สารบัญ
73 ความสัมพันธ์: บิชอปแห่งลอนดอนพ.ศ. 1646พรมผนังบาเยอพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรพระราชพิธีพระศพของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์พระราชพิธีพัชราภิเษกพระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียมกับแคเธอริน มิดเดิลตันพระสังฆราช (แก้ความกำกวม)พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบพระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษกาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษภาพเหมือนตนเองภาคยอร์กภาคแคนเทอร์เบอรีมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมาเรียแห่งเท็คมุขมณฑลแคนเทอร์เบอรีมงกุฎแห่งอินเดียลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักรลำดับเหตุการณ์การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษลำดับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์อังกฤษระหว่างปี ค.ศ. 1500 ถึง ค.ศ. 1599วิลเลียม ลอดศิลปะแองโกล-แซกซันสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนีสหราชอาณาจักรสถาปัตยกรรมมหาวิหารสมัยกลางในอังกฤษสงครามดอกกุหลาบออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรีอัครมุขนายกอัครศาสนูปถัมภกอังกฤษสมัยแองโกล-แซกซันอาร์ชบิชอปแห่งยอร์กอาสนวิหารกิลด์ฟอร์ดอาสนวิหารยอร์กอาสนวิหารแคนเทอร์เบอรีอาสนวิหารเว็ลส์อาสนวิหารเอ็กซิเตอร์อาสนวิหารเดอรัมธรรมนูญแคลเร็นดอนธุลีปริศนาทอมัส แบ็กกิตทอมัส โวลซีย์คริสตจักรแห่งอังกฤษคทากางเขน... ขยายดัชนี (23 มากกว่า) »
บิชอปแห่งลอนดอน
อปแห่งลอนดอน (Bishop of London) เป็นตำแหน่งมุขนายกของมุขมณฑลลอนดอนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของภาคแคนเทอร์เบอรีในคริสตจักรแห่งอังกฤษ มุขมณฑลนี้มีพื้นที่ราว 458 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุม 17 บุรีในเกรเทอร์ลอนดอนทางตอนเหนือของแม่น้ำเทมส์และบางส่วนของเทศมณฑลเซอร์รีย์ ศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่อาสนวิหารนักบุญเปาโลภายในนครลอนดอน ซึ่งสร้างขึ้นเมื่อปี..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและบิชอปแห่งลอนดอน
พ.ศ. 1646
ทธศักราช 1646 ใกล้เคียงกั.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและพ.ศ. 1646
พรมผนังบาเยอ
วนหนึ่งของพรมผนังบาเยอ พรมผนังบาเยอ (Bayeux Tapestry; Tapisserie de Bayeux) เป็นผืนผ้ากว้าง 50 เซนติเมตร ยาว 70 เซนติเมตรที่ปักเป็นภาพการนำไปสู่ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษนำโดยดยุควิลเลียมแห่งนอร์ม็องดี ผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ เมื่อปี ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและพรมผนังบาเยอ
พระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร
วสต์มินสเตอร์แอบบีย์สถานที่ประกอบพระราชพิธีราชาภิเษก พระราชพิธีราชาภิเษกพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร เป็นพระราชพิธีซึ่งพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ ตลอดจนรัฐในเครือจักรภพ รวมทั้งคู่อภิเษกสมรสของพระองค์ จะทรงประกอบเพื่อแสดงถึงพระราชอำนาจสูงสุดเหนือประเทศเหล่านั้น พระราชพิธีราชาภิเษกนี้มีจัดขึ้นในทุกประเทศที่ปกครองโดยมีระบบกษัตริย์เป็นประมุข แม้แต่พระสันตะปาปาแห่งนครรัฐวาติกันก็ทรงประกอบพิธีนี้เช่นกัน พระราชพิธีนี้โดยมากมักจะจัดขึ้นหลังจากพระมหากษัตริย์พระองค์ก่อนเสด็จสวรรคตไปแล้วพอสมควร เพื่อที่จะได้มีเวลาพอสำหรับพระราชพิธีพระบรมศพสำหรับกษัตริย์พระองค์ก่อน และมีการเตรียมความพร้อมสำหรับกษัตริย์พระองค์ใหม่ด้วย ดังเช่นสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 ครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร
พระราชพิธีพระศพของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์
วนพระศพเดินทางออกจากเซนต์เจมส์ปาร์ก พระราชพิธีพระศพของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ จัดขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 6 กันยายน 2540 เวลา 9.08 นาฬิกา ในกรุงลอนดอน ทันทีที่เสียงระฆังเทเนอร์ดังขึ้น เพื่อเป็นสัญญาณว่าขบวนพระศพได้เคลื่อนออกจากพระราชวังเคนซิงตัน โดยบรรทุกโลงพระศพบนรถปืนใหญ่ หลังเคลื่อนโลงพระศพออกจากพระราชวังเซนต์เจมส์มายังพระราชวังเคนซิงตัน ซึ่งก่อนหน้านี้พระศพถูกตั้งไว้ที่พระราชวังเซนต์เจมส์เป็นเวลา 5 วันก่อนที่จะมีการทำพิธีปลงพระศพ นอกจากนี้ยังได้มีการลดธงชาติยูเนียนแจ๊กลงครึ่งเสาที่พระราชวังบักกิงแฮม โดยมีพิธีพระศพอย่างเป็นทางการที่เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ในกรุงลอนดอน และพิธีเสร็จสิ้นที่ทะเลสาบ ราวนด์โอวัล (สุสานที่ใช้ฝังพระศพ) ในคฤหาสน์อัลธอร์ป เมืองนอร์ธแฮมป์ตัน มณฑลนอร์ธแฮมป์ตันเชียร์ ประชาชนกว่า 2,000 คน ได้ร่วมพระราชพิธีที่เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ และมีประชาชนชาวอังกฤษรับชมการถ่ายทอดสดพิธีนี้ทางโทรทัศน์มากถึง 32.78 ล้านคน กลายเป็นการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ในสหราชอาณาจักรที่มีผู้ชมมากที่สุด นอกจากนี้ยังมีผู้คนทั่วโลกอีกราว 2.5 พันล้านคนได้เฝ้าชมพิธีพระศพของไดอานา และได้เป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญที่มีผู้ชมมากที่สุดในประวัติศาสตร.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและพระราชพิธีพระศพของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์
พระราชพิธีพัชราภิเษก
ระราชพิธีพัชราภิเษก หรือ พัชราภิเษกสมโภช (Diamond Jubilee) เป็นการเฉลิมฉลองเพื่อแสดงการครบรอบ 60 ปี ซึ่งเกี่ยวกับบุคคล (เช่น การครอบรอบแต่งงาน ระยะเวลาการครองราชสมบัติของพระมหากษัตริย์) หรือครบรอบ 75 ปี ซึ่งเกี่ยวกับเหตุการณ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและพระราชพิธีพัชราภิเษก
พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียมกับแคเธอริน มิดเดิลตัน
ระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์กับแคเธอริน มิดเดิลตัน มีขึ้น ณ วันศุกร์ที่ 29 เมษายน..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและพระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียมกับแคเธอริน มิดเดิลตัน
พระสังฆราช (แก้ความกำกวม)
ระสังฆราช อาจหมายถึง;พุทธจักร.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและพระสังฆราช (แก้ความกำกวม)
พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ
ระเจ้าชาลส์ที่ 1 (Charles I; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600 — 30 มกราคม ค.ศ. 1649) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์สจวต รวมทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างปี..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ
พระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษ
ระเจ้าจอห์น หรือที่รู้จักในพระนาม “จอห์นผู้เสียแผ่นดิน” (John หรือ John Lackland ค.ศ. 1166-1216) เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ ครองราชย์ระหว่าง..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและพระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษ
พระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบ
ระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบ (Edgar the Peaceful หรือ Edgar the Peaceable) (ราว ค.ศ. 943 หรือ ค.ศ. 944 - ค.ศ. 975) พระมหากษัตริย์อังกฤษในราชวงศ์เวสเซ็กซ์ พระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบเสด็จพระราชสมภพเมื่อราวปี ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและพระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบ
พระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษ
มเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิง (Anglo-Saxon period to refer to male members of the royal family) (ราว ค.ศ. 1051 – ค.ศ. 1126) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์เวสเซ็กซ์ของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิงเสด็จพระราชสมภพเมื่อราว ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและพระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษ
พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ
ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ (Edward I of England) (17 มิถุนายน ค.ศ. 1239 – 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307) หรือพระนามเดิมคือ เอ็ดเวิร์ด ลองแชงก์ส (Edward Longshanks) เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษในราชวงศ์แพลนแทเจเนต พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 รู้จักกันในนามว่า “Longshanks” เพราะพระวรกายที่สูงราว 6 ฟุต 2 นิ้ว หรือ “ผู้พระราชทานกฎหมาย” (the Lawgiver) เพราะทรงเป็นผู้ปฏิรูปกฎหมายของอังกฤษ และ “ผู้ปราบชาวสกอต” (Hammer of the Scots) เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ
พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ
มเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ (Edward III of England; Édouard III d'Angleterre; 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1312 – 21 มิถุนายน ค.ศ. 1377) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษระหว่างปี ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ
กาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษ
ระนางกาตาลินาแห่งอารากอน (Catalina de Aragón; Catherine of Aragon, Katharine of Aragon; พ.ศ. 2028 — พ.ศ. 2079) พระราชินีแห่งอังกฤษ พระมเหสีพระองค์แรกในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ (พ.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและกาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษ
ภาพเหมือนตนเอง
หมือนตนเองของอัลเบรชท์ ดือเรอร์, ค.ศ. 1493. สีน้ำมันเดิมบนหนัง, พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์, ปารีส ภาพนี้เป็นภาพเหมือนตนเองอย่างเป็นทางการภาพแรก ๆ ดือเรอร์แต่งตัวแบบอิตาลีที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จระดับสากล ภาพเหมือนตนเอง (Self-portrait) คือภาพเหมือนของศิลปินเองผู้อาจจะวาด เขียนด้วยสี ถ่ายภาพ หรือแกะสลักด้วยตนเอง แม้ว่าศิลปินจะสร้างภาพเหมือนของตนเองมาแต่โบราณ แต่ก็ไม่ได้ทำกันอย่างแพร่หลาย หรือบอกได้ว่าเป็นภาพเหมือนของศิลปินเองจริง ๆ หรือวาดเป็นบุคคลหัวใจของภาพมาจนกระทั่งเมื่อต้นยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในกลางคริสต์ทศวรรษ1400 กระจกที่มีคุณภาพดีขึ้นและราคาถูกลงทำการเขียนภาพเหมือนบนจิตรกรรมแผง จิตรกร ประติมากร และช่างแกะพิมพ์มีการทำกันมากขึ้น ตัวอย่างแรกก็ได้แก่ "ภาพเหมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?)" ที่เขียนโดยยัน ฟัน ไอก์ ของปี..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและภาพเหมือนตนเอง
ภาคยอร์ก
'''ภาคยอร์ก''' (สีชมพู) และภาคแคนเทอร์เบอรี (สีเหลือง) ภาคยอร์ก (Province of York) เป็นหนึ่งในสองภาคคริสตจักรในคริสตจักรแห่งอังกฤษ ตั้งอยู่ระหว่างภาคแคนเทอร์เบอรีและสกอตแลนด์ ภาคคริสตจักรนี้ประกอบด้วย 14 มุขมณฑลและเกาะแมน ในอดีตสกอตแลนด์ก็เป็นส่วนหนึ่งของภาคยอร์ก ประมุขของภาคยอร์กคืออาร์ชบิชอปแห่งยอร์กซึ่งเป็นตำแหน่งสูงสุดในคริสตจักรแห่งอังกฤษรองจากอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี มีมหาวิหารยอร์กเป็นมหาวิหารประจำภาค หมวดหมู่:คริสตจักรแห่งอังกฤษ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและภาคยอร์ก
ภาคแคนเทอร์เบอรี
'''สังฆเขตแคนเตอร์บรี''' (สีเหลือง) และ สังฆเขตยอร์ค (สีชมพู) ภาคแคนเทอร์เบอรี (Province of Canterbury) เป็นหนึ่งในสองภาคคริสตจักรในคริสตจักรแห่งอังกฤษ (อีกแห่งหนึ่งคือ ภาคยอร์ค) ภาคแคนเทอร์เบอรีประกอบด้วย 30 เขตมิสซัง เนื้อที่ของเขตตั้งอยู่สองในสามของทางตอนใต้ของเกาะอังกฤษรวมทั้งหมู่เกาะแชนนาล คริสตจักรบางคริสตจักรในเวลส์และบนแผ่นดินใหญ่ยุโรป ก่อนที่คริสตจักรแห่งเวลส์จะถูกยุบเลิกในปี..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและภาคแคนเทอร์เบอรี
มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด
มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of Oxford หรือ Oxford University) หรือเรียกอย่างง่าย ๆ ว่า อ๊อกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานประวัติการก่อตั้งที่แน่นอน แต่มีหลักฐานว่าได้เริ่มสอนมาตั้งแต่ ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด
มาเรียแห่งเท็ค
มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและมาเรียแห่งเท็ค
มุขมณฑลแคนเทอร์เบอรี
ตราประจำมุขมณฑล มุขมณฑลแคนเทอร์เบอรี (Diocese of Canterbury) เป็นมุขมณฑลของคริสตจักรแห่งอังกฤษ ครอบคลุมพื้นที่เทศมณฑลเคนต์ตะวันออก มุขมณฑลนี้ก่อตั้งโดยนักบุญออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรีในปี..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและมุขมณฑลแคนเทอร์เบอรี
มงกุฎแห่งอินเดีย
มงกุฎแห่งอินเดีย หรือ อิมพิเรียลคราวน์แห่งอินเดีย (The Imperial Crown of India) เป็นมงกุฎประจำสำหรับประมุขแห่งราชวงศ์อังกฤษ ซึ่งมีพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดีย ซึ่งใช้ในช่วงทศวรรษสุดท้ายของจักรวรรดิอินเดีย มงกุฎองค์นี้เก็บรักษารวมกันกับเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักร แต่มิถือเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชกกุธภัณฑ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและมงกุฎแห่งอินเดีย
ลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร
ลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร คือ ลำดับความสูงต่ำแห่งฐานันดรของสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ ไม่ว่าพระราชาหรือพระราชินีจะอยู่ในลำดับที่ 1 แห่งโปเจียมเสมอ ถ้าสมเด็จพระราชาธิบดีเป็นพระเจ้าแผ่นดิน พระมเหสีของพระองค์ (คือสมเด็จพระราชินีในรัชกาล) จะเป็นลำดับที่ 1 แห่งฝ่ายใน ในทางตรงกันข้ามไม่มีหลักเกณฑ์ใดๆ สำหรับเจ้าชายพระราชสวามี ดังนั้นพระองค์จะทรงพระดำเนินในลำดับที่เท่าใดนั้น ขึ้นอยู่กับพระบรมราชโองการ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร
ลำดับเหตุการณ์การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ
ลำดับเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการปฏิรูปศาสนาของอังกฤษ (Timeline of the English Reformation) เหตุการณ์ข้างล่างนี้เป็นเหตุการณ์ที่มีส่วนเกี่ยวกับการปฏิรูปศาสนาในอังกฤษจากโรมันคาทอลิกมาเป็นนิกายเชิร์ชออฟอิงแลน.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและลำดับเหตุการณ์การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ
ลำดับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์อังกฤษระหว่างปี ค.ศ. 1500 ถึง ค.ศ. 1599
ลำดับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์อังกฤษระหว่างปี..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและลำดับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์อังกฤษระหว่างปี ค.ศ. 1500 ถึง ค.ศ. 1599
วิลเลียม ลอด
วิลเลียม ลอด (William Laud) (7 ตุลาคม ค.ศ. 1573 - (10 มกราคม ค.ศ. 1645) เป็นอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีระหว่างปี ค.ศ. 1633 ถึงปี ค.ศ. 1645 ผู้สนับสนุนนิกายแองกลิคันและเป็นปฏิปักษ์ต่อการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มพิวริตัน วิลเลียม ลอดสนับสนุนนโยบายทางศาสนาของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ซึ่งในที่สุดก็เป็นผลทำให้ถูกประหารชีวิตระหว่างสงครามการเมืองอังกฤษที่หอคอยแห่งลอนดอน วิลเลียม ลอด เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและวิลเลียม ลอด
ศิลปะแองโกล-แซกซัน
หนังสือประทานพรเซนต์เอเธลโวลด์''” ที่ประกอบด้วยภาพพระเยซูรับศีลจุ่ม หนังสือแคดมอน” เป็นภาพเทวดารักษาประตูสวรรค์ หลังจากที่อาดัมและอีฟถูกขับจากสวรรค์ หินเฮดดาซึ่งเป็นตัวอย่างของงานสลักหินของสมัยแองโกล-แซกซัน พระแม่มารีทองแห่งเอสเซิน ศิลปะแองโกล-แซกซัน (Anglo-Saxon art) คือศิลปะที่สร้างขึ้นในสมัยแองโกล-แซกซันในประวัติศาสตร์อังกฤษโดยเฉพาะตั้งแต่รัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช (ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและศิลปะแองโกล-แซกซัน
สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ
มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ (Mary II of England) (30 เมษายน ค.ศ. 1662 – 28 ธันวาคม ค.ศ. 1694) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชวงศ์สจวตของราชอาณาจักรอังกฤษและไอร์แลนด์ระหว่างปี..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี
มเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี (Queen Elizabeth, The Queen Mother), เอลิซาเบธ แองเจลา มาร์เกอริต โบวส์-ลีออน (Elizabeth Angela Marguerite Bowes-Lyon; 4 สิงหาคม พ.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี
สหราชอาณาจักร
หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและสหราชอาณาจักร
สถาปัตยกรรมมหาวิหารสมัยกลางในอังกฤษ
มหาวิหารเดอรัมเหนือแม่น้ำเวียร์ ด้านหน้ามหาวิหารเซนต์อัลบัน ปุ่มหินกลางหอประชุมนักบวชในมหาวิหารยอร์ก สถาปัตยกรรมมหาวิหารสมัยกลางในอังกฤษ (Architecture of the medieval cathedrals of England) เป็นช่วงระยะเวลาการก่อสร้างมหาวิหารที่เกิดขึ้นในอังกฤษระหว่าง ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและสถาปัตยกรรมมหาวิหารสมัยกลางในอังกฤษ
สงครามดอกกุหลาบ
ที่ตั้งสำคัญในสงครามดอกกุหลาบ สงครามดอกกุหลาบ (Wars of the Roses) เป็นชุดสงครามราชวงศ์ที่ผู้สนับสนุนราชวงศ์แพลนแทเจเนตสองสายที่เป็นคู่แข่งชิงราชบัลลังก์อังกฤษกัน ได้แก่ ราชวงศ์แลงแคสเตอร์และราชวงศ์ยอร์ก (ซึ่งสัญลักษณ์ตราประจำตระกูล คือ ดอกกุหลาบสีแดงและสีขาวตามลำดับ) ทั้งสองฝ่ายรบกันเป็นช่วงห่าง ๆ กันระหว่างปี 1455 ถึง 1485 แม้จะมีการสู้รบที่เกี่ยวข้องอีกทั้งก่อนหน้าและหลังช่วงนี้ สงครามดังกล่าวเป็นผลจากปัญหาทางสังคมและการเงินหลังสงครามร้อยปี ชัยชนะบั้นปลายเป็นของผู้เรียกร้องเชื้อสายแลงแคสเตอร์ค่อนข้างห่าง เฮนรี ทิวดอร์ ผู้กำราบพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ยอร์ก และอภิเษกสมรสกับเอลิซาเบธแห่งยอร์ก พระราชธิดาในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เพื่อรวมสองราชวงศ์ หลังจากนั้น ราชวงศ์ทิวดอร์ปกครองอังกฤษและเวลส์เป็นเวลา 117 ปี เฮนรีแห่งโบลิงโบรกทรงก่อตั้งราชวงศ์แลงแคสเตอร์ขณะทรงราชย์ในปี 1399 เมื่อทรงถอดพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 พระภราดร (ลูกพี่ลูกน้อง) จากราชสมบัติ พระราชโอรส พระเจ้าเฮนรีที่ 5 ยังทรงรักษาการอยู่ในราชสมบัติของตระกูลไว้ได้ แต่เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตในปี 1422 พระเจ้าเฮนรีที่ 6 ทายาทของพระองค์ เป็นทารก การอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของราชวงศ์แลงแคสเตอร์สืบมาจากจอห์นแห่งกอนต์ ดยุกที่ 1 แห่งแลงแคสเตอร์ พระราชโอรสที่ยังมีพระชนมชีพพระองค์ที่สามในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 สิทธิในราชบัลลังก์ของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 ถูกริชาร์ด ดยุคแห่งยอร์คคัดค้าน ผู้สามารถอ้างว่าสืบเชื้อสายจากไลโอเนลแห่งแอนต์เวิร์ป และเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งยอร์กพระราชโอรสที่ยังมียังมีพระชนมชีพพระองค์ที่สองและสี่ในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 ริชาร์ดแห่งยอร์ค ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญของรัฐหลายตำแหน่ง ทะเลาะกับราชวงศ์แลงแคสเตอร์สำคัญ ๆ ในราชสำนักและกับมาร์กาเรตแห่งอ็องฌู พระมเหสีในพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แม้เคยเกิดการปะทะกันด้วยอาวุธระหว่างผู้สนับสนุนราชวงศ์ยอร์กและแลงแคสเตอร์มาก่อนหน้านั้นแล้ว แต่การสู้รบเปิดเผยครั้งแรกเกิดขึ้นในปี 1455 ที่ยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 1 ราชวงศ์แลงแคสเตอร์คนที่โดดเด่นหลายคนเสียชีวิต แต่ทายาทที่เหลือยังพยาบาทกับริชาร์ด แม้จะมีการฟื้นฟูสันติภาพชั่วคราว มาร์กาเรตแห่งอ็องฌู ดลให้ราชวงศ์แลงแคสเตอร์คัดค้านอิทธิพลของเอิร์ลแห่งยอร์ค การสู้รบดำเนินต่ออย่างรุนแรงขึ้นในปี 1459 เอิร์ลแห่งยอร์คและผู้สนับสนุนของพระองค์ถูกบีบให้หนีออกนอกประเทศ แต่ผู้สนับสนุนที่โดดเด่นที่สุดของพระองค์คนหนึ่ง เอิร์ลแห่งวอริก บุกครองอังกฤษจากกาเลและสามารถจับพระเจ้าเฮนรีเป็นเชลยได้ที่ยุทธการที่นอร์แธมป์ตัน เอิร์ลแห่งยอร์คเสด็จกลับประเทศและเป็นผู้พิทักษ์อังกฤษ (Protector of England) แต่ทรงถูกปรามมิให้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ มาร์กาเร็ตและอภิชนแลงแคสเตอร์ผู้ไม่ยอมปรองดองประชุมกำลังทางเหนือของอังกฤษ และเมื่อเอิร์ลแห่งยอร์คเคลื่อนทัพขึ้นเหนือไปปราบ พระองค์กับเอ็ดเวิร์ด พระราชโอรสพระองค์ที่สอง ถูกปลงพระชนม์ทั้งคู่ที่ยุทธการเวคฟีลด์ในเดือนธันวาคม 1460 กองทัพแลงแคสเตอร์รุกลงใต้และจับพระเจ้าเฮนรีเป็นเชลยได้อีกในยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 2 แต่ไม่สามารถยึดครองกรุงลอนดอนไว้ได้ และถอยกลับไปทางเหนือในเวลาต่อมา พระราชโอรสองค์โตของเอิร์ลแห่งยอร์ค เอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งมาร์ช ได้รับการประกาศเป็นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 พระองค์ระดมกองทัพราชวงศ์ยอร์คและได้ชัยเด็ดขาดที่ยุทธการที่โทว์ทันเมื่อเดือนมีนาคม 1461 หลังการลุกขึ้นต่อต้านของแลงแคสเตอร์ทางเหนือถูกกำราบในปี 1464 และพระเจ้าเฮนรีถูกจับเป็นเชลยอีกครั้ง พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทะเลาะกับเอิร์ลแห่งวอริก สมญา "ผู้สร้างกษัตริย์" (Kingmaker) ผู้สนับสนุนและที่ปรึกษาหลักของพระองค์ และยังแตกแยกกับพระสหายหลายคน และกระทั่งพระบรมวงศานุวงศ์ โดยทรงสนับสนุนตระกูลของสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ วูดวิลล์ซึ่งมีอำนาจขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งพระองค์ทรงอภิเษกสมรสด้วยอย่างลับ ๆ ทีแรก เอิร์ลแห่งวอริกพยายามยกน้องชาย จอร์จ ดยุกแห่งแคลเรนซ์ เป็นพระมหากษัตริย์ แล้วจึงฟื้นฟูพระเจ้าเฮนรีที่ 6 กลับสู่ราชสมบัติ จากนั้นสองปี พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 ทรงได้รับชัยชนะสมบูรณ์อีกครั้งที่บาร์เนต (เมษายน 1471) ที่ซึ่งเอิร์ลแห่งวอริกถูกสังหาร และทูกสบรี (พฤษภาคม 1471) ที่ซึ่งเอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์ ทายาทแลงแคสเตอร์ ถูกประหารชีวิตหลังยุทธการ พระเจ้าเฮนรีถูกปลงพระชนม์ในหอคอยลอนดอนหลายวันจากนั้น ยุติลำดับการสืบราชสันตติวงศ์โดยตรงของแลงแคสเตอร์ จากนั้น บ้านเมืองค่อนข้างสงบอยู่พักหนึ่ง จนพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จสวรรคตกะทันหันในปี 1483 ริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์ พระอนุชาที่ยังมีพระชนมชีพของพระองค์ ทีแรกเคลื่อนไหวเพื่อกันมิให้ตระกูลวูดวิลล์ที่ไม่เป็นที่นิยมของพระมเหสีหม้ายของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเข้าร่วมในรัฐบาลระหว่างที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 พระราชโอรสของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด ยังทรงพระเยาว์ จึงยึดราชบัลลังก์เป็นของตน โดยอ้างว่า การสมรสของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เฮนรี ทิวดอร์ พระญาติห่าง ๆ ของพระมหากษัตริย์แลงแคสเตอร์ผู้รับสืบทอดการอ้างสิทธิ์มาด้วย ชนะพระเจ้าริชาร์ดที่บอสเวิร์ธฟิลด์ในปี 1485 พระองค์ราชาภิเษกเป็นพระเจ้าเฮนรีที่ 7 และอภิเษกสมรสกับเอลิซาเบธแห่งยอร์ก พระราชธิดาในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เพื่อรวมและประสานราชวงศ์ทั้งสอง.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและสงครามดอกกุหลาบ
ออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรี
นักบุญออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรี (Augustine of Canterbury) (ราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 6–26 พฤษภาคม ค.ศ. 604) เป็นนักพรตโรมันคาทอลิกคณะเบเนดิกติน ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีองค์แรกเมื่อปี ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรี
อัครมุขนายก
2553. อาร์ชบิชอป (Archbishop) หรืออัครมุขนายก ชาวไทยคาทอลิกเรียกว่าพระอัครสังฆราช เป็นตำแหน่งการปกครองระดับสูงในบางคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก ออร์ทอดอกซ์ แองกลิคัน ถือว่ามีสถานะเหนือกว่ามุขนายกกรมการศาสนา, รายงานการศาสนา ประจำปี ๒๕๔๓, กรมการศาสนา, 2543, หน้า 194-6 (bishop) การเป็นอัครมุขนายกหมายถึงการได้ปกครองอัครมุขมณฑล (archdiocese) ซึ่งเป็นมุขมณฑลที่มีความสำคัญเป็นกรณีพิเศษ หรือในกรณีของแองกลิคันคอมมิวเนียนจะหมายถึงกลุ่มมุขมณฑลที่รวมกันเป็นภาคคริสตจักร เช่น ภาคแคนเทอร์เบอรีที่ปกครองโดยอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี แต่ก็ไม่เป็นเช่นนั้นเสมอไป “อัครมุขนายก” มีฐานะเท่าเทียมกับมุขนายกในด้านการศาสนา แต่มีอภิสิทธิ์บางอย่างมากกว่า ฉะนั้นถ้าผู้ที่เป็นมุขนายกอยู่แล้วได้รับการแต่งตั้ง (appointment) เป็นอัครมุขนายกก็ไม่จำเป็นต้องรับการอภิเษก (consecration) อีก มีแต่พิธีเข้ารับตำแหน่ง (installation) แต่ถ้าผู้ที่ได้รับตำแหน่งไม่ได้เป็นมุขนายกมาก่อน ผู้นั้นก็ต้องเข้าพิธีอภิเษกเพื่อรับศีลอนุกรมเสียก่อนที่จะทำหน้าที่เป็นอัครมุขนายก คำว่า “Archbishop” มาจากภาษากรีกว่า “αρχι” ที่แปลว่า “ที่หนึ่ง” หรือ “หัวหน้า” และคำว่า “επισκοπος” ที่แปลว่า “ปกครองดูแล” “อัครมุขนายก” ปกครอง “อัครมุขมณฑล” หรือภาคคริสตจักร ถ้าเป็นในสมัยโบราณโดยเฉพาะในสมัยจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ อัครมุขนายกก็จะปกครอง “รัฐอัครมุขนายก” เช่น อาร์ชบิชอปแห่งไมนซ์ (Archbishop of Mainz) ผู้ปกครอง “ราชรัฐอัครมุขนายกไมนซ์” (Archbishopric of Mainz).
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและอัครมุขนายก
อัครศาสนูปถัมภก
อัครศาสนูปถัมภก (Upholder of religions) หมายถึง พระมหากษัตริย์ผู้ทะนุบำรุงศาสนาต่าง.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและอัครศาสนูปถัมภก
อังกฤษสมัยแองโกล-แซกซัน
อังกฤษสมัยแองโกล-แซกซัน (History of Anglo-Saxon England) (ค.ศ. 410 - ค.ศ. 1066) อังกฤษสมัยแองโกล-แซกซันเป็นประวัติศาตร์ของต้นยุคกลางของอังกฤษkjhccgkoohhhhggjgfที่เริ่มตั้งแต่ปลายสมัยโรมันบริเตนจนมาถีงการก่อตั้งราชอาณาจักรต่าง ๆ ของแองโกล-แซกซัน ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 และมาสิ้นสุดลงเมื่อชาวนอร์มันได้รับชัยชนะต่ออังกฤษ ในปี ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและอังกฤษสมัยแองโกล-แซกซัน
อาร์ชบิชอปแห่งยอร์ก
อาร์ชบิชอปแห่งยอร์ก (Archbishop of York) เป็นตำแหน่งผู้ปกครองระดับสูงในคริสตจักรแห่งอังกฤษ ถือเป็นตำแหน่งสูงสุดรองจากอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี มีฐานะเป็นบิชอปประจำมุขมณฑลยอร์ก และอาร์ชบิชอปแห่งภาคยอร์กซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมภาคเหนือของประเทศอังกฤษและเกาะแมน อาร์ชบิชอปแห่งยอร์กถือเป็นสมาชิกสภาขุนนางโดยตำแหน่ง และเป็นไพรเมตแห่งอังกฤษ (ส่วนอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีเป็น "ไพรเมตแห่งอังกฤษทั้งปวง") อาสนะประจำตำแหน่งอาร์ชบิชอปแห่งยอร์กต้ังอยู่ภายในมหาวิหารยอร์กกลางนครยอร์ก อาร์ชบิชอปคนปัจจุบันคือ ศาสนาจารย์ ดร.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและอาร์ชบิชอปแห่งยอร์ก
อาสนวิหารกิลด์ฟอร์ด
อาสนวิหารกิลด์ฟอร์ด (Guildford Cathedral) มีชื่อเป็นทางการว่าอาสนวิหารพระวิญญาณบริสุทธิ์ (Cathedral Church of the Holy Spirit, Guildford) เป็นอาสนวิหารในนิกายแองกลิคันตั้งอยู่ที่เมืองกิลด์ฟอร์ด มณฑลเซอร์รีย์ (Surrey) สหราชอาณาจักร มีชื่อเสียงเป็นอาสนวิหารแองกลิคันอาสนวิหารเดียวที่สร้างใหม่ทางภาคใต้ของสหราชอาณาจักรหลังจากการการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์A Factual Guide to Guildford Cathedral by Anita Basset.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและอาสนวิหารกิลด์ฟอร์ด
อาสนวิหารยอร์ก
อาสนวิหารยอร์ก (York Cathedral) มีชื่อเป็นทางการว่า "อาสนวิหารและคริสตจักรมหานครแห่งนักบุญเปโตรในกรุงยอร์ก" (The Cathedral and Metropolitical Church of St Peter in York) เป็นคริสต์ศาสนสถานประเภทอาสนวิหารที่สร้างเป็นแบบกอธิคที่ใหญ่ที่เป็นที่สองรองจากอาสนวิหารโคโลญในประเทศเยอรมนี ทางตอนเหนือของทวีปยุโรป อาสนวิหารยอร์กตั้งอยู่ที่เมืองยอร์กในยอร์กเชอร์ ทางตอนเหนือของ สหราชอาณาจักร เป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งของของอาร์ชบิชอปแห่งยอร์กซึ่งเป็นตำแหน่งสูงสุดในคริสตจักรแห่งอังกฤษรองจากอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี อาสนวิหารยอร์กถือกันว่าเป็น “high church” ของนิกายแองโกล-คาทอลิก (Anglo-Catholicism) ของคริสตจักรแองกลิคัน อาสนวิหารมีทางเดินกลางที่สร้างแบบกอธิควิจิตร (Decorated Gothic) และหอประชุมนักบวช บริเวณร้องเพลงสวดและทางด้านหลังเป็นแบบกอธิคแบบ กอธิคสูง (Perpendicular Gothic) ทางด้านเหนือของแขนกางเขนเป็นแบบกอธิคอังกฤษตอนต้น ทางเดินกลางมีหน้าต่างเหนือบานประตูที่สร้างเมื่อ..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและอาสนวิหารยอร์ก
อาสนวิหารแคนเทอร์เบอรี
อาสนวิหารแคนเทอร์เบอรี (Canterbury Cathedral) เป็นอาสนวิหารแองกลิคันตั้งอยู่ที่เมืองแคนเทอร์เบอรี ในสหราชอาณาจักร เป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี ซึ่งเป็นผู้นำคริสตจักรแห่งอังกฤษและผู้นำเชิงสัญลักษณ์ของแองกลิคันคอมมิวเนียน และเป็นที่ตั้งอาสนะของนักบุญออกัสติน (Chair of St.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและอาสนวิหารแคนเทอร์เบอรี
อาสนวิหารเว็ลส์
อาสนวิหารเว็ลส์ โครงค้ำรูปกรรไกรที่มีชื่อเสียงของอาสนวิหาร อาสนวิหารเว็ลส์ (Wells Cathedral) มีชื่อทางการว่าอาสนวิหารเซนต์แอนดรูว์ เป็นอาสนวิหารตั้งอยู่ที่เมืองเว็ลส์ในเทศมณฑลซัมเมอร์เซตในสหราชอาณาจักร เป็นอาสนวิหารประจำตำแหน่งบิชอปแห่งบาธและเว็ลส์ เมืองเว็ลส์ที่เป็นนครอาสนวิหาร (Cathedral city) ที่มีขนาดเล็กเป็นที่สองของอังกฤษรองจากเมืองอาสนวิหารลอนดอน (City of London) ที่อยู่ภายในใจกลางกรุงลอนดอน ชื่อเมืองเวลล์ส มาจากคำว่า “wells” ที่แปลว่าน้ำพุธรรมชาติ บ่อน้ำพุนี้ใช้กันมาตั้งแต่สมัยโรมันและปัจจุบันก็ยังไหลอยู่ น้ำที่ไหลมาจากบ่อใช้ในการรดน้ำในสวนของบาทหลวงและเติมคูวังของบิชอป ถึงแม้ว่าสถาปัตยกรรมส่วนใหญ่จะเป็นสถาปัตยกรรมกอทิกแต่ฐานเดิมของโบสถ์สร้างมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 10 โบสถ์แรกที่สร้างที่จุดนี้สร้างโดยพระเจ้าไอเนแห่งเวสเซ็กซ์ (Ine of Wessex) เมื่อปี..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและอาสนวิหารเว็ลส์
อาสนวิหารเอ็กซิเตอร์
อาสนวิหารเซนต์ปีเตอร์ที่เอ็กซิเตอร์ (Cathedral Church of Saint Peter at Exeter) หรือ อาสนวิหารเอ็กซิเตอร์ (Exeter Cathedral) เป็นอาสนวิหารแองกลิคันตั้งอยู่ที่เมืองเอ็กซีเตอร์ เทศมณฑลเดวอน ประเทศอังกฤษ เป็นที่ตั้งอาสนะของบิชอปแห่งเอ็กซิเตอร์ สิ่งก่อสร้างปัจจุบันสร้างเสร็จ เมื่อประมาณปี..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและอาสนวิหารเอ็กซิเตอร์
อาสนวิหารเดอรัม
อาสนวิหารเดอรัม คริสตจักรอาสนวิหารของพระคริสต์ พระนางมารีย์พรหมจารี และเซนต์คัธเบิร์ตแห่งเดอรัม (The Cathedral Church of Christ, Blessed Mary the Virgin and St Cuthbert of Durham) เรียกโดยย่อว่าอาสนวิหารเดอรัม เป็นอาสนวิหารแองกลิคัน ตั้งอยู่ที่เมืองเดอรัมใน สหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและอาสนวิหารเดอรัม
ธรรมนูญแคลเร็นดอน
พระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษผู้ทรงมีบทบาทในการอนุมัติธรรมนูญ ธรรมนูญแคลเร็นดอน (Constitutions of Clarendon) คือ วิธีดำเนินงานทางนิติบัญญัติจำพวกหนึ่งซึ่งพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษทรงอนุมัติในปี ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและธรรมนูญแคลเร็นดอน
ธุลีปริศนา
ลีปริศนา เป็นนิยายแฟนตาซีไตรภาค ประพันธ์โดย ฟิลิป พูลแมน ประกอบด้วยมหันตภัยขั้วโลกเหนือ (ค.ศ. 1995) มีดนิรมิต (ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและธุลีปริศนา
ทอมัส แบ็กกิต
นักบุญทอมัส แบ็กกิต (Thomas Becket) ต่อมารู้จักกันในชื่อ Thomas à Becket เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เกิดใน..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและทอมัส แบ็กกิต
ทอมัส โวลซีย์
ทอมัส โวลซีย์ (Thomas Wolsey) (มีนาคม ค.ศ. 1473 - 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1530) เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษและพระคาร์ดินัลแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก เมื่อเจ้าชายเฮนรีขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษในปี..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและทอมัส โวลซีย์
คริสตจักรแห่งอังกฤษ
ภาคแคนเทอร์เบอรี (สีเหลือง) และภาคยอร์ก (สีชมพู) คริสตจักรแห่งอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 44-5 (Church of England) เป็นคริสตจักรประจำชาติ ของอังกฤษ และเป็นคริสตจักรแม่ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลก ในช่วงแรกคริสตจักรในอังกฤษยังเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรโรมันคาทอลิก แต่เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษตัดสินพระทัยหย่าขาดกับพระนางแคเธอรินแห่งอารากอนซึ่งฝ่าฝืนคำสั่งของพระสันตะปาปาไป พระองค์ก็มีพระราชโองการให้คริสตจักรแห่งอังกฤษแยกตัวจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกในปี..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและคริสตจักรแห่งอังกฤษ
คทากางเขน
ทากางเขน (Sceptre with the Cross) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า คทาเซนต์เอ็ดเวิร์ด (St.), คทากษัตริย์ (Sovereign's Sceptre) หรือ คทาหลวง (Royal Sceptre) คือพระคทาประจำพระองค์ ซึ่งเป็นหนึ่งในเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักร ทำขึ้นเพื่อใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระเจ้าชาลส์ที่ 2ในปีค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและคทากางเขน
คทานกพิราบ
thumb คทานกพิราบ (Sceptre with the Dove) หรือเรียกอีกชื่อว่า คทาแห่งความเสมอภาคและกรุณา (Dove of Equity and Mercy) คือพระคทาประจำพระองค์ ซึ่งเป็นหนึ่งในเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักร ทำขึ้นเพื่อใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระเจ้าชาลส์ที่ 2ในปีค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและคทานกพิราบ
ตราแผ่นดินของจาเมกา
ตราอาร์มแห่งจาเมกา เป็นตราอาร์มที่สืบทอดมาจากตราอาร์มสมัยภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร โดยตราแบบดั้งเดิมที่สุดนั้นเริ่มใช้เมื่อ ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและตราแผ่นดินของจาเมกา
นักบุญดันสตัน
นักบุญดันสตัน (Dunstan) เป็นอธิการอารามกลาสเบอรี บิชอปแห่งเวิร์สเตอร์ บิชอปแห่งลอนดอน และอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี หลังมรณกรรมให้รับการประกาศเป็นนักบุญในปี ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและนักบุญดันสตัน
นักปราชญ์แห่งคริสตจักร
นักบุญอีซีโดโรแห่งเซบียา กับหนังสือซึ่งเป็นสัญลักษณ์ที่นิยมกันในการแสดงรูปของนักปราชญ์แห่งคริสตจักร นักปราชญ์แห่งคริสตจักร (Doctor of the Church; Doctor Ecclesiae) (คำว่า “docere” หรือ “doctor” ในภาษาละตินหมายถึง “สอน”) เป็นตำแหน่งที่คริสตจักรแต่งตั้งให้ผู้ที่มีความสำคัญด้านคำสอนหรือเทววิทยาศาสนาคริสต์เป็นพิเศษ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและนักปราชญ์แห่งคริสตจักร
แองกลิคันคอมมิวเนียน
แองกลิคันคอมมิวเนียน (Anglican Communion) เป็นองค์การระหว่างประเทศของคริสตจักรระดับชาติและระดับภูมิภาคที่ถือนิกายแองกลิคัน มีการร่วมสมานฉันท์กับคริสตจักรแห่งอังกฤษในฐานะเป็นคริสตจักรแม่ในคอมมิวเนียน มีอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีเป็นประธานไพรเมต การร่วมสมานฉันท์ในที่นี้หมายถึงมีข้อตกลงร่วมกันในการกำหนดหลักความเชื่อ และชาวแองกลิคันทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ในคริสตจักรใด ๆ ในคอมมิวเนียนได้ สมาชิกของแองกลิคันคอมมิวเนียนในปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 80 ล้านคนทั่วโลก นับว่าเป็นนิกายในศาสนาคริสต์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสามรองจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกและคริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และแม้จะอยู่ในแองกลิคันคอมมิวเนียนด้วยกันก็ไม่ใช่ทุกคริสตจักรในคอมมิวเนียนนี้ที่ใช้ชื่อแองกลิคัน เช่น คริสตจักรแห่งไอร์แลนด์ คริสตจักรสกอตติชอีปิสโคปัล คริสตจักรอีปิสโคปัล (สหรัฐ) เป็นต้น บางคริสตจักรก็เรียกตนแองว่าแองกลิคันเพราะถือว่าสืบสายมาจากคริสตจักรในอังกฤษ เช่น คริสตจักรแองกลิคันแห่งแคนาดา แต่ละคริสตจักรมีสิทธฺิ์กำหนดหลักความเชื่อ แนวพิธีกรรม และกระบวนการทางนิติบัญญัติเป็นของตนเอง แต่โดยมากจะถือตามคริสตจักรแห่งอังกฤษ ทุกคริสตจักรมีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล มีไพรเมตเป็นประมุข อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีเป็นประมุขทางศาสนาของคริสตจักรแห่งอังกฤษ แต่ไม่มีอำนาจหน้าที่ในคริสตจักรอื่น ๆ คงเป็นที่ยอมรับเฉพาะในฐานะประมุขเชิงสัญลักษณ์ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลก ในบรรดาไพรเมตในนิกายแองกลิคันจึงถือว่าอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีเป็น บุคคลอันดับหนึ่งในบรรดาผู้ที่เท่าเทียมกัน (Primus inter pares) ชาวแองกลิคันถือว่าแองกลิคันคอมมิวเนียนเป็นคริสตจักรที่เป็นหนึ่งเดียว ศักดิ์สิทธิ์ สากล และสืบมาจากอัครทูต มีทั้งความเป็นคาทอลิกและโปรเตสแตนต์ ศาสนิกชนบางคนจึงถือว่าแองกลิคันเป็นนิกายคาทอลิกที่ไม่ยอมรับพระสันตะปาปา หรือเป็นนิกายโปรเตสแตนต์แบบหนึ่งแม้จะไม่มีนักเทววิทยาโดดเด่นอย่างคริสตจักรอื่น เช่น มาร์ติน ลูเทอร์ จอห์น น็อกซ์ ฌ็อง กาลแว็ง ฮุลดริช สวิงลีย์ หรือจอห์น เวสลีย์ สำนักงานแองกลิคันคอมมิวเนียนมีเลขาธิการคือศาสนาจารย์ แคนันเคนเนท เคียรันเป็นหัวหน้.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและแองกลิคันคอมมิวเนียน
แอนน์ บุลิน พระราชินีแห่งอังกฤษ
แอนน์ บุลิน (Anne Boleyn) เป็นบุตรีของเซอร์ทอมัส บุลิน กับเลดีเอลิซาเบธ บุลิน และเป็นพระมเหสีพระองค์ที่ 2 ในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ และเป็นพระราชมารดาของเจ้าหญิงเอลิซาเบธ (ต่อมาเสด็จขึ้นเถลิงราชย์เป็นสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ) พระราชพิธีอภิเษกสมรสระหว่างสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 กับสมเด็จพระราชินีแอนน์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งเรื่องราว พระราชอำนาจหลังพระราชบัลลังก์ฉายเด่นชัดจากสมเด็จพระราชินีพระองค์นี้ ข้าราชการแบ่งฝักฝ่ายเป็นสองพวกคือ "คนของพระราชา" และ "คนของพระราชินี" แม้จนเมื่อท้ายที่สุดแล้วสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 จะทรงมีชัยชนะเหนือพระมเหสี สามารถสำเร็จโทษพระนางได้ ด้วยการกล่าวหาว่าพระนางสมสู่กับน้องชายแท้ ๆ ของพระนางเอง แต่ความแตกร้าวก็ยังคงมีอยู่ไม่รู้จบ พระองค์ถูกกล่าวขานถึงว่า "ราชินีแห่งอังกฤษที่โดดเด่นและสำคัญที่สุดเท่าที่เคยมี".
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและแอนน์ บุลิน พระราชินีแห่งอังกฤษ
แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ
แอนน์แห่งเดนมาร์ก (Anne of Denmark; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1574 — 2 มีนาคม ค.ศ. 1619) เป็นพระธิดาองค์ที่สองของพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์กและโซฟีแห่งเมคเลนบูร์ก-กึสโทร สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ เป็นพระมเหสีในพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ และที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ แอนน์แห่งเดนมาร์กเป็นพระราชินีแห่งสกอตแลนด์ระหว่างวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและแอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ
แอนเซล์มแห่งแคนเทอร์เบอรี
นักบุญแอนเซล์มแห่งแคนเทอร์เบอรีราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 4, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 142 (Anselm of Canterbury.) เดิมชื่อ อันเซลโม เด กันเดีย จีเนฟรา เป็นนักบุญในคริสตจักรโรมันคาทอลิก เกิดเมื่อค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและแอนเซล์มแห่งแคนเทอร์เบอรี
โทษต้องห้าม
ทษต้องห้าม (interdict) ในนิกายโรมันคาทอลิกหมายถึงการตำหนิโทษโดยคริสตจักร โทษต้องห้ามอาจจะประกาศต่อ อาณาจักร ท้องถิ่น หรือ ต่อบุคคล บทประกาศโทษต่อบุคคลจะลงโทษผู้หนึ่งผู้ใดโดยการระบุชื่อ การประกาศโทษต้องห้ามต่ออาณาจักรหรือท้องถิ่นจะเป็นการห้ามเข้าร่วมพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์ในคริสตจักรคือจากดินแดนหรืออาณาจักรที่ถูกบังคับโดยบทประกาศ โทษต้องห้ามท้องถิ่นต่ออาณาจักรเทียบเท่ากับการตัดขาดจากศาสนาที่ทำต่อบุคคล ที่จะเป็นการปิดทุกโบสถ์ในดินแดนดังกล่าว และไม่อนุญาตให้มีพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์ใด ๆ ที่รวมทั้งการแต่งงาน การสารภาพบาป และการโปรดศีลมหาสนิท ที่ยกเว้นก็จะมีการอนุญาตให้ทำพิธีรับศีลล้างบาปได้ และ การเจิมผู้ป่วย และ การทำศาสนพิธีเนื่องในวันศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนา การออกบทประกาศโทษเป็นเครื่องมือที่ใช้โดยพระสันตะปาปาในยุคกลางในการแสดงอิทธิพลต่อประมุขในยุโรป เช่นในกรณีที่สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 3 ทรงออกประกาศโทษต้องห้ามเป็นเวลาห้าปีต่อราชอาณาจักรอังกฤษ ระหว่างปี..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและโทษต้องห้าม
โปรเตสแตนต์
นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและโปรเตสแตนต์
ไบเบิลบาป
ลบาป (Wicked Bible), ไบเบิลคนบาป (Sinners' Bible), หรือ ไบเบิลแห่งการล่วงประเวณี (Adulterous Bible) เป็นชื่อเรียกคัมภีร์ไบเบิลที่รอเบิร์ต บาร์เกอร์ (Robert Barker) กับมาร์ติน ลูคัส (Martin Lucas) ผู้พิมพ์หลวงแห่งลอนดอน จัดพิมพ์ใน..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและไบเบิลบาป
เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์
วสต์มินสเตอร์แอบบีย์ (Westminster Abbey) เดิมเป็นแอบบีย์ แต่ปัจจุบันเป็นโบสถ์ในนิกายแองกลิคันที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในนครเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบสถาปัตยกรรมกอทิกเป็นส่วนใหญ่นอกจากหอคอยที่เป็นสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก เป็นสถานที่ประกอบพิธีราชาภิเษกและที่ฝังพระบรมศพพระมหากษัตริย์อังกฤษและพระศพพระบรมวงศานุวงศ์ ระหว่างปี..
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์
เอลินอร์แห่งพรอว็องส์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ
“พระนางเอลินอร์แห่งพรอว็องส์” พระนางเอลินอร์แห่งพรอว็องส์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ (Eleanor of Provence) (ราว ค.ศ. 1223 – 26 มิถุนายน ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและเอลินอร์แห่งพรอว็องส์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ
เอลิเนอร์แห่งอังกฤษ เคาน์เตสแห่งเลสเตอร์
อเลนอร์แห่งอังกฤษ (หรือ เอเลนอร์ แพลนทาเจเนต หรือ เอเลนอร์แห่งเลสเตอร์) (ค.ศ.1215 - 13 เมษายน ค.ศ.1275) เป็นลูกคนสุดท้องของพระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษกับอิซาเบลลาแห่งอ็องกูแลม.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและเอลิเนอร์แห่งอังกฤษ เคาน์เตสแห่งเลสเตอร์
เอลิเนอร์แห่งอากีแตน
อเลเนอร์แห่งอาควิเตน สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ หรือ เอเลเนอร์แห่งอากีแตน สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส ดัชเชสแห่งอากีแตนและแกสโคนี และเคานทเทสแห่งปัวตู (ภาษาอังกฤษ: Eleanor of Aquitaine หรือ Aliénor) (ราว ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและเอลิเนอร์แห่งอากีแตน
เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ
ระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส (Henrietta Maria of France) (25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1609 - 10 กันยายน ค.ศ. 1669) เป็นพระราชินีแห่งอังกฤษ พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียประสูติเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ
เจมส์ โอกิลวี
มส์ โอกิลวี.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและเจมส์ โอกิลวี
เจ้าชายลีโอโพลด์ ดยุกแห่งออลบานี
้าชายลีโอโพลด์ ดยุกแห่งออลบานี หรือพระนามเต็ม เลโอโพลด์ จอร์จ ดันแคน อัลเบิร์ต (Leopold George Duncan Albert) ทรงเป็นพระราชโอรสพระองค์สุดท้องในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียกับเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในสมาชิกพระราชวงศ์อังกฤษ พระองค์เป็นดยุกแห่งออลบานี เอิร์ลแห่งคลาเรนซ์และบารอน อาร์คโลว์ พระองค์ทรงเป็นฮีโมฟิเลียโดยสืบจากพระราชมาร.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและเจ้าชายลีโอโพลด์ ดยุกแห่งออลบานี
เจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์
้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ หรือ วิลเลียม อาร์เธอร์ ฟิลิป หลุยส์ (His Royal Highness Prince William Duke of Cambridge; William Arthur Philip Louis; ประสูติ: 21 มิถุนายน พ.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์
เจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์
้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์ (Prince Harry, Duke of Sussex) หรือ เจ้าชายเฮนรี ชาลส์ อัลเบิร์ต เดวิด (Prince Henry Charles Albert David; ประสูติ 15 กันยายน พ.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและเจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์
เจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเวลส์
้าหญิงชาร์ลอตต์ ออกัสตา แห่งเวลส์ (Princess Charlotte Augusta of Wales; 7 มกราคม ค.ศ. 1796 – 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1817) ทรงเป็นพระราชธิดาและบุตรพระองค์เดียวในเจ้าชายจอร์จแห่งเวลส์ (ต่อมาคือ พระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร) กับเจ้าหญิงคาโรลีนแห่งเบราน์ชไวก์ หากว่าเจ้าหญิงทรงมีพระชนม์ชีพยืนยาวกว่าพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร พระอัยกาและเจ้าชายจอร์จ พระราชบิดา พระนางอาจได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ แต่พระนางสิ้นพระชนม์เสียก่อนด้วยพระชนมายุ 21 พรรษา พระราชบิดาและพระราชมารดาของเจ้าหญิงชาร์ลอตต์ไม่ชอบพอกันตั้งแต่ก่อนการอภิเษกสมรสและแยกกันประทับในเวลาต่อมา เจ้าชายแห่งเวลส์ทรงให้เจ้าหญิงชาร์ลอตต์อยู่ภายใต้การอภิบาลของพระอภิบาลและข้าบริพาร และทรงได้รับอนุญาตให้ติดต่อเจ้าหญิงแห่งเวลส์อย่างจำกัด ผู้เสด็จออกจากประเทศ เมื่อเจ้าหญิงทรงเจริญพระชันษา พระราชบิดาของเจ้าหญิงทรงกดดันให้พระนางเสกสมรสกับวิลเลิม เจ้าชายรัชทายาทแห่งออเรนจ์ (ต่อมาทรงเป็นพระมหากษัตริย์เนเธอร์แลนด์) ทีแรกเจ้าหญิงทรงตอบรับการสู่ขอจากเจ้าชาย แต่ต่อมา พระนางทรงยกเลิกการหมั้นนี้ ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งระหว่างเจ้าหญิงกับพระราชบิดา และที่สุดเจ้าชายแห่งเวลส์ทรงอนุญาตให้เจ้าหญิงเสกสมรสกับเจ้าชายเลโอโปลด์แห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ (ต่อมาทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม) หลังทรงมีชีวิตสมรสที่มีความสุขเป็นเวลาหนึ่งปีครึ่ง เจ้าหญิงชาร์ลอตต์สิ้นพระชนม์หลังพระประสูติการพระโอรสตายคลอด การสิ้นพระชนม์ของเจ้าหญิงชาร์ลอตต์ทำให้เกิดความโศกเศร้าเสียใจในหมู่ชาวอังกฤษเป็นจำนวนมากซึ่งได้มีการไว้ทุกข์อย่างแพร่หลาย โดยชาวอังกฤษมองพระนางในฐานะสัญลักษณ์แห่งความหวังและต่อต้านพระราชบิดาซึ่งไม่เป็นที่นิยมและพระอัยกาผู้วิปลาส เนื่องจากเจ้าหญิงทรงเป็นพระราชนัดดาที่ถูกต้องตามกฎหมายเพียงพระองค์เดียวของพระเจ้าจอร์จที่ 3 การสิ้นพระชนม์ของเจ้าหญิงสร้างแรงกดดันให้พระโอรสของพระมหากษัตริย์ที่ยังโสดต้องเร่งแสวงพระชายา เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์และสแตรธเอิร์น พระราชโอรสองค์ที่สี่ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 ทรงมีรัชทายาทในที่สุด คือ เจ้าหญิงอเล็กซานดรินา วิกตอเรีย ผู้ประสูติหลังเจ้าหญิงชาร์ลอตต์สิ้นพระชนม์ไปแล้ว 18 เดือน.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและเจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเวลส์
เจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต
้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต (Princess Margaret of Connaught; มาร์กาเร็ต วิกตอเรีย ชาร์ล็อต ออกัสตา นอร่าห์ ภายหลังคือ มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน; 15 มกราคม พ.ศ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและเจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต
เซนต์ออกัสตินส์แอบบีย์
ซุ้มประตูสมัยยุคกลาง เป็นทางเข้าไปสู่อารามนักบุญออกัสติน เซนต์ออกัสตินส์แอบบีย์ หรือ อารามนักบุญออกัสติน (St.) ในปัจจุบันเป็นอดีตแอบบีย์ที่ตั้งอยู่ในเมืองแคนเทอร์เบอรี เทศมณฑลเคนต์ ประเทศอังกฤษ.
ดู อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและเซนต์ออกัสตินส์แอบบีย์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Archbishop of Canterburyอัครมุขนายกแห่งแคนเทอร์เบอรีอัครสังฆราชแห่งแคนเตอร์บรีอาร์คบิชอปแห่งแคนเตอร์บรี