โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อาณาจักรพม่า

ดัชนี อาณาจักรพม่า

อาณาจักรพม่า สามารถหมายถึง.

13 ความสัมพันธ์: ชุมนุมเจ้าพระฝางพ.ศ. 2336พ.ศ. 2368พม่าเสียเมืองพระเจ้าปีนดะเลการรบที่ปราจีนบุรีการล้อมอยุธยา (2309–2310)รายชื่อสงครามในประเทศไทยอาณาจักรธนบุรีธงชาติพม่าคริสต์ทศวรรษ 1790ประเทศไทยใน พ.ศ. 2336ประเทศไทยใน พ.ศ. 2368

ชุมนุมเจ้าพระฝาง

รูปหล่อบุคคลในพิพิธภัณฑ์วัดพระฝาง ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่าเป็นรูปหล่อของเจ้าพระฝาง (เรือน) อดีตผู้นำชุมนุมอิสระหลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองธีระวัฒน์ แสนคำ. (2559). "'''ศึกเจ้าพระฝาง พ.ศ. 2313: สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กับการปราบ "พวกสงฆ์อลัชชี" ที่เมืองสวางคบุรี'''," ใน ''ศิลปวัฒนธรรม''. ปีที่ 37 ฉบับที่ 5 มีนาคม ชุมนุมเจ้าพระฝาง เป็นชุมนุมอิสระภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ในปี พ.ศ. 2310 โดยมีผู้นำชุมนุมเป็นพระสงฆ์ คือ พระพากุลเถระ (มหาเรือน) พระสังฆราชาแห่งเมืองสวางคบุรี (ฝาง) ชุมนุมดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงยกทัพมาปราบปราม เมื่อ พ.ศ. 2313 โดยชุมนุมเจ้าพระฝาง เป็นชุมนุมอิสระสุดท้ายหลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกปราบชุมนุมก๊กเจ้าพระฝางได้นั้น นับเป็นการพระราชสงครามสุดท้ายที่ ทำให้สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงบรรลุพระราชภารกิจสำคัญ ในการรวบรวมพระราชอาณาเขตให้เป็นปึกแผ่นหนึ่งเดียวดังเดิมหลังภาวะจลาจลเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่า ในปี พ.ศ. 2310 และนับเป็นการสถาปนากรุงธนบุรีได้อย่างเบ็ดเสร็จสมบูรณ์ เมื่อสำเร็จศึกปราบชุมนุมก๊กเจ้าพระฝาง ในปี พ.ศ. 2313.

ใหม่!!: อาณาจักรพม่าและชุมนุมเจ้าพระฝาง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2336

ทธศักราช 2336 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 1793.

ใหม่!!: อาณาจักรพม่าและพ.ศ. 2336 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2368

ทธศักราช 2368 ตรงกับคริสต์ศักราช 1825 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: อาณาจักรพม่าและพ.ศ. 2368 · ดูเพิ่มเติม »

พม่าเสียเมือง

ม่าเสียเมือง เป็นสารคดีเกี่ยวกับความผันแปรในประเทศพม่า เริ่มตั้งแต่ต้นยุคราชวงศ์คองบองราชอาณาจักรพม่ายุคที่ 3 เรื่อยมาจนถึงรัชสมัยของพระเจ้าสีป่อและพระนางศุภยาลัต ที่อาณาจักรพม่าตกเป็นเมืองขึ้นของจักรวรรดิอังกฤษ ประพันธ์โดย หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจจากสารคดีเรื่อง เที่ยวเมืองพม่า พระนิพนธ์ในสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ครั้งแรกในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2512 โดยสำนักพิมพ์ก้าวหน้า ครั้งล่าสุดเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ พม่าเสียเมือง เป็นเค้าโครงเรื่องของนวนิยายอีกเรื่องหนึ่ง คือ เพลิงพระนาง ซึ่งมีการนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์แล้ว 2 ครั้ง คือในปี..

ใหม่!!: อาณาจักรพม่าและพม่าเสียเมือง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าปีนดะเล

พระเจ้าพินดาเล (2191-2204) กษัตริย์องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ตองอู เป็นพระราชโอรสองค์โตในพระเจ้าทาลุน เสด็จขึ้นครองราชย์แทนพระราชบิดาเมื่อปีพ.ศ. 2191 โดย 13 ปีแห่งการครองราชย์บ้านเมืองของพระองค์กลับอ่อนแอลง ตรงข้ามกับรัชสมัยของพระเจ้าอโนเพตลุน สมเด็จพระปิตุลา (ลุง) ของพระองค์ และพระเจ้าทาลุนพระราชบิดาของพระองค์ที่พาราชวงศ์ตองอูกลับมายิ่งใหญ่อีกครั้ง เมื่อถึงปีพ.ศ. 2204 ขุนนางทั้งหลายลงมติปลดพระเจ้าพินดาเลออกจากราชสมบัติ และอัญเชิญพระอนุชาของพระเจ้าพินดาเลขึ้นครองราชย์เป็น พระเจ้าปเย พร้อมกันนั้นพระเจ้าปเยก็ทรงมีบัญชาให้นำพระเจ้าพินดาเลไปสำเร็จโทษ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ราชวงศ์ตองอู.

ใหม่!!: อาณาจักรพม่าและพระเจ้าปีนดะเล · ดูเพิ่มเติม »

การรบที่ปราจีนบุรี

การรบที่ปราจีนบุรี เป็นการรบของกองทัพอาสาภายใต้การนำของกรมหมื่นเทพพิพิธ โดยมีจุดประสงค์เพื่อช่วยกรุงศรีอยุธยามิให้เสียแก่พม่า ระหว่างสงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง โดยตั้งกองทัพไว้ที่ปราจีนบุรี แต่ยังไม่ทันจะออกปฏิบัติการ กองทัพพม่าก็ชิงโจมตีก่อนจนกองทัพอาสาสลายตัวไป.

ใหม่!!: อาณาจักรพม่าและการรบที่ปราจีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมอยุธยา (2309–2310)

การปิดล้อมอยุธยา ระหว่างปี พ.ศ. 2309-พ.ศ. 2310 เป็นการปิดล้อมระยะเวลานานกว่า 14 เดือนระหว่างสงครามคราวเสียกรุงครั้งที่สอง ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าเอกทัศของอาณาจักรอยุธยา และพระเจ้ามังระของอาณาจักรพม.

ใหม่!!: อาณาจักรพม่าและการล้อมอยุธยา (2309–2310) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสงครามในประเทศไทย

รายชื่อสงครามในประเทศไทย มีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: อาณาจักรพม่าและรายชื่อสงครามในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรธนบุรี

อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง..

ใหม่!!: อาณาจักรพม่าและอาณาจักรธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติพม่า

ีเชิญธงชาติใหม่ของสาธารณรัฐสหภาพพม่าขึ้นสู่ยอดเสา ที่หน้าอาคารศาลาว่าการนครย่างกุ้ง ประเทศพม่า, 21 ตุลาคม พ.ศ. 2553 (ภาพข่าวจากสำนักข่าวอิรวดี) ธงชาติสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งตามแนวนอน ความกว้างเท่ากัน พื้นสีเหลือง สีเขียว และสีแดง เรียงตามลำดับจากบนลงล่าง กลางธงมีรูปดาวห้าแฉกสีขาวขนาดใหญ่ ธงนี้ได้เริ่มชักขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ในเวลา 15.00 น. ที่กรุงเนปยีดอ และในเวลา 15.33 น. ที่อาคารศาลาว่าการนครย่างกุ้ง (อ้างอิงตามเวลาท้องถิ่น) อันเป็นเวลา 17 วัน ก่อนหน้าการเลือกตั้งทั่วไปของพม่า ซึ่งจะมีขึ้นในวันที่ 7 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน ความหมายของสัญลักษณ์ในธงชาติประกอบด้วย สีเขียวหมายถึงสันติภาพ ความสงบ และความอุดมสมบูรณ์ของพม่า สีเหลืองหมายถึงความสามัคคี สีแดงหมายถึงความกล้าหาญ ความเข้มแข็ง เด็ดขาด ดาวสีขาวหมายถึงสหภาพอันมั่นคงเป็นเอก.

ใหม่!!: อาณาจักรพม่าและธงชาติพม่า · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1790

..

ใหม่!!: อาณาจักรพม่าและคริสต์ทศวรรษ 1790 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2336

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2336 ในประเทศไท.

ใหม่!!: อาณาจักรพม่าและประเทศไทยใน พ.ศ. 2336 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2368

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2368 ในประเทศไท.

ใหม่!!: อาณาจักรพม่าและประเทศไทยใน พ.ศ. 2368 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ราชอาณาจักรพม่า

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »