เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

อำเภอท่าชนะ

ดัชนี อำเภอท่าชนะ

ท่าชนะ เป็นอำเภอขนาดเล็กในจังหวัดสุราษฎร์ธานี นับเป็นประตูสู่จังหวัดสุราษฎร์ธานี (เมื่อเดินทางมาจากด้านเหนือ).

สารบัญ

  1. 21 ความสัมพันธ์: พายุไต้ฝุ่นหมุ่ยฟ้า (พ.ศ. 2547)ยงยุทธ วิชัยดิษฐรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสุราษฎร์ธานีรายการรหัสไปรษณีย์ไทยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสถานีรถไฟท่าชนะสถานีรถไฟดอนธูปสถานีรถไฟคันธุลีอำเภอพะโต๊ะอำเภอกะเปอร์อำเภอละแมอำเภอไชยาอุทยานแห่งชาติแก่งกรุงอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)จังหวัดชุมพรจังหวัดสุราษฎร์ธานีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41ที่หยุดรถไฟบ้านเกาะมุกข์เขตพื้นที่การศึกษา

พายุไต้ฝุ่นหมุ่ยฟ้า (พ.ศ. 2547)

ต้ฝุ่นหมุ่ยฟ้า (Typhoon Muifa) เป็นชื่อพายุที่ตั้งขึ้นโดยมาเก๊า มีความหมายว่า ดอกพลับบาน เป็นพายุหมุนเขตร้อนลูกที่ 2 ที่พัดเข้าสู่ประเทศไทยในปี..

ดู อำเภอท่าชนะและพายุไต้ฝุ่นหมุ่ยฟ้า (พ.ศ. 2547)

ยงยุทธ วิชัยดิษฐ

งยุทธ วิชัยดิษฐ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ และอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตอธิบดีกรมที่ดิน อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้านครหลวง อดีตประธานกรรมการการประปานครหลวง อดีตประธานกรรมการตรวจสอบของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมั.

ดู อำเภอท่าชนะและยงยุทธ วิชัยดิษฐ

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี.

ดู อำเภอท่าชนะและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย

นี่คือรายชื่อรหัสไปรษณีย์ไทยเรียงตามจังหวั.

ดู อำเภอท่าชนะและรายการรหัสไปรษณีย์ไทย

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี มี 6 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 6 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ดู อำเภอท่าชนะและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู อำเภอท่าชนะและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

สถานีรถไฟท่าชนะ

นีรถไฟท่าชนะ ตั้งอยู่ถนนรถไฟ ตำบลท่าชนะ อำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายใต้ ในอดีตขณะนั้นมีเดิมชื่อสถานีรถไฟหนองหว.

ดู อำเภอท่าชนะและสถานีรถไฟท่าชนะ

สถานีรถไฟดอนธูป

นีรถไฟดอนธูป ตั้งอยู่บ้านดอนธูป หมู่ 3 ตำบลคันธุลี อำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ดู อำเภอท่าชนะและสถานีรถไฟดอนธูป

สถานีรถไฟคันธุลี

นีรถไฟคันธุลี ตั้งอยู่ตำบลคันธุลี อำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ดู อำเภอท่าชนะและสถานีรถไฟคันธุลี

อำเภอพะโต๊ะ

อำเภอพะโต๊ะ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดชุมพร อยู่ทางด้านใต้สุดของจังหวัดเป็น 1 ใน 2 อำเภอของจังหวัดชุมพรที่ไม่มีพื้นที่ติดทะเล.

ดู อำเภอท่าชนะและอำเภอพะโต๊ะ

อำเภอกะเปอร์

กะเปอร์ ตั้งอยู่ในจังหวัดระนอง.

ดู อำเภอท่าชนะและอำเภอกะเปอร์

อำเภอละแม

อำเภอละแม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชุมพร นับเป็นอำเภอขนาดกลาง ได้รับการยกฐานะจากกิ่งอำเภอเป็นอำเภอเมื่อปี พ.ศ.

ดู อำเภอท่าชนะและอำเภอละแม

อำเภอไชยา

อำเภอไชยา เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เคยเป็นเมืองเก่าแก่มากแห่งหนึ่งในทางใต้ของภูมิภาคนี้ เชื่อกันว่าเคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรศรีวิชัยในสมัยโบราณ โดยมีหลักฐานทั้งโบราณวัตถุและโบราณสถานจำนวนมาก.

ดู อำเภอท่าชนะและอำเภอไชยา

อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง

อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง ตั้งอยู่ในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ครอบคลุมพื้นที่อำเภอท่าชนะ อำเภอไชยา อำเภอท่าฉาง และอำเภอวิภาวดี เป็นอุทยานที่มีสภาพป่าเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน มีสถานที่น่ารื่นรมย์สำหรับพักผ่อนหย่อนใจ เช่น น้ำตก ลำน้ำ บ่อน้ำร้อน ภูเขา ซึ่งมีทัศนียภาพที่สวยงาม เป็นป่าต้นน้ำลำธารที่หล่อเลี้ยงชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานีและจังหวัดชุมพร มีเนื้อที่ประมาณ 338,125 ไร่ หรือ 541 ตารางกิโลเมตร แก่งกรุงเป็นชื่อแก่งขนาดใหญ่ในลำน้ำคลองยัน ในอดีตการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยดำเนินการสำรวจเพื่อก่อสร้างเขื่อนอเนกประสงค์ ปัจจุบันได้ชะลอโครงการดังกล่าวไว้.

ดู อำเภอท่าชนะและอุทยานแห่งชาติแก่งกรุง

อุทยานแห่งชาติในประเทศไทย

น้ำตกเหวสุวัต อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติในประเทศไทย เกิดขึ้นจากพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาต..

ดู อำเภอท่าชนะและอุทยานแห่งชาติในประเทศไทย

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท.

ดู อำเภอท่าชนะและองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)

จังหวัดชุมพร

มพร มีชื่อปรากฏมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1098 โดยมีฐานะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของราชอาณาจักรนครศรีธรรมราช ใช้รูปแพะเป็นตราเมือง และเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือ เพราะอยู่ตอนบนของภาคใต้ ใน พ.ศ.

ดู อำเภอท่าชนะและจังหวัดชุมพร

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.

ดู อำเภอท่าชนะและจังหวัดสุราษฎร์ธานี

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41 สายสี่แยกปฐมพร–พัทลุง เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหลักของภาคใต้ เส้นทางเริ่มต้นจากแยกปฐมพรบนถนนเพชรเกษม ที่จังหวัดชุมพร จากนั้นวิ่งลงใต้ผ่านจังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดนครศรีธรรมราช และสิ้นสุดบนถนนเพชรเกษมที่จังหวัดพัทลุง ระยะทางรวม 382.616 กิโลเมตร ทางหลวงแผ่นดินสายนี้เป็นถนน 4 ช่องจราจรตลอดสาย แบ่งเป็น 2 ช่องจราจรในแต่ละทิศทาง โดยมีคูน้ำกั้นระหว่างทิศทาง ในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 18 (A18) ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 ตลอ.

ดู อำเภอท่าชนะและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41

ที่หยุดรถไฟบ้านเกาะมุกข์

ที่หยุดรถไฟบ้านเกาะมุกข์ ตั้งอยู่บ้านเกาะมุกด์ หมู่ 6 ตำบลประสงค์ อำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นที่หยุดรถของทางรถไฟสายใต้.

ดู อำเภอท่าชนะและที่หยุดรถไฟบ้านเกาะมุกข์

เขตพื้นที่การศึกษา

ตพื้นที่การศึกษา (Educational Service Area) เป็นระบบการจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาการปกครองที่จัดแบ่งโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อจัดระบบและกระจายอำนาจการจัดการศึกษาในประเทศไทยให้ครอบคลุมมากขึ้น เดิมมีสำนักงานประจำแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ใช้ชื่อว่า "สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษ..." (สพท.) และต่อมาได้มีการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาออกเป็น 2 ระดับ คือ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา โดยจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้.

ดู อำเภอท่าชนะและเขตพื้นที่การศึกษา

หรือที่รู้จักกันในชื่อ อ.ท่าชนะ