องจากแถบนี้ในอดีตเคยเป็นที่อยู่อาศัยของชาวญวนอพยพหนีภัยสงครามจากเว้ ตั้งแต่ยุคกรุงธนบุรี ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และชาวญวนเหล่านี้ได้เรียกชื่อถิ่นฐานนี้ว่าฮาเตียน เนื่องจากมีภูมิทัศน์คล้ายกับฮาเตียนเพื่อคลายความคิดถึงถิ่นฐานตนเอง และได้เรียกเพี้ยนมาเป็นท่าเตียนในที่สุด แต่ทั้งนี้ท่าเตียนปรากฏมาตั้งแต่อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา โดยปรากฏหลักฐานเป็นนิราศของหม่อมพิมเสนเรียกว่า "บางจีน" สันนิษฐานว่าอาจเคยเป็นถิ่นที่อยู่ของชาวจีนด้วย และยังมีตำนานเมืองที่โด่งดังมาก คือ เรื่องของยักษ์เฝ้าประตูวัดสองฟากต่อสู้กัน คือ ยักษ์วัดแจ้ง จากฝั่งธนบุรี ต่อสู้กับ ยักษ์วัดโพธิ์ แห่งฝั่งพระนคร เนื่องจากผิดใจกันเรื่องการขอยืมเงินกัน จนในที่สุดที่บริเวณนี้เหี้ยนเตียนราบเรียบไปหมด ซึ่งในบางตำนานก็มีการเสริมเติมแต่งเข้าไปอีกว่า ที่ยักษ์ทั้งสองตนนั้นหยุดสู้กันเพราะมีโยคีหรือฤๅษีมาห้าม บ้างก็ว่าเป็นยักษ์วัดพระแก้วเข้ามาห้าม ปัจจุบัน ท่าเตียนเป็นทั้งตลาดและสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและได้รับความนิยม มีร้านอาหารและร้านกาแฟเป็นจำนวนมาก ในส่วนของตลาด เป็นตลาดที่นับว่าใหญ่ที่สุดของกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น เป็นตลาดที่มีสินค้าหลากหลายประเภทขายทั้งสินค้าทางการเกษตรหรือข้าวของเครื่องใช้ เนื่องจากเป็นท่าจอดเรือที่มีชัยภูมิเหมาะสม โดยในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์มีชื่อเรียกว่า "ตลาดท้ายวัง" หรือ "ตลาดท้ายสนม" กินอาณาบริเวณตั้งแต่ถนนท้ายวังจนถึงตลาดท่าเตียนในปัจจุบัน เป็นตลาดที่บรรดานางในหรือนางสนมจะออกจากกำแพงพระบรมมหาราชวังมาจับจ่ายซื้อข้าวของต่าง ๆ โดยสินค้าที่นิยมมากที่สุด คือ ดอกไม้ ต่อมาได้รวมเป็นตลาดเดียวกับตลาดท่าเตียน จนกระทั่งถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 5 จึงเริ่มมีการสร้างอาคารขึ้นมาอย่างเป็นรูปร่าง โดยวางแนวเป็นรูปตัวยู ด้วยสถาปัตยกรรมแบบนีโอคลาสสิก และมีสินค้าที่หลากหลายมากขึ้น และกลายมาเป็นแหล่งค้าส่งแห่งแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ เช่น วัสดุก่อสร้าง, เครื่องตัดหญ้า, อะไหล่รถยนต์, ผักและผลไม้, น้ำตาล, ลูกอมหรือท็อฟฟี่ รวมถึงอาหารทะเลแห้ง เป็นต้นในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 ท่าเตียนมีสถานะเป็นตำบลชื่อ "ตำบลท่าเตียน" ขึ้นอยู่กับอำเภอพระราชวัง (เขตพระนครในปัจจุบัน) ปัจจุบันอาคารพาณิชย์ตลอดจนบ้านเรือนต่าง ๆ ได้รับการบูรณะปรับปรุงโดยสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในปี..

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและท่าเตียน · ดูเพิ่มเติม »

คลองลากค้อน

คลองลากค้อน เป็นคลองสายสำคัญในจังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และพระนครศรีอยุธยา มีจุดเริ่มต้นจากคลองพระยาบรรลือ ในอำเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไหลลงมาทางทิศใต้ หลังจากนั้นเป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างอำเภอไทรน้อย และอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี กับอำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี จากนั้นจึงเป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างอำเภอบางบัวทอง และอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เพียงระยะสั้นๆ ก่อนจะเข้าสู่เขตอำเภอบางบัวทองตลอดทั้งสาย และไปบรรจบกับคลองบางบัวทองในอำเภอบางบัวทอง รวมระยะทางประมาณ 30 กิโลเมตร ปัจจุบันใช้สำหรับการสัญจรทางน้ำ และใช้สำหรับผันน้ำออกจากคลองพระยาบันลือลงสู่คลองบางบัวทองเพื่อระบายออกสู่แม่น้ำเจ้าพระยาเมื่อเกิดปัญหาน้ำท่วม หมวดหมู่:คลองในจังหวัดนนทบุรี หมวดหมู่:คลองในจังหวัดปทุมธานี หมวดหมู่:คลองในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและคลองลากค้อน · ดูเพิ่มเติม »

งูกรีนแมมบาตะวันออก

งูกรีนแมมบาตะวันออก (Eastern green mamba) เป็นงูขนาดกลางถึงใหญ่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) มีพิษร้ายแรง มีถิ่นกำเนิดในชายฝั่งตะวันออกของแอฟริกาใต้ไปจนถึงแทบทุกพื้นที่ของแอฟริกาตะวันออก.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและงูกรีนแมมบาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

งูกรีนแมมบาตะวันตก

งูกรีนแมมบาตะวันตก (Western green mamba, West African green mamba, Hallowell's green mamba) เป็นงูพิษร้ายแรงในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) เป็นงูที่มีสีเขียวตลอดทั้งตัว มีลักษณะคล้ายกับงูกรีนแมมบาตะวันออก (D. angusticeps) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน (Dendroaspis spp.) แต่ว่าถูกจัดให้เป็นชนิดต่างกัน เนื่องจากมีลักษณะทางกายภาพที่ต่างกัน คือ มีความยาวที่มากกว่างูกรีนแมมบาตะวันออก กล่าวคือ มีความยาวโดยเฉลี่ย 1.8 เมตร และมีโทนสีของลำตัวหลากหลายแตกต่างกันมากกว่า กล่าวคือ มีทั้งสีเขียวมรกต, สีเขียวมะกอก หรือแม้แต่สีเขียวอมฟ้า อีกทั้งมีอุปนิสัยที่ดุร้ายก้าวร้าวกว่างูกรีนแมมบาตะวันออก อาศัยและหากินเป็นหลักบนต้นไม้ งูกรีนแมมบาตะวันตก มีถิ่นกระจายพันธุ์อยู่ในทวีปแอฟริกาตอนกลางในฝั่งทิศตะวันตก ซึ่งเป็นคนละส่วนกับถิ่นแพร่กระจายพันธุ์ของงูกรีนแมมบาตะวันออก ซึ่งทั้งคู่เป็นงูที่มีพิษร้ายแรงต่อระบบประสาทเช่นเดียวกัน โดยมีพิษร้ายแรงใกล้เคียงกับงูเห่า (Naja spp.) ทั้งคู่มีการนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงในหมู่ของผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลานหรือสัตว์แปลก ๆ โดยที่งูกรีนแมมบาตะวันตกจะมีราคาซื้อขายแพงกว่างูกรีนแมมบาตะวันออก.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและงูกรีนแมมบาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลบางพลับ (อำเภอปากเกร็ด)

ตำบลบางพลับ เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ในอดีตเป็นพื้นที่ปิด ไม่มีทางหลวงสายหลักหรือถนนสายใหญ่เข้าถึง มีเพียงลำคลองและถนนสายเล็ก ๆ ที่ใช้เป็นเส้นทางสัญจรในท้องที่ และมีประชากรอาศัยอยู่เบาบาง ส่วนมากประกอบอาชีพทำนาและทำสวนผลไม้ แต่หลังจากที่มีการก่อสร้างและเปิดใช้ถนนราชพฤกษ์และถนนชัยพฤกษ์เมื่อปี พ.ศ. 2548-2549 ทำให้การคมนาคมติดต่อระหว่างตำบลบางพลับกับท้องที่อื่น ๆ มีความสะดวกขึ้นมาก ความเจริญหลั่งไหลเข้าสู่พื้นที่อย่างรวดเร็วพร้อมกับการย้ายถิ่นเข้ามาของผู้คนจากภายนอก บางส่วนจึงกลายเป็นพื้นที่รองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจ และบางส่วนก็เปลี่ยนแปลงเป็นโครงการหมู่บ้านจัดสรร วิถีชีวิตของผู้คนในตำบลบางพลับจึงเปลี่ยนแปลงไปจากชุมชนเกษตรกรรมเป็นชุมชนเมืองตามไปด้วย โดยชุมชนดั้งเดิมคงเหลืออยู่ตามริมแม่น้ำเจ้าพระยาและตามลำคลองสายต่าง ๆ เช่น คลองบางพลับใหญ่ คลองบางพลับน้อย คลองบางภูมิ คลองบางวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและตำบลบางพลับ (อำเภอปากเกร็ด) · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลพิมลราช

ตำบลพิมลราช เป็นส่วนหนึ่งของอำเภอบางบัวทอง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดนนทบุรี นอกจากนี้ การคมนาคมก็สะดวกสบาย อีกทั้งหมู่บ้านจัดสรรระดับสูงที่มากมายทำให้ประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและตำบลพิมลราช · ดูเพิ่มเติม »

แก้วเก้า กรกต

แก้วเก้า กรกต เป็น พระเอกลิเกหน้าตาดี อายุยังน้อย ต่อมาได้หันมาสู่วงการลูกทุ่งตามแนวของพระเอกลิเกชื่อดังหลายคนอย่าง ไชยา มิตรชัย และ กุ้ง สุธิราช วงศ์เทวัญ จนได้มีผลงานเพลงลูกทุ่งออกมา 1 ชุด ซึ่งก็ได้รับความสำเร็จพอสมควร แต่มาประสบอุบัติเหตุบนท้องถนน และเสียชีวิตเสียก่อน.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและแก้วเก้า กรกต · ดูเพิ่มเติม »

แยกบางบัวทอง

แยกบางบัวทอง (Bang Bua Thong Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดถนนกาญจนาภิเษกกับถนนบางกรวย-ไทรน้อย ในเขตตำบลบางบัวทอง อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและแยกบางบัวทอง · ดูเพิ่มเติม »

แยกบางพลู

แยกบางพลู (Bang Phlu Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนรัตนาธิเบศร์กับถนนบางกรวย-ไทรน้อย ในเขตตำบลบางรักใหญ่ อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและแยกบางพลู · ดูเพิ่มเติม »

แยกปากเกร็ด

แยกปากเกร็ด เป็นทางแยกจุดตัดถนนติวานนท์กับถนนแจ้งวัฒนะและถนนภูมิเวท ในเขตตำบลปากเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและแยกปากเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์

รงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์ เป็นโรงเรียนสหศึกษา ในความดูแลของคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร เขตมิสซังกรุงเทพฯ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนในระดับชั้นอนุบาล ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีกำเนิดมาจาก โรงเรียนแม่พระสกลสงเคราะห์ ที่บาทหลวงบรัวซาร์ อธิการโบสถ์วัดพระแม่สกลสงเคราะห์องค์แรกจัดตั้งขึ้น เมื่อปี ค.ศ. 1924 (พ.ศ. 2467) ต่อมา คุณพ่อตาปี อธิการโบสถ์องค์ถัดมาได้เปลี่ยนเป็นชื่อโรงเรียนที่ใช้มาจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและโรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดลาดปลาดุก

รงเรียนวัดลาดปลาดุกก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและโรงเรียนวัดลาดปลาดุก · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสารสาสน์วิเทศบางบัวทอง

รงเรียนสารสาสน์วิเทศบางบัวทอง (Sarasas Witaed BangbuathongSchool) เป็นโรงเรียนลำดับที่ 16 ของกลุ่มโรงเรียนในเครือโรงเรียนสารสาสน์ และเป็นลำดับที่ 6 ที่เปิดหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นหลักสูตรสองภาษา (Bilingual Program) เริ่มก่อสร้างเมื่อปลายพุทธศักราช 2546 บนเนื้อที่ 31 ไร่ 87 ตารางวาเป็นอาคารสูง 7 ชั้น กว้าง 38 เมตร และยาว 68 เมตร มีห้องเรียน และห้องอื่นๆรวมกัน 98 ห้อง โดยสร้างเสร็จเมื่อต้นปี 2547 ตั้งอยู่เลขที่ 55 ถนนวงแหวนรอบนอก ต.ลำโพ อ.บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี 11110 เปิดสอนหลักสูตรสองภาษาและหลักสูตรสามัญ (Mini Bilingual Program)โดยมีพิบูลย์ ยงค์กมล เป็นผู้รับใบอนุญาต.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและโรงเรียนสารสาสน์วิเทศบางบัวทอง · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558

หตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและเหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลบางใหญ่

ทศบาลตำบลบางใหญ่ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบเทศบาลในเขตอำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี และเป็นเทศบาลหนึ่งในห้าแห่งของอำเภอ ตั้งอยู่บริเวณสองฝั่งคลองบางใหญ่ ทางทิศตะวันตกของจังหวัด สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ยังเป็นชนบทอยู่ หลายคนเข้าใจผิดคิดว่าเขตเทศบาลตำบลบางใหญ่คือบริเวณบางใหญ่ซิตี้ (ชุมชนเมืองรอยต่อระหว่างอำเภอบางใหญ่กับอำเภอบางบัวทอง) แต่ที่จริงแล้วบริเวณนั้นเป็นพื้นที่ของเทศบาลตำบลเสาธงหินและองค์การบริหารส่วนตำบลบางรักพัฒน.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและเทศบาลตำบลบางใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลไทรน้อย

ทศบาลตำบลไทรน้อย เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบเทศบาลในเขตอำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี และเป็นเทศบาลตำบลหนึ่งในสิบเอ็ดแห่งของจังหวัดนนทบุรีในปัจจุบัน.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและเทศบาลตำบลไทรน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลเสาธงหิน

ทศบาลตำบลเสาธงหิน เป็นหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นระดับเทศบาลตำบลในเขตอำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2554 ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเสาธงหิน เฉพาะหมู่ที่ 4-8 และบางส่วนของหมู่ที่ 1-3 (นอกเขตเทศบาลตำบลบางม่วง).

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและเทศบาลตำบลเสาธงหิน · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมือง

ทศบาลเมือง เป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นแบบเทศบาลสำหรับเมืองขนาดกลาง จัดตั้งโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ท้องถิ่นที่จะได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลเมืองนั้น คือ ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด เช่น เทศบาลเมืองเพชรบุรี (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดเพชรบุรี) เทศบาลเมืองสระแก้ว (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดสระแก้ว) หรือท้องถิ่นที่มีจำนวนราษฎรมากกว่า 10,000 คน และมีรายได้เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่ของเทศบาลเมืองตามที่กฎหมายกำหนดไว้ แต่ก็มีท้องถิ่นบางแห่งที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดและมีจำนวนประชากรไม่ถึง 10,000 คน แต่ก็มีฐานะเป็นเทศบาลเมือง เนื่องจากได้รับการจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเทศบาลสมัยแรก ๆ ซึ่งวางเกณฑ์ต่างจากปัจจุบัน เช่น เทศบาลเมืองเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เทศบาลเมืองหลายแห่งมีฐานะเดิมเป็นเทศบาลตำบล เช่น เทศบาลตำบลหัวหิน เทศบาลตำบลชะอำ ที่ต่อมาได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองหัวหินและเทศบาลเมืองชะอำตามลำดับ แต่ก็มีบางแห่งที่ได้รับการยกฐานะข้ามขั้นจากองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้นมาโดยไม่เป็นเทศบาลตำบลมาก่อน เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองปรกฟ้า, องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งตำเสา จังหวัดสงขลา ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ทั้งนี้ หากท้องถิ่นใดได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองไปแล้วเป็นเวลา 1 ปี ตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล และสารวัตรกำนันในท้องถิ่นนั้น ๆ จะถูกยกเลิกไปด้วย นอกจากเทศบาลเมืองอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดจะมีชื่อเรียกตามชื่อจังหวัดแล้ว (ยกเว้นตัวจังหวัดที่เป็นเทศบาลนครแล้วจำนวน 22 จังหวัด และตัวจังหวัดสุโขทัยซึ่งมีชื่อว่า เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี) เทศบาลเมืองที่ตั้งอยู่ในตัวอำเภอโดยทั่วไปมักมีชื่อตามชื่ออำเภอหรือตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ เช่น เขตเทศบาลเมืองสวรรคโลก ครอบคลุมเขตตำบลเมืองสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย แต่ก็มีบางแห่งที่ไม่ใช้ชื่ออำเภอหรือตำบลเป็นชื่อ เช่น เขตเทศบาลเมืองลัดหลวง ครอบคลุมเขตตำบลบางพึ่ง ตำบลบางจาก และตำบลบางครุ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เทศบาลเมืองมีนายกเทศมนตรีทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและมีสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 18 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรในเขตเทศบาล โดยเทศบาลเมืองมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและเทศบาลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองบางบัวทอง

ทศบาลเมืองบางบัวทอง หรือ เมืองบางบัวทอง เป็นหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นระดับเทศบาลเมือง ในเขตอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรีจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2480 ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโสนลอยทั้งตำบล ตำบลบางบัวทอง (เฉพาะหมู่ที่ 2 และบางส่วนของหมู่ที่ 1, 3) ตำบลบางรักใหญ่ (เฉพาะบางส่วนของหมู่ที่ 1, 2, 6, 7) ตำบลพิมลราช (เฉพาะบางส่วนของหมู่ที่ 1-3) และตำบลบางรักพัฒนา (เฉพาะหมู่ที่ 1 และบางส่วนของหมู่ที่ 3, 5, 6).

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและเทศบาลเมืองบางบัวทอง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองพิมลราช

ทศบาลเมืองพิมลราช เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งหนึ่งในเขตอำเภอบางบัวทอง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดนนทบุรี ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ตำบลพิมลราชทั้งหมดที่อยู่นอกเขตเทศบาลเมืองบางบัวทอง ท้องที่นี้มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน มีการทำเกษตรกรรม อาทิ การปลูกข้าว ที่ยังคงเขียวขจีสลับจากอาคารสูง ๆ ในปัจจุบัน นอกจากนี้ การคมนาคมก็สะดวกสบาย เช่น ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 อีกทั้งหมู่บ้านจัดสรรระดับสูงที่มากมายทำให้ประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและเทศบาลเมืองพิมลราช · ดูเพิ่มเติม »

เขตพื้นที่การศึกษา

ตพื้นที่การศึกษา (Educational Service Area) เป็นระบบการจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาการปกครองที่จัดแบ่งโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อจัดระบบและกระจายอำนาจการจัดการศึกษาในประเทศไทยให้ครอบคลุมมากขึ้น เดิมมีสำนักงานประจำแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ใช้ชื่อว่า "สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษ..." (สพท.) และต่อมาได้มีการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาออกเป็น 2 ระดับ คือ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา โดยจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและเขตพื้นที่การศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

เด่นเก้าแสน เก้าวิชิต

นเก้าแสน เก้าวิชิต (ชื่อจริง: สุเทพ หวังมุก; ชื่อเล่น: มะ) เป็นอดีตแชมป์โลกในรุ่นฟลายเวท ของสมาคมมวยโลก (WBA) นับเป็นนักมวยชาวไทยคนแรกที่มีโอกาสชิงแชมป์โลกถึง 3 ครั้งและประสบความสำเร็จ ซึ่งก่อนหน้านั้นมีนักมวยไทย 2 คนที่ได้ชิงแชมป์โลกถึง 3 ครั้ง แต่ไม่ประสบความสำเร็จ คือ จำเริญ ทรงกิตรัตน์ และ ถนอมศักดิ์ ศิษ.

ใหม่!!: อำเภอบางบัวทองและเด่นเก้าแสน เก้าวิชิต · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อ.บางบัวทองบางบัวทอง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »