เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

อาณาจักร

ดัชนี อาณาจักร

อาณาจักร (kingdom; dominion) หมายถึง เขตแดนที่อยู่ในอำนาจปกครองของประเทศหนึ่ง อาจจำแนกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้.

สารบัญ

  1. 61 ความสัมพันธ์: บัต / ไอโชบาวาเรีย-ลันด์สฮูทพระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม)พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอาการ์กาซอนการเห็นเป็น 3 มิติกำแพงป้องกันมาริโอ (ตัวละคร)มดรัฐสุลต่านรูมรัฐอู๋รัฐนักรบครูเสดรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบาราชบัลลังก์กัสติยาราชรัฐกาตาลุญญาราชรัฐลิพเพอราชวงศ์ซาวอยราชอาณาจักรวิซิกอทราชอาณาจักรอิตาลี (ยุคกลาง)ราชอาณาจักรซิลิเชียราชอาณาจักรแห่งชนลอมบาร์ดราชอาณาจักรเพอร์กามอนลาสแองเจิลวัดร่ำเปิง (ตโปทาราม)ศาสนจักรสภาปกครองโรมันสาธารณรัฐนอฟโกรอดสิ่งมีชีวิตสนธิสัญญาแวร์เดิงอาณาจักร (ชีววิทยา)อาณาจักรชายแดนอาณาจักรพัน - พันอาณาจักรพุกามอาณาจักรลังกาสุกะอาณาจักรสิงหะส่าหรีอาณาจักรเชียะโท้อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)จักรพรรดิสันตะปาปานิยมจักรพรรดินีจักรวรรดิออตโตมันจักรวรรดิตูอีโตงาจักรวรรดิไนเซียจักรวรรดิเปอร์เชียธงชาติตองงาดัชชีเบราน์ชไวค์ความแตกแยกต้นสมัยกลางซิ ยิ่นกุ้ยประวัติศาสตร์หมู่เกาะแปซิฟิกนางลังกากินี... ขยายดัชนี (11 มากกว่า) »

บัต / ไอโช

ัท / ไอโช เป็นซิงเกิลที่ 35 ของคุมิ โคดะ เป็นดับเบิ้ล เอ ไซด์ซิงเกิล วางจำหน่ายในวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2550 เป็นซิงเกิลที่จำกัดขายในเฉพาะช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม..

ดู อาณาจักรและบัต / ไอโช

บาวาเรีย-ลันด์สฮูท

ัชชีแห่งบาวาเรีย-ลันด์สฮูท (Bayern-Landshut, Bavaria-Landshut) เป็นอาณาจักรบริวารของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ปกครองโดยดยุคแห่งบาวาเรีย-ลันด์สฮูท อาณาจักรก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.

ดู อาณาจักรและบาวาเรีย-ลันด์สฮูท

พระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม)

มหาอำมาตย์ตรี พระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม) (พ.ศ. ๒๔๐๑ - พ.ศ. ๒๔๖๑) กรมการพิเศษเมืองมหาสารคาม มณฑลร้อยเอ็จและที่ปรึกษาราชการเมืองมหาสารคาม อดีตเจ้าเมืองวาปีปทุมคนสุดท้าย (องค์ที่ ๒) อดีตเจ้าเมืองมหาสารคามคนสุดท้าย (องค์ที่ ๔) อีกทั้งเคยดำรงตำแหน่งข้าหลวงกำกับราชการเมืองมหาสารคาม ผู้ว่าราชการเมืองมหาสารคามท่านแรก นายอำเภอวาปีปทุมท่านแรก รวมถึงมีศักดิ์เป็นบุตรเขยและหลานลุงของพระเจริญราชเดชวรเชษฐ์มหาขัติยพงศ์ (กวด) เจ้าเมืองมหาสารคามคนแรก อนึ่ง พระเจริญราชเดช (อุ่น) เป็นต้นสกุลและได้รับพระราชทานนามสกุล ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม ซึ่งเป็นหนึ่งในสกุลหัวเมืองอีสานที่มีชื่อเสียงของประเทศไท.

ดู อาณาจักรและพระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม)

พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา

ประติมากรรมเศียรของพีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา (กรีก: Φίλιππος Β' ὁ Μακεδών-มีความหมายว่า- φίλος (phílos) "เพื่อน" + ἵππος (híppos) "ม้า") กษัตริย์แห่งราชอาณาจักรมาเกโดนีอา มีรัชสมัยอยู่ระหว่าง 359– 336 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นพระบิดาของอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งมาเกโดนีอา หรือที่รู้จักดีในนาม อเล็กซานเดอร์มหาราช พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา มีพระเนตรที่ใช้การได้เพียงข้างเดียว เป็นกษัตริย์นักรบแห่งมาเกโดนีอา ที่ทำการรบเอาชนะนครรัฐต่าง ๆ ของกรีซโบราณได้หลายแห่ง ทั้ง ธีบส์, เอเธนส์ หรือสปาร์ตา เมื่อพระองค์ทำการยึดครองนครรัฐเอเธนส์ซึ่งเสมือนเป็นศูนย์กลางของกรีซโบราณได้แล้ว ทำให้ชาวกรีกในนครรัฐต่าง ๆ ต้องเปลี่ยนมุมมองที่มีต่อชาวมาเกโดนีอาใหม่ จากที่เคยมองว่าเป็นเพียงชนเผ่าที่เหมือนเป็นเผ่าป่าเถื่อน ไร้อารยธรรมทางเหนือของอาณาจักรเท่านั้น เมื่อพระองค์ไม่ได้ทำลายสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ หรือทำลายอารยธรรมของชาวเอเธนส์ หากแต่พระองค์ได้พยายามเรียนรู้และผสมรวมกันกับอารยธรรมของมาเกโดนีอา และพระองค์ยังได้ส่งเสริมนักวิชาการ นักปราชญ์ชาวเอเธนส์ต่าง ๆ ด้วยว่าจ้างให้ไปเผยแพร่ความรู้ยังมาเกโดนีอา และเป็นอาจารย์สอนวิทยาการต่าง ๆ ให้แก่ชาวมาเกโดนีอา เช่น อริสโตเติล ซึ่งอเล็กซานเดอร์ เมื่อครั้งยังเยาว์วัย ก็เป็นลูกศิษย์ของอริสโตเติลด้วยเช่นกัน ในการสงคราม พระองค์ได้ปรับปรุงยุทธวิธีการรบแบบใหม่ ทรงพัฒนากองทัพมาเกโดเนียโบราณขึ้นจนถึงจุดสมบูรณ์แบบ โดยใช้การผสมระหว่างกองทหารราบและกองทหารม้าเข้าไว้ด้วยกัน ใช้อาวุธแบบใหม่ คือ ทวนที่มีความยาวกว่า 5 เมตร โดยการใช้กองทหารตั้งแถวหน้ากระดานเดินบุกขึ้นหน้า และใช้ทวนยาวนี้พุ่งทะลุแทงข้าศึก ซึ่งรูปแบบการรบที่ใช้กันต่อมาอย่างยาวนานของกรีซโบราณ อีกทั้งยังประดิษฐ์หน้าไม้ที่มีอานุภาพยิงได้ระยะไกล และทะลวงเข้าถึงเกราะหรือโล่ของข้าศึกได้อีกด้วย พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา มีประสงค์ที่จะทำสงครามกับอาณาจักรเปอร์เซีย ที่เสมือนเป็นคู่สงครามกับชาวกรีกมาตลอด แต่ประสงค์ของพระองค์มิทันได้เริ่มขึ้น เมื่อพระองค์สิ้นพระชนม์ลงก่อนเมื่อเดือนตุลาคม 336 ปีก่อนคริสต์ศักราช ขณะที่มีพระชนมายุได้ 46 ปี จากการลอบสังหารด้วยมีดปักเข้าที่พระอุระของมือสังหารที่เดินตามหลังพระองค์ ขณะที่พระองค์อยู่ในงานเฉลิมฉลอง ซึ่งไม่มีใครทราบถึงสาเหตุของการลอบสังหารครั้งนี้ เพราะมือสังหารได้ถูกสังหารโดยทหารองครักษ์ลงก่อนที่จะไต่สวนใด ๆ ได้มีการสันนิษฐานต่าง ๆ เช่น อาจเป็นการว่าจ้างของกษัตริย์เปอร์เซียด้วยทองคำ เป็นต้น.

ดู อาณาจักรและพีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา

การ์กาซอน

การ์กาซอน (Carcassonne) เป็นเมืองที่มีกำแพงป้องกันเมืองล้อมรอบที่ตั้งอยู่จังหวัดโอดในอดีตแคว้นล็องก์ด็อกในประเทศฝรั่งเศส เมืองการ์กาซอนแยกออกเป็นสองส่วน “Cité de Carcassonne” ซึ่งเป็นบริเวณเมืองที่ล้อมรอบด้วยกำแพงเมือง และ “ville basse” ซึ่งเป็นบริเวณปริมณฑลรอบตัวเมืองเก่า ที่มาของการ์กาซอนมาจากตำนานพื้นบ้านที่กล่าวว่าหลังจากประมุขของปราสาทชื่อ “การ์กัส” สามารถยุติการล้อมเมืองได้ก็ทำการสั่นระฆังเพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง “Carcas sona” แต่การสร้างเป็นประติมากรรมฟื้นฟูกอธิคบนคอลัมน์บนประตูนาร์บอนเป็นของใหม่ ป้อมปราการที่บูรณปฏิสังขรณ์ใหม่หมดในปี..

ดู อาณาจักรและการ์กาซอน

การเห็นเป็น 3 มิติ

การเห็นเป็น 3 มิติ (Stereopsis มาจากภาษากรีกโบราณคำว่า στερεο- คือ stereo- แปลว่า "แข็ง/มี 3 มิติ" และ ὄψις คือ opsis แปลว่า "การปรากฏ การมองเห็น") เป็นคำที่ใช้บ่อยที่สุดโดยหมายถึงการรับรู้ความใกล้ไกลและการรับรู้โครงสร้างและวัตถุที่มี 3 มิติ โดยอาศัยข้อมูลจากตาทั้งสองของบุคคลผู้มีพัฒนาการทางการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาที่เป็นปกติ " เพราะตาของมนุษย์และของสัตว์มากมายอื่น ๆ อยู่ในตำแหน่งตามแนวนอนที่ต่างกันบนศีรษะ การเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาจะเป็นผลจากภาพสองภาพซึ่งต่างกันเล็กน้อยที่ฉายตกลงที่จอตาทั้งสอง และภาพจะแตกต่างโดยหลักเป็นตำแหน่งที่ต่างกันของวัตถุต่าง ๆ ตามแนวนอน ความแตกต่างเช่นนี้เรียกในภาษาอังกฤษว่า horizontal disparities (ความต่างตามแนวนอน) หรือโดยคำที่กว้างกว่าคือ binocular disparities (ความต่างที่สองตา) โดยเปลือกสมองส่วนการเห็นจะแปลความต่างเช่นนี้ให้เป็นการรับรู้ความใกล้ไกล (depth perception) แม้ความต่างที่เห็นด้วยสองตาจะมีอยู่ตามธรรมชาติเมื่อมองทัศนียภาพด้วยสองตา แต่ก็สามารถสร้างขึ้นโดยแสดงภาพ 2 มิติที่ต่างกันสองภาพต่อแต่ละตาต่างหาก ๆ โดยเทคนิคที่เรียกว่า stereoscopy (ภาพ 3 มิติ) ความใกล้ไกลที่รับรู้จากเทคนิคเช่นนี้เรียกในภาษาอังกฤษว่า stereoscopic depth (ความใกล้ไกลจากภาพ 3 มิติ) แต่การรับรู้ความใกล้ไกลและโครงสร้างวัตถุ 3 มิติ ก็เป็นไปได้ด้วยข้อมูลจากแค่ตาเดียว เช่น ขนาดของวัตถุที่ต่างกัน และพารัลแลกซ์เนื่องกับการเคลื่อนไหว (motion parallax) ซึ่งเป็นความแตกต่างของวัตถุหนึ่ง ๆ เมื่อเวลาผ่านไปถ้าผู้มองกำลังเคลื่อนที่อยู่" แม้ความรู้สึกใกล้ไกลในกรณีเช่นนี้ จะไม่ชัดเท่ากับที่ได้จากความต่างที่เห็นด้วยสองตา" ดังนั้น คำภาษาอังกฤษว่า stereopsis หรือ stereoscopic depth บางครั้งจึงหมายถึงการรับรู้ความใกล้ไกลด้วยการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาโดยเฉพาะ ๆ คือหมายถึงเมื่อเรา "เห็นเป็น 3 มิติ" -->.

ดู อาณาจักรและการเห็นเป็น 3 มิติ

กำแพงป้องกัน

วนหนึ่งของกำแพงเมืองจีน กำแพงป้องกัน (Defensive wall) คือระบบป้อมปราการที่ใช้ในการป้องกันเมืองหรือชุมชนจากผู้รุกราน ตั้งแต่สมัยโบราณมาจนถึงสมัยปัจจุบันการสร้างกำแพงป้องกันมักจะสร้างล้อมรอบบริเวณชุมชนที่อยู่อาศัย โดยทั่วไปแล้วก็จะเรียกว่า กำแพงเมือง แต่ก็มีกำแพงที่ไม่ล้อมเมืองแต่จะยืดยาวเลยออกไปจากตัวเมืองเป็นอันมากที่ก็ยังถือว่าเป็นกำแพงป้องกัน เช่นกำแพงเมืองจีน, กำแพงเฮเดรียน หรือ กำแพงแห่งแอตแลนติก กำแพงเหล่านี้ใช้ในการป้องกันภูมิภาคหรือบ่งเขตแดนของอาณาจักร นอกจากวัตถุประสงค์โดยตรงในใช้ในการป้องกันจากข้าศึกศัตรูแล้วกำแพงป้องกันยังเป็นสัญลักษณ์ของฐานะและความเป็นอิสระของหมู่ชน หรือ เมือง หรือ ภูมิภาค ภายในกำแพงที่ล้อมเอาไว้ กำแพงป้องกันที่ยังคงเหลืออยู่มักจะเป็นกำแพงที่สร้างด้วยหิน และก็มีกำแพงที่สร้างด้วยอิฐ และ ไม้ที่ยังคงมีเหลืออยู่ให้เห็น การสร้างกำแพงก็ขึ้นอยู่กับภูมิลักษณ์ (topography) ของที่ตั้งและองค์ประกอบของพื้นที่ เช่นบริเวณริมฝั่งทะเล หรือ แม่น้ำ ซึ่งอาจจะเป็นองค์ประกอบที่ใช้เป็นส่วนหนึ่งของระบบป้องกันที่ผสานไปกับหรือเสริมกำแพงป้องกันได้อย่ามีประสิทธิภาพ กำแพงอาจจะเข้าออกได้โดยการใช้ประตูเมืองที่มักจะเสริมด้วยหอ ในยุคกลางสิทธิของผู้ตั้งถิ่นฐานในการสร้างกำแพงป้องกันเป็นอภิสิทธิ์ที่มักจะต้องได้รับจากประมุขของราชอาณาจักรที่เรียกว่า “สิทธิในการสร้างกำแพงป้องกัน” (Right of crenellation) การสร้างกำแพงป้องกันวิวัฒนาการมาเป็นกำแพงอันใหญ่โต และมาพัฒนากันอย่างจริงจังในสมัยสงครามครูเสด และต่อมาในยุคของความรุ่งเรืองของนครรัฐในยุโรป.

ดู อาณาจักรและกำแพงป้องกัน

มาริโอ (ตัวละคร)

มาริโอ เป็นตัวละครจากวิดีโอเกมและการ์ตูนมาริโอ และเป็นสัญลักษณ์ของบริษัทเกมนินเทนโด สร้างโดยนักออกแบบวิดีโอเกมชื่อ ชิเงรุ มิยาโมโตะ หลังจากได้เป็นสัญลักษณ์นำโชคให้กับบริษัทและเป็นตัวเอกของเกมชุดแล้ว มาริโอได้ปรากฏตัวในวิดีโอเกมต่าง ๆ กว่า 200 เกม มาริโอถูกออกแบบให้เป็นช่างประปาชาวอิตาลีร่างอ้วนเตี้ย อาศัยอยู่ในอาณาจักรเห็ด มีภารกิจคือการช่วยชีวิตเจ้าหญิงพีชจากเต่าวายร้ายชื่อบาวเซอร์ มาริโอมีน้องชายชื่อ ลุยจิ นอกจากนี้เขายังปรากฏในวิดีโอเกมแนวอื่น ๆ เช่น แนวรถแข่ง เช่นเกมชุด มาริโอคาร์ต (Mario Kart) เกมแนวกีฬา เช่นเกมชุด มาริโอเทนนิส และ มาริโอกอล์ฟ เกมแนวสวมบทบาทของนินเทนโด เช่นเกมชุด เปเปอร์มาริโอ และ ซูเปอร์มาริโออาร์พีจี และเกมเพื่อการศึกษา เช่น มาริโออิซมิสซิง! และมาริโอสไทม์แมตชีน แฟรนไชส์มาริโอยังได้ต่อยอดไปยังสื่อต่าง ๆ มากมาย เช่น รายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ หนังสือการ์ตูน และสินค้ามีลิขสิทธิ์ต่าง ๆ อีกด้วย ผู้พากย์เสียงเขาคือชาลส์ มาร์ทิเนต พากย์ตั้งแต่ปี..

ดู อาณาจักรและมาริโอ (ตัวละคร)

มด

มด เป็นมดในมด Formicidae อันดับ Hymenoptera มดมีการสร้างรังเป็นอาณาจักรขนาดใหญ่ บางรังมีจำนวนประชากรมากถึงล้านตัว มีการแบ่งวรรณะกันทำหน้าที่คือ วรรณะมดงาน เป็นมดเพศเมียเป็นหมัน ทำหน้าที่หาอาหาร สร้างและซ่อมแซมรัง ปกป้องรังจากศัตรู ดูแลตัวอ่อน และงานอื่น ๆ ทั่วไป เป็นวรรณะที่พบได้มากที่สุด วรรณะสืบพันธุ์ เป็นมดเพศผู้ และราชินี เพศเมีย มีหน้าที่สืบพันธุ์ เนื่องจากมดเป็นสัตว์ในวงศ์ Formicidae จึงสามารถผลิตกรดมดหรือกรดฟอร์มิกได้เป็นลักษณะเฉพาะของสัตว์ในวงศ์นี้.

ดู อาณาจักรและมด

รัฐสุลต่านรูม

รัฐสุลต่านรูม (Sultanate of Rûm, سلاجقة الروم) เป็นรัฐสุลต่านเซลจุคตุรกี ที่ปกครองอาณาบริเวณส่วนใหญ่ของอานาโตเลียระหว่างปี ค.ศ.

ดู อาณาจักรและรัฐสุลต่านรูม

รัฐอู๋

รัฐอู๋ เป็นรัฐหนึ่งในช่วงราชวงโจวตะวันตก (Western Zhou Dynasty) และยุควสันตสารท (ยุคชุนชิว) และเป็นที่รู้จักในอีกชื่อหนึ่งว่า โกวอู๋ (Gouwu; 勾吳) หรือ กงอู๋ (Gongwu; 工吳) ตามลักษณะการออกเสียงในสำเนียงภาษาท้องถิ่น รัฐอู๋ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำแยงซี ทางตะวันออกของแค้วนฉู่ (อังกฤิษ: State of Chu; จีน: 楚; พินอิน: Chǔ; หรือ จีนตัวเต็ม: 楚國; จีนตัวย่อ: 楚国; พินอิน: Chǔguó) มีเมืองหลวงแห่งแรกชื่อ เหมยหลี่ (อังกฤิษ: Meili; จีน:梅里; พินอิน: Méilǐ) (เมืองอู๋ซีในปัจจุบัน) และภายหลังย้ายไปที่เมืองกูซู (อังกฤษ: Gusu; จีนตัวย่อ: 姑苏; จีนตัวเต็ม: 姑蘇; พินอิน: Gūsū) (ในบริเวณเมืองใหม่ซูโจว) และเมืองเหอหลู (อังกฤิษ: Helü; จีนตัวเต็ม: 闔閭; จีนตัวย่อ: 阖闾) (บริเวณเมืองเก่าซูโจวในปัจจุบัน).

ดู อาณาจักรและรัฐอู๋

รัฐนักรบครูเสด

ตะวันออกใกล้ในปี ค.ศ. 1135 โดยมีอาณาจักรครูเสดเป็นสีเขียว อานาโตเลียและอาณาจักรครูเสด ราว ค.ศ. 1140 รัฐนักรบครูเสด (Crusader states) คือกลุ่มรัฐเจ้าขุนมูลนายที่นักรบครูเสดชาวยุโรปตะวันตกตั้งขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 12 - 13 ในอานาโตเลีย กรีซ และแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ (อิสราเอลโบราณและปัจจุบัน และในบริเวณปาเลสไตน์) แต่ในที่สุดอำนาจของอิสลามในตะวันออกกลางก็พิชิตรัฐเหล่านี้ได้หมด นอกจากนั้นรัฐนักรบครูเสดก็ยังหมายถึงดินแดนอื่นที่คริสตจักรสมัยกลางได้มา (ส่วนใหญ่เป็นรัฐเล็กและเพียงชั่วระยะเวลาอันสั้น) เพื่อป้องกันชาวมุสลิมและดินแดนของผู้นอกศาสนาอื่น ๆ ด้ว.

ดู อาณาจักรและรัฐนักรบครูเสด

รัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบา

รัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบา (خلافة قرطبة, Khilāfat Qurṭuba) ปกครองคาบสมุทรไอบีเรียและแอฟริกาเหนือจากเมืองกอร์โดบา ตั้งแต่ปี..

ดู อาณาจักรและรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบา

ราชบัลลังก์กัสติยา

ราชบัลลังก์กัสติยา (Corona de Castilla) เป็นสหอาณาจักรที่มักจะกล่าวกันว่าเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู อาณาจักรและราชบัลลังก์กัสติยา

ราชรัฐกาตาลุญญา

การแบ่งแยกกาตาลุญญาระหว่างสเปนกับฝรั่งเศสในสนธิสัญญาพิเรนีส ราชรัฐกาตาลุญญา (Principat de Catalunya; Principautat de Catalonha) หรือ ราชรัฐแคทาโลเนีย (Principality of Catalonia) เป็นอดีตอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของคาบสมุทรไอบีเรีย ส่วนใหญ่อยู่ในเขตประเทศสเปน โดยมีบางส่วนที่อยู่ทางใต้ของประเทศฝรั่งเศสในปัจจุบัน ราชรัฐแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นจากการรวมอาณาจักรเคานต์ต่าง ๆ เข้าด้วยกันเป็นบริเวณชายแดนแห่งสเปน (Marca Hispanica) ระหว่างสมัยการพิชิตดินแดนคืนภายใต้การนำของเคานต์แห่งบาร์เซโลนา ต่อมาราชรัฐก็รวมตัวกันทางราชวงศ์ในปี..

ดู อาณาจักรและราชรัฐกาตาลุญญา

ราชรัฐลิพเพอ

ราชรัฐลิพเพอ (Fürstentum Lippe, Principality of Lippe) เป็นอดีตอาณาจักรที่เดิมเป็นรัฐในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ราชรัฐลิพเพอก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.

ดู อาณาจักรและราชรัฐลิพเพอ

ราชวงศ์ซาวอย

ราชวงศ์ซาวอย (Casa Savoia, House of Savoy) เป็นราชตระกูลที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1003ในภูมิภาคประวัติศาสตร์ซาวอย ราชตระกูลขยายตัวและรุ่งเรืองขึ้นจากราชตระกูลที่ปกครองอาณาจักรเคานท์ในบริเวณซาวอยไปจนในที่สุดก็ได้ปกครองราชอาณาจักรอิตาลีจนกระทั่งปลายสงครามโลกครั้งที่สองเมื่อตำแหน่งพระมหากษัตริย์อิตาลีถูกยุบเลิกในปี ค.ศ.

ดู อาณาจักรและราชวงศ์ซาวอย

ราชอาณาจักรวิซิกอท

ราชอาณาจักรวิซิกอท (Visigothic kingdom) เป็นอำนาจของยุโรปตะวันตกที่เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 8 เป็นหนึ่งในรัฐที่ตามมาจากจักรวรรดิโรมันตะวันตก เดิมก่อตั้งขึ้นโดยการการตั้งถิ่นฐานของวิซิกอทภายใต้ประมุขของตนเองในอากีแตน (กอลตอนใต้) โดยรัฐบาลของโรมัน ต่อมาก็ขยายดินแดนออกไปโดยการพิชิตในคาบสมุทรไอบีเรีย ราชอาณาจักรสามารถดำรงตัวเป็นอิสระจากจักรวรรดิไบแซนไทน์เมื่อไบแซนไทน์พยายามรื้อฟื้นอำนาจของโรมันในไอบีเรียประสบความล้มเหลว แต่เมื่อมาถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 6 ชนแฟรงค์ในกอลก็สามารถได้รับชัยชนะต่อราชอาณาจักรวิซิกอททั้งหมดยกเว้นเซ็พติมาเนีย ในที่สุดราชอาณาจักรวิซิกอทก็ล่มสลายระหว่างการโจมตีของการรุกรานของอิสลาม (Umayyad conquest of Hispania) จากโมร็อกโก ต่อมาราชอาณาจักรอัสตูเรียสก็กลายเป็นอาณาจักรที่สืบต่อจากราชอาณาจักรวิซิกอท ราชอาณาจักรวิซิกอทปกครองโดยพระมหากษัตริย์ที่มาจากการเลือกตั้งและต้องเป็นชนกอธโดยมี “เซเนท” เป็นที่ปรึกษาราชการที่ประกอบด้วยสังฆราช และขุนนาง แม้ว่าพระมหากษัตริย์จะพยายามก่อตั้งราชวงศ์แต่ก็ไม่มีผู้ใดทำสำเร็จ พระมหากษัตริย์องค์แรก ๆ นับถือคริสต์ศาสนานิกาย Arianism หลังจากนั้นก็เปลี่ยนเป็นลัทธิไนเซียน (Nicene Creed) ซึ่งทางสถาบันศาสนาพยายามสร้างอำนาจมากขึ้นจากการประชุมสภาสงฆ์แห่งโตเลโด (Councils of Toledo) แต่กระนั้นวิซิกอทก็เป็นชาติที่มีการวิวัฒนาการทางกฎหมายทางโลกที่ก้าวหน้าที่สุดในยุโรปตะวันตก “Liber Iudiciorum” กลายมาเป็นรากฐานของกฎหมายของสเปนตลอดยุคกลาง.

ดู อาณาจักรและราชอาณาจักรวิซิกอท

ราชอาณาจักรอิตาลี (ยุคกลาง)

ราชอาณาจักรอิตาลี (Kingdom of Italy, Regnum Italiae หรือ Regnum Italicum) เป็นอาณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นโดยชนลอมบาร์ดผู้เข้ามารุกรานคาบสมุทรอิตาลีหลังจากที่ราชอาณาจักรออสโตรกอธถูกทำลายในปี..

ดู อาณาจักรและราชอาณาจักรอิตาลี (ยุคกลาง)

ราชอาณาจักรซิลิเชีย

ราชอาณาจักรอาร์มีเนียแห่งซิลิเชีย (Armenian Kingdom of Cilicia) หรือ ราชอาณาจักรซิลิเชีย (Cilician Kingdom) หรือ นิวอาร์มีเนีย เป็นคนละราชอาณาจักรกับราชอาณาจักรอาร์มีเนียของสมัยโบราณ เป็นอาณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นในยุคกลางโดยผู้ลี้ภัยชาวอาร์มีเนียที่หนีการรุกรานอาร์มีเนียของชนเซลจุคตุรกี (Seljuk Turks)Poghosyan, S.; Katvalyan, M.; Grigoryan, G.

ดู อาณาจักรและราชอาณาจักรซิลิเชีย

ราชอาณาจักรแห่งชนลอมบาร์ด

ราชอาณาจักรแห่งชนลอมบาร์ด หรือ ราชอาณาจักรแห่งชนลอมบาร์ด (Regnum Langobardorum, Kingdom of the Lombards หรือ Lombard Kingdom, ภาษาเยอรมันเก่า Langbardland) เป็นราชอาณาจักรในยุคกลางตอนต้นที่ก่อตั้งโดยชนลอมบาร์ดที่ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลี ราชอาณาจักรแห่งชนลอมบาร์ดรุ่งเรืองระหว่างปี ค.ศ.

ดู อาณาจักรและราชอาณาจักรแห่งชนลอมบาร์ด

ราชอาณาจักรเพอร์กามอน

ราชอาณาจักรเพอร์กามอน (Kingdom of Pergamon) เป็นราชอาณาจักรในบริเวณตะวันออกกลางในเอเชียและยุโรปในบริเวณที่ปัจจุบันคือประเทศตุรกี ราชอาณาจักรเพอร์กามอนก่อตั้งขึ้นในปี 241 ก่อนคริสต์ศักราชโดยอัตตาลัสที่ 1 ราชอาณาจักรเจริญถึงจุดสูงสุดในปี 188 ก่อนคริสต์ศักราช ในปี 133 ก่อนคริสต์ศักราชอัตตาลัสที่ 3ก็ยกราชอาณาจักรให้แก่พลเมืองโรมัน.

ดู อาณาจักรและราชอาณาจักรเพอร์กามอน

ลาสแองเจิล

ลาส แองเจิ้ล ฟีเจอริ่ง โทโฮชินกิ เป็นซิงเกิลที่ 38 ของคุมิ โคดะ วางจำหน่ายในวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 และเป็นซิงเกิลแรกของคุมิที่ร้องร่วมกันกับนักร้องร่วมค่ายอย่างโทโฮชินกิ โดยเปิดตัวสัปดาห์แรกที่อันดับ 3 ของออริกอนชาร์ตด้วยยอดขาย 57,310 แผ่น และมียอดขายรวมประมาณ 89,620 แผ่น เพลง LAST ANGEL เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องผีชีวะ 3 สงครามสูญพันธุ์ไวรัส และยังเป็นเพลงโฆษณาของ music.jp อีกด้วย ในประเทศไทยซิงเกิล LAST ANGEL feat.東方神起 เคยมีตารางการวางจำหน่ายในประเทศไทยโดยบริษัท จีเอ็มเอ็มแกรมมี่ เป็นผู้จัดจำหน่ายในรูปแบบ ซีดี+วีซีดี แต่สุดท้ายได้ยกเลิกการผลิตในประเทศไทยด้วยเหตุผลปัญหาทางลิขสิทธิ์ในบางประการ.

ดู อาณาจักรและลาสแองเจิล

วัดร่ำเปิง (ตโปทาราม)

วัดร่ำเปิง (140px) ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 1 หมู่ 5 ถนนคันคลองชลประทาน ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ นอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ อีกทั้งอยู่ใกล้บริเวณวัดอุโมงค์ วัดป่าแดง และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายในวัดมีพื้นที่ทั้งหมด 19 ไร่ 1 งาน 78 ตารางวา วัดร่ำเปิงยังได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ศูนย์พัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติฯ ประจำจังหวัดเชียงใหม่ ปี..

ดู อาณาจักรและวัดร่ำเปิง (ตโปทาราม)

ศาสนจักร

นจักร คือ อำนาจปกครองทางศาสนา เรียกคู่กับ "อาณาจักร" คืออำนาจปกครองทางบ้านเมือง.

ดู อาณาจักรและศาสนจักร

สภาปกครองโรมัน

ตราอาร์มของสันตะสำนัก สภาปกครองโรมันราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 405 (Curia Romana กูเรียโรมานา) เป็นองค์การปกครองของสันตะสำนัก ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อบริหารงานในคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั้งหมดร่วมกับพระสันตะปาปา คำว่า กูเรีย ในภาษาละตินแปลว่า ราชสำนัก ดังนั้น กูเรียโรมานา จึงแปลตามตัวอักษรว่า ราชสำนักโรม ซึ่งหมายถึงสำนักสันตะปาปา และมีหน้าที่ช่วยเหลือพระสันตะปาปาในการบริหารปกครองศาสนจักร จึงมีลักษณะคล้ายกับรัฐบาลในฝ่ายอาณาจักร และมีสมณะกระทรวงทำหน้าที่คล้ายกระทรวง สภาปกครองโรมันประกอบด้วยองค์กรในระดับต่าง ๆ ดังนี้;สำนักเลขาธิการแห่งรัฐวาติกัน สำนักเลขาธิการแห่งรัฐวาติกัน (The Secretariat of State) เป็นองค์กรที่เก่าแก่ที่สุดในสภาปกครองโรมัน ก่อตั้งมาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถือเป็นรัฐบาลของคริสตจักรโรมันคาทอลิก มีพระคาร์ดินัลเลขาธิการแห่งรัฐเป็นหัวหน้า มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับบทบาททางการเมืองและการทูตของสันตะสำนัก;สมณะกระทรวง สมณะกระทรวง (Congregations) เป็นองค์การปกครองส่วนกลางของคริสตจักรโรมันคาทอลิก มีสมณมนตรีซึ่งล้วนแต่มีสมณศักดิ์เป็นพระคาร์ดินัลเป็นหัวหน้า;ศาลชำนัญพิเศษ ศาลชำนัญพิเศษ (Tribunals) ของสันตะสำนักประกอบด้วย สมณทัณฑสถาน โรมันโรตา และศาลชำนัญพิเศษสูงสุดแห่งพระสมณนาม;สมณะทบวง สมณะทบวง (Pontifical Councils) คือกลุ่มตัวแทน ซึ่งรวมเป็นองค์กรขนาดกลางช่วยเหลือพระสันตะปาปาในการจัดการด้านต่าง ๆ แต่ละสมณะทบวงมีพระคาร์ดินัลหรืออัครมุขนายกเป็นประธาน;สมัชชามุขนายก สมัชชามุขนายก (Synod of Bishops) ก่อตั้งขึ้นสมัยสังคายนาวาติกันครั้งที่สอง ถือเป็นคณะที่ปรึกษาของพระสันตะปาปาในการตัดสินใจ สมาชิกของสมัชชาคัดเลือกมาจากมุขนายกจากภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลก โดยมีพระสันตะปาปาดำรงตำแหน่งประธานสมัชชา;สำนักงาน สำนักงาน (Offices) มีอยู่ 3 สำนักงาน ทำหน้าที่ดูแลการเงินและทรัพย์สินของศาสนจักร;สมณะกรรมาธิการ สมณะกรรมาธิการ (Pontifical Commissions) คือคณะกรรมาธิการที่พระสันตะปาปาทรงแต่งตั้งขึ้นจากชาวคาทอลิกผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน;องครักษ์สวิส องครักษ์สวิส (Swiss Guard) เป็นทหารชาวสวิสที่ทำนหน้าที่รักษาความปลอดภัยให้กับพระสันตะปาปาและศาสนพิธีต่าง ๆ;สำนักงานแรงงานแห่งสันตะสำนัก สำนักงานแรงงานแห่งสันตะสำนัก (Labour Office of the Apostolic See) เป็นหน่วยงานที่สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ทรงตั้งขึ้น มีหน้าที่รับผิดชอบเรื่องแรงงานสัมพันธ์ระหว่างสันตะสำนักกับเหล่าลูกจ้าง;สมณบัณฑิตยสถาน สมณบัณฑิตยสถาน (Pontifical Academies) เป็นสมาคมผู้คงแก่เรียนที่ก่อตั้งโดยสันตะสำนัก ปัจจุบันมีสมณบัณฑิตยสถานอยู่ทั้งสิ้น 11 แห่ง ตั้งอยู่ภายในนครรัฐวาติกัน กรุงโรม.

ดู อาณาจักรและสภาปกครองโรมัน

สาธารณรัฐนอฟโกรอด

รณรัฐนอฟโกรอด (Новгородская республика, Novgorod Republic) เป็นสาธารณรัฐใหญ่ในยุคกลางของรัสเซียที่มีอาณาบริเวณตั้งแต่ทะเลบอลติกไปจนถึงเทือกเขายูรัล สาธารณรัฐนอฟโกรอดมีความรุ่งเรืองระหว่างคริสต์ศักราชที่ 12 ถึง 15 โดยมีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณนอฟโกรอด คำว่า “สาธารณรัฐศักดินา” (feudal republic) เป็นคำที่มักจะใช้เรียกโดยนักวิชาการในสมัยโซเวียต และโดยนักวิชาการมาร์กซิสต์เพื่อให้ตรงกับปรัชญาทางประวัติศาสตร์ของลัทธิที่ประกอบด้วยยุคทาส ยุคศักดินา ยุคทุนนิยม ยุคสังคมนิยม และยุคคอมมิวนิสต์ แต่นักวิชาการในปัจจุบันตั้งความสงสัยว่ารัสเซียจะเคยใช้ระบบศักดินาในความหมายเดียวกับที่ใช้ในตะวันตกในยุคกลางจริงหรือไม่ และคำว่า “สาธารณรัฐศักดินา” ก็ไม่เคยได้รับการใช้โดยชาวนอฟโกรอดเองแต่จะเรียกนครรัฐของตนเองว่า “อาณาจักรลอร์ดแห่งนอฟโกรอดเดอะเกรต” (His Majesty (หรือ Sovereign) Lord Novgorod the Great) (Государь Господин Великий Новгород) หรือ “ลอร์ดแห่งนอฟโกรอดเดอะเกรต” (Господин Великий Новгород) อาณาบริเวณทั้งหมด - ทั้งตัวเมืองและดินแดนที่ไกลออกไป - รู้จักกันว่าเป็น “ดินแดนนอฟโกรอด” (Novgorodian Land) นอฟโกรอดเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเคียฟรุสมาจนกระทั่งถึงราวปี..

ดู อาณาจักรและสาธารณรัฐนอฟโกรอด

สิ่งมีชีวิต

งมีชีวิต จะมีคุณลักษณะ (properties) ที่ไม่พบในสิ่งไม่มีชีวิต อันได้แก่ความสามารถในการใช้สสารและพลังงานเป็นสำคัญ ซึ่งได้รับถ่ายทอดจากบรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตแรกเริ่ม อย่างไรก็ตามสิ่งมีชีวิตเริ่มแรกหรือบรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตซึ่งถือกำเนิดมาบนโลกกว่า 4 พันล้านปี เมื่อผ่านการวิวัฒนาการและการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมในแต่ละช่วงเวลา ก่อให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตเป็นจำนวนมากดังที่ปรากฏในปัจจุบัน.

ดู อาณาจักรและสิ่งมีชีวิต

สนธิสัญญาแวร์เดิง

นธิสัญญาแวร์เดิง (Treaty of Verdun) เป็นสนธิสัญญาระหว่างพระราชโอรสสามพระองค์ของหลุยส์เดอะไพอัส (พระราชนัดดาของชาร์เลอมาญ) ในการแบ่งจักรวรรดิแฟรงค์ออกเป็นสามอาณาจักร แม้ว่าบางครั้งการแบ่งจักรวรรดิครั้งนี้จะเห็นกันว่าเป็นการทำลายจักรวรรดิมหาอำนาจที่ก่อตั้งขึ้นโดยชาร์เลอมาญ แต่อันที่จริงแล้วเป็นการทำตามประเพณีเจอร์มานิคในการแบ่งทรัพย์ให้แก่ทายาทแต่ละคนเท่าๆ กันแทนที่จะใช้กฎการสืบสมบัติโดยสิทธิของบุตรคนแรก (primogeniture) ที่มอบสมบัติทั้งหมดให้แก่บุตรชายคนโตเท่านั้น เมื่อหลุยส์เดอะไพอัสสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ.

ดู อาณาจักรและสนธิสัญญาแวร์เดิง

อาณาจักร (ชีววิทยา)

ในชีววิทยา, อาณาจักร เป็นระดับหรือหมู่ที่ใหญ่เกือบที่สุดของสิ่งมีชีวิต ใช้ในการการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิตในโลก นักอนุกรมวิธานมีความเห็นในการจัดหมวดหมู่แตกต่างกันไป เช่น แบ่งออกเป็น 5 อาณาจักร 6 อาณาจักร หรือ 8 อาณาจักร (แคมป์เบลล์, 1996) ซึ่งระบบที่เป็นที่นิยมใช้ในอดีตและปัจจุบันระบบหนึ่งคือระบบ 5 อาณาจักร ส่วนอีกระบบที่เริ่มแพร่หลายและคาดว่าจะได้รับความนิยมต่อไป คือระบบ 6 อาณาจักร 3 โดเมน.

ดู อาณาจักรและอาณาจักร (ชีววิทยา)

อาณาจักรชายแดน

ริเวณชายแดนแห่งสเปน-ฝรั่งเศส บริเวณชายแดน หรือ อาณาจักรชายแดน หรือ อาณาจักรมาร์ช (March หรือ Mark) คือบริเวณชายแดนที่คล้ายคลึงกับพรมแดนเช่นภูมิภาคชายแดนเวลส์ (Welsh Marches) ซึ่งเป็นบริเวณระหว่างอังกฤษและเวลส์ หรือ ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนีย (Marca Hispanica) ที่ชาร์เลอมาญทรงกำหนดขึ้นในปี..

ดู อาณาจักรและอาณาจักรชายแดน

อาณาจักรพัน - พัน

อาณาจักรพัน - พัน เป็นอาณาจักรที่มีความรุ่งเรืองจากการติดต่อค้าขายทางทะเล อยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 8 – 12 อาณาจักรพัน - พันเคยตกอยู่ในอาณานิคมของอาณาจักรฟูนัน นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าอาณาจักรพัน-พัน อาจจะมีศูนย์กลางอยู่ในเขตอำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ไทย หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปเอเชีย.

ดู อาณาจักรและอาณาจักรพัน - พัน

อาณาจักรพุกาม

อาณาจักรพุกาม (Pagan Kingdom; ပုဂံခေတ်) เป็นอาณาจักรโบราณในช่วง..

ดู อาณาจักรและอาณาจักรพุกาม

อาณาจักรลังกาสุกะ

อาณาจักรลังกาสุกะ (พุทธศตวรรษที่ 7–23) อาณาจักรลังกาสุกะแห่งนี้ได้ตั้งขึ้นเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 7 แล้วเจริญรุ่งเรืองในพุทธศตวรรษที่ 11 ขณะที่อาณาจักรฟูนันเริ่มเสื่อมอำนาจลง อาณาจักรลังกาสุกะตั้งอยู่ทางใต้ของอาณาจักรตามพรลิงก์ในคาบสมุทรมลายู บริเวณมัสยิดแห่งกรือเซะ ในบริเวณที่ปัจจุบันอยู่ระหว่างอำเภอเมืองปัตตานีกับอำเภอยะหริ่ง และบริเวณอำเภอยะรัง ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำปัตตานี พวกชวาเรียก “นครกีรติกามา” มีอาณาเขตครอบคลุมถึงทางเหนือตะกั่วป่าและตรัง ทางใต้ตลอดแหลมมลายู ลังกาสุกะมีการติดต่อกับจีนใน..

ดู อาณาจักรและอาณาจักรลังกาสุกะ

อาณาจักรสิงหะส่าหรี

อาณาจักรสิงหัสส่าหรี(Singhassari Kingdom พ.ศ. ๑๗๖๕-๑๘๓๕) มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองสิงหัสส่าหรีเป็นอาณาจักรบนเกาะชวาตะวันตก สิงหัสส่าหรีเคยยกทัพไปตีศรีวิชัยในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ อาณาจักรสิงหะส่าหรีอยู่ได้ไม่นานก็ถูกเจ้าชายจายากัตวัง แห่งอาณาจักรเคดิรี โจมตีเมืองหลวงในขณะที่พระเจ้าเกอรตานาการา (เกียรตินคร) กำลังบูชาพระศิวะ แต่เจ้าชายวิชัย(Vijaya)ราชบุตรเขย ได้กู้เมืองมาได้แล้วตั้งอาณาจักรมัชปาหิตในปี..

ดู อาณาจักรและอาณาจักรสิงหะส่าหรี

อาณาจักรเชียะโท้

อาณาจักรเชียะโท้(赤土国)เป็นอาณาจักรที่อยู่ใต้อาณาจักรตามพรลิงก์ เมืองสำคัญของอาณาจักรนี้สันนิษฐานว่าอาจจะอยู่แถบกลันตันหรือบริเวณจังหวัดพัทลุงในปัจจุบัน มีอายุอยู่ระหว่างพุทธศตวรรษ 9 - 12 ตามจดหมายเหตุของจีนได้กล่าวว่าอาณาจักรเชียะโท้ ราชวงศ์ของกษัตริย์นามว่าชือทัน กษัตริย์ทรงพระนามว่า ลิ-ฟู-โท-ลี มีมเหสี 3 องค์ ซึ่งเป็นบุตรธิดาของอาณาจักรใกล้เคียง.

ดู อาณาจักรและอาณาจักรเชียะโท้

อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)

วนหนึ่งของ “แผนที่พิวทินเจอริอานา” (Tabula Peutingeriana) ซึ่งเป็นแผนที่โรมันจากคริสต์ศตวรรษที่ 4 ที่แสดงดินแดนอิตาลีตอนใต้ อิตาเลีย หรือ โรมันอิตาเลีย (Italia) ภายใต้สาธารณรัฐโรมันและต่อมาจักรวรรดิโรมันคือชื่อของคาบสมุทรอิตาลี.

ดู อาณาจักรและอิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)

จักรพรรดิสันตะปาปานิยม

ักรพรรดิสันตะปาปานิยม (Caesaropapism) คือแนวคิดที่ต้องการรวมอำนาจฝ่ายอาณาจักรให้เข้ากับ (หรือเหนือกว่า) อำนาจฝ่ายศาสนจักร โดยเฉพาะในแบบของการเชื่อมคริสตจักรกับฝ่ายรัฐบาล “จักรพรรดิสันตะปาปานิยม” เป็นระบบการปกครองที่ตรงกันข้ามกับ “เทวาธิปไตย” ที่หมายถึงระบบการปกครองทางโลกและทางศาสนาที่มีนักบวชถืออำนาจเป็นประมุข ประเทศที่ใช้ระบบจักรพรรดิสันตะปาปานิยมในปัจจุบันก็ได้แก่สหราชอาณาจักรที่พระมหากษัตริย์อังกฤษเป็นทั้งประมุขทางการปกครองบ้านเมืองและเป็นประมุขสูงสุดของคริสตจักรแห่งอังกฤษด้วยในขณะเดียวกัน.

ดู อาณาจักรและจักรพรรดิสันตะปาปานิยม

จักรพรรดินี

จักรพรรดินี (Empress) หมายถึง ประมุขเพศหญิงผู้เป็นเจ้าครองแผ่นดินที่เป็นจักรวรรดิ หากเป็นบุรุษเพศที่เป็นประมุขเรียกว่าจักรพรรดิ (Emperor) แต่คำว่า “จักรพรรดินี” ก็ใช้เรียกพระมเหสีของจักรพรรดิด้วย ซึ่งในภาษาอังกฤษจะมีคำต่อท้ายให้เป็นที่เข้าใจคือ “Empress Consort” โดยทั่วไปถือกันว่า “จักรพรรดินี” มีฐานันดรสูงกว่า “กษัตริย์” ซึ่งเป็นผู้ปกครองของดินแดนที่เป็นประเทศหรืออาณาจักรเท่านั้น หมวดหมู่:จักรพรรดิ หมวดหมู่:จักรพรรดินี en:Empress.

ดู อาณาจักรและจักรพรรดินี

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ.

ดู อาณาจักรและจักรวรรดิออตโตมัน

จักรวรรดิตูอีโตงา

ักรวรรดิตูอีโตงา เป็นจักรวรรดิหนึ่งที่มีอำนาจยิ่งใหญ่มากในเขตโอเชียเนีย โดยจักรวรรดินี้ก่อตั้งขึ้นราวปี ค.ศ.

ดู อาณาจักรและจักรวรรดิตูอีโตงา

จักรวรรดิไนเซีย

ักรวรรดิไนเซีย หรือ จักรวรรดิโรมันแห่งไนเซีย (Empire of Nicaea หรือ Roman Empire of Nicaea, Βασίλειον τῆς Νίκαιας) เป็นอาณาจักรที่ใหญ่ที่สุดในบรรดารัฐไบแซนไทน์กรีกที่ก่อตั้งโดยชนชั้นเจ้านายผู้ปกครองจักรวรรดิไบแซนไทน์ที่หนีมาหลังจากที่เสียคอนสแตนติโนเปิลไปในสงครามครูเสดครั้งที่ 4 จักรวรรดิไนเซียก่อตั้งโดยราชวงศ์ลาคาริสรุ่งเรืองระหว่างปี..

ดู อาณาจักรและจักรวรรดิไนเซีย

จักรวรรดิเปอร์เชีย

ักรวรรดิเปอร์เชีย (Persian Empire) คือจักรวรรดิและอาณาจักรต่างๆในประวัติศาสตร์ของเปอร์เชียที่ปกครองต่อเนื่องกันมาในบริเวณที่ราบสูงอิหร่าน, ถิ่นกำเนิดของเปอร์เชีย และไกลไปทางเอเชียตะวันตก, เอเชียใต้, เอเชียกลาง และ บริเวณคอเคซัส จักรวรรดิเปอร์เชียจักรวรรดิแรกก่อตั้งภายใต้จักรวรรดิมีเดีย (728–559 ปีก่อนคริสต์ศักราช) หลังจากการโค่นจักรวรรดิอัสซีเรียด้วยความช่วยเหลือของบาบิโลเนีย จักรวรรดิเปอร์เชียอคีเมนียะห์ (550–330 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ และมารุ่งเรืองที่สุดในรัชสมัยของพระเจ้าดาไรอัสมหาราช และ พระเจ้าเซอร์ซีสมหาราช — ผู้มีชื่อเสียงว่าเป็นศัตรูคนสำคัญของรัฐกรีกโบราณ (ดู สงครามกรีก-เปอร์เชีย) บริเวณที่ตั้งเดิมอยู่ในบริเวณที่ในปัจจุบันรู้จักกันว่าจังหวัดพาร์ส (จังหวัดฟาร์ส) ในประเทศอิหร่านปัจจุบัน จักรวรรดิเปอร์เชียก่อตั้งภายใต้พระเจ้าไซรัสมหาราชผู้ทรงยึดจักรวรรดิจากชนมีดีส (Medes) และทรงขยายดินแดนออกไปทางตะวันออกกลางที่รวมทั้งดินแดนของบาบิโบเนีย, อัสซีเรีย, ฟินิเซีย และ ลิเดีย หลังจากนั้นพระเจ้าแคมไบซีสที่ 2 แห่งเปอร์เชีย (Cambyses II of Persia) พระราชโอรสในพระเจ้าไซรัสก็ทรงดำเนินนโยบายการขยายดินแดนต่อไปยังอียิปต์ จักรวรรดิอคีเมนียะห์มาสิ้นสุดลงระหว่างสงครามอเล็กซานเดอร์มหาราช แต่ก็มาฟื้นตัวอีกครั้งในรูปของจักรวรรดิพาร์เธียน และ จักรวรรดิซาสซานิยะห์ แห่ง อิหร่าน ที่ตามมาด้วยยุคประวัติศาสตร์หลังศาสนาอิสลามของจักรวรรดิต่างๆ เช่น จักรวรรดิทาฮิริยะห์, จักรวรรดิซาฟาริยะห์, จักรวรรดิไบอิยะห์, จักรวรรดิซามานิยะห์, จักรวรรดิกาสนาวิยะห์, จักรวรรดิเซลจุค และ จักรวรรดิควาเรซเมีย มาจนถึงอิหร่านปัจจุบัน จักรวรรดิต่างๆ ที่รุ่งเรืองต่อเนื่องกันมาในเกรตเตอร์อิหร่าน ก่อนเดือนมีนาคม..

ดู อาณาจักรและจักรวรรดิเปอร์เชีย

ธงชาติตองงา

ตราแผ่นดิน) ธงชาติประเทศตองงา มีลักษณะเป็นธงสีเหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีแดง กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมบนด้านต้นธงมีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีขาว และมีรูปกากบาทสีแดงอยู่ข้างใน ลักษณะโดยรวมคล้ายกับธง ธงพาณิชยนาวีของสหราชอาณาจักร เนื่องจากประเทศนี้อยู่ในเครือจักรภพของสหราชอาณาจักร จึงเลียนแบบลักษณะของธงอังกฤษหลายอย่างมาใช้ในธงชาติของตนเอง ธงชาตินี้คิดค้นขึ้นในสมัยพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 เมื่อปี พ.ศ.

ดู อาณาจักรและธงชาติตองงา

ดัชชีเบราน์ชไวค์

ัชชีเบราน์ชไวค์ (Duchy of Brunswick; Herzogtum Braunschweig) เป็นอดีตอาณาจักรของเยอรมนี เดิมดินแดนเบราน์ชไวค์-โวลเฟนบึทเทิลเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่มาก่อตั้งเป็นดัชชีอิสระตามข้อตกลงในการประชุมแห่งเวียนนาในปี..

ดู อาณาจักรและดัชชีเบราน์ชไวค์

ความแตกแยก

วามแตกแยก (Schism) อาจหมายถึง; ฝ่ายศาสนจักร.

ดู อาณาจักรและความแตกแยก

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg.

ดู อาณาจักรและต้นสมัยกลาง

ซิ ยิ่นกุ้ย

ซิ ยิ่นกุ้ย (อังกฤษ: Xue Rengui) เป็นบุคคลที่ตัวตนจริง ๆ ในพงศาวดารของจีน เป็นเรื่องราวของแม่ทัพที่มีพละกำลังมาก และไม่เคยแพ้ใคร และเป็นแม่ทัพที่งัก ฮุย วีรบุรุษอีกคนในวัฒนธรรมจีนรุ่นต่อมานับถืออีกด้วย แต่เรื่องราวของซิ ยิ่นกุ้ยมักถูกเล่าจนเป็นตำนานจนคล้ายเป็นเรื่องแต่งมากกว่าเรื่องจริง เรื่องราวของซิ ยิ่นกุ้ยไม่ทราบว่าใครเป็นผู้แต่ง แต่ได้มีการแต่งเนื้อเรื่องต่อมาในรุ่นลูกและรุ่นหลาน คือ ซิ ติงซาน (薛丁山, Xue Dingshan) และซิ กัง (薛剛, Xue Gang) ซิ ยิ่นกุ้ย เกิดที่มณฑลซานซี ในปี ค.ศ.

ดู อาณาจักรและซิ ยิ่นกุ้ย

ประวัติศาสตร์หมู่เกาะแปซิฟิก

ประวัติศาสตร์หมู่เกาะแปซิฟิก เป็นประวัติศาสตร์หมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิก ชาวโพลินีเซียมีความเจริญสูงสุดโดยเฉพาะประเทศตองกาและประเทศซามัว ซึ่งเจริญมากจนมีการสร้างขึ้นเป็นอาณาจักร สำหรับชาวเมลานีเซียความเจริญมากสุดอยู่ที่ประเทศฟิจิและหมู่เกาะโซโลมอน และมีสังคมแบบชนเผ่า สังเกตได้ในประเทศปาปัวนิวกินีซึ่งมีชนเผ่ากว่า 100 ชนเผ่า ส่วนภูมิภาคไมโครนีเซียก็มีประชากรอาศัยกันอยู่อย่างช้านานแบบชนเผ่า บางแห่งเป็นรัฐ แว่นแคว้นหรืออาณาจักร ในประเทศออสเตรเลียมีชาวอบอริจินส์อาศัยอยู่นานถึง 40000 - 50000 ปี สำหรับประเทศนิวซีแลนด์มีชาวมาวรีอาศัยอยู.

ดู อาณาจักรและประวัติศาสตร์หมู่เกาะแปซิฟิก

นางลังกากินี

ผีเสือสมุทร หรือ ผีเสื้อเมืองลงกาหรือ นางลังกินี (Lankini) เป็นชื่อตัวละครในเรื่องรามายณะของอินเดียและรามเกียรติ์ของไทย ในเรื่องรามายณะของอินเดียเป็นดูแลมหาสมุทรก่อนถึงกรุงลงกาและเป็นสตรีหนึ่งในสามคนที่รักษากรุงลงกาได้แก่ นางผีเสื้อสมุทร(ลังกากินี) นางสิมหิกา และนางสุรสา ในรามเกียรติ์ของไทย เป็นยักษิณีซึ่งเป็นเสื้อเมืองกรุงลงกา รักษาด่านทางอากาศ และเป็นผู้รกษากรุงลงกา เมื่อหนุมานมาถวายแหวนให้แก่นางสีดาที่สวนขวัญในกรุงลงกา นางได้ได้รบกับหนุมาน และพ่ายแพ้ถูกหนุมานสังหารถึงแก่ความต.

ดู อาณาจักรและนางลังกากินี

แวร์ม็องดัว

150px อาณาจักรเคานท์แห่งแวรมองดัวส์ (County of Vermandois) เป็นอาณาจักรเคานท์ของฝรั่งเศสที่ปรากฏในสมัยเมโรวิเกียน ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 อาณาจักรก่อตั้งอยู่ในบริเวณแซงต์เควนแตง (St Quentin, Aisne) และเปรอนน์ (Peronne, Somme) โดยมีเปแปงที่ 1 เคานท์แห่งแวรมองดัวส์เป็นเคานท์คนแรกผู้เป็นผู้สืบเชื้อสายโดยตรงมาจากชาร์เลอมาญ.

ดู อาณาจักรและแวร์ม็องดัว

แอโทรพาทีนี

แอโทรพาทีนี (Atropatene; Ἀτροπατηνή) เดิมเรียก อาโตรปัตกัน (Atropatkan) หรือ อาตอร์ปัตกัน (Atorpatkan) เป็นอาณาจักรโบราณที่ปกครองโดยกลุ่มชนอิหร่านท้องถิ่น ดำรงอยู่ระหว่างศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราชถึงคริสต์ศตวรรษที่ 3 ครอบคลุมพื้นที่ในอาเซอร์ไบจานของอิหร่าน เคอร์ดิสถานของอิหร่าน และบางส่วนของประเทศอาเซอร์ไบจานในปัจจุบัน ภายหลังการสวรรคตของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชในปีที่ 323 ก่อนคริสต์ศักราช จักรวรรดิของพระองค์ถูกแบ่งออกเป็นส่วน ๆ ที่การประชุมในบาบิโลนโดยไดแอโดไค (diadochi) ซึ่งเป็นกลุ่มบุคคลที่ใกล้ชิดกับพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ภูมิภาคมีเดียถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ มีเดียแมกนา (Media Magna) ทางใต้ และมีเดียแอโทรพาทีนี (Media Atropatene) ทางเหนือ โดยแอโทรพาทีนีมาจากชื่อผู้ปกครองคนแรกคือ แอโทรพาทีส (Atropates) ซึ่งเป็นอดีตขุนนางของพระเจ้าดาริอัสที่สามแห่งจักรวรรดิอะคีเมนิด ต่อมาแอโทรพาทีสปฏิเสธที่จะสวามิภักดิ์ต่อจักรวรรดิซิลิวซิด (Seleucid Empire) และประกาศแยกตัวเป็นอิสระ ชื่ออาณาจักรจึงถูกตัดเหลือแค่ "แอโทรพาทีนี" ราชวงศ์ของแอโทรพาทีสปกครองอย่างเป็นอิสระนานหลายศตวรรษ ก่อนจะตกอยู่ใต้อำนาจของจักรวรรดิพาร์เธียน ซึ่งเรียกดินแดนแถบนี้ว่า "อาตูร์ปาตากัน" (Aturpatakan) และถูกผนวกเข้ากับจักรวรรดิแซสซานิดในเวลาต่อมา ระหว่างปี..

ดู อาณาจักรและแอโทรพาทีนี

โรมโบราณ

ตามตำนานโรมก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 753 ก่อนคริสต์ศักราชโดยรอมิวลุส และรีมุสที่ถูกเลี้ยงด้วยแม่หมาป่า โรมโบราณ (Ancient Rome) คือวัฒนธรรมที่วิวัฒนาการขึ้นมาจากชุมชนเกษตรกรบน คาบสมุทรอิตาลีที่เริ่มตั้งแต่ศตวรรษที่ 10 ก่อนคริสต์ศักราช ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลเมดิเตอเรเนียนโรมโบราณกลายมาเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โบราณ ในช่วงเวลาที่โรมโบราณเจริญรุ่งเรืองอยู่วัฒนธรรมโรมันเปลี่ยนจากการปกครองตั้งแต่เป็นแบบราชาธิปไตยไปเป็นระบอบสาธารณรัฐคณาธิปไตย และในที่สุดก็ไปเป็นระบบจักรวรรดิแบบอัตตาธิปไตย อารยธรรมโรมันมามีอำนาจอันมีอิทธิพลต่อทวีปยุโรปตะวันตกเฉียงใต้ ทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้/คาบสมุทรบอลข่าน และในบริเวณทะเลเมดิเตอเรเนียนโดยการพิชิตและการการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมกับท้องถิ่นที่เข้าไปปกครอง จักรวรรดิโรมันทางด้านตะวันตกเสื่อมโทรมลงและสลายตัวไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันมีสาเหตุมาจากความขัดแย้งภายในและการถูกโจมตีโดยชนกลุ่มต่างๆ ในสมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน จักรวรรดิโรมันตะวันตกที่รวมทั้งฮิสปาเนีย กอล บริทาเนีย และอิตาลี ได้แบ่งแยกออกเป็นอาณาจักรอิสระในคริสต์ศตวรรษที่ 5 จักรวรรดิโรมันตะวันออก หรือที่เรียกว่าจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่คอนสแตนติโนเปิล ประกอบด้วยกรีซ ส่วนที่พิชิตโดยจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 อานาโตเลีย ซีเรีย และอียิปต์รอดจากวิกฤติการณ์ที่จักรวรรดิทางด้านตะวันตกประสบ และแม้ว่าจะเสียซีเรียและอียิปต์แก่จักรวรรดิอิสลามของอาหรับจักรวรรดิก็รุ่งเรืองต่อมาอีกหนึ่งสหัสวรรษ จนกระทั่งมาเสียเมือง ให้กับจักรวรรดิออตโตมันของตุรกี นักประวัติศาสตร์มักจะเรียกจักรวรรดิโรมันตะวันออกมักจะเรียกว่าเป็น จักรวรรดิไบแซนไทน์ วัฒนธรรมโรมันมักจะจัดอยู่ใน “ยุคโบราณ” (classical antiquity) ร่วมกับกรีกโบราณซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่เป็นต้นตอและแรงบันดาลใจให้แก่วัฒนธรรมโรมโบราณ โรมโบราณมีบทบาทอย่างใหญ่หลวงในการวิวัฒนการทางด้านกฎหมาย การสงคราม ศิลปะ วรรณคดี สถาปัตยกรรม เทคโนโลยี และภาษาของโลกตะวันตก และประวัติศาสตร์โรมก็ยังคงเป็นประวัติที่ยังคงมีอิทธิพลต่อโลกจนทุกวันนี้.

ดู อาณาจักรและโรมโบราณ

โดเมน

มน (domain) อาจหมายถึง.

ดู อาณาจักรและโดเมน

เรกองกิสตา

“การยอมแพ้ของกรานาดา” (La rendición de Granada) (ค.ศ. 1882) โดยฟรันซิสโก ปราดียา อี ออร์ติซ เรกองกิสตา (สเปน, กาลีเซีย และอัสตูเรียส: Reconquista); เรกงกิชตา (Reconquista); เรกุงเกสตา (Reconquesta); เอร์เรกอนกิสตา (Errekonkista) หรือ อัลอิสติรดาด (الاسترداد) เป็นช่วงเวลา 800 ปีในยุคกลางที่อาณาจักรคริสเตียนในคาบสมุทรไอบีเรียได้รับการพิชิตคืนมาจากอำนาจของมุสลิม การพิชิตของฝ่ายมุสลิมในอาณาจักรวิซิกอทในคริสต์ศตวรรษที่ 8 (เริ่มในปี ค.ศ.

ดู อาณาจักรและเรกองกิสตา

เรขลักษณ์ในมุทราศาสตร์

รขลักษณ์ หรือ เรขลักษณ์มาตรฐาน (Ordinary หรือ honourable ordinary) ในมุทราศาสตร์ “เรขลักษณ์” คือองค์ประกอบหนึ่งของตราอาร์มที่เป็นรูปทรงเรขาคณิตง่ายๆ ที่อยู่ในกรอบของเส้นตรงและแล่นจากด้านหนึ่งของตราไปยังอีกด้านหนึ่ง หรือจากตอนบนลงมายังตอนล่างของโล่ นอกจากนั้นก็ยังมีกลุ่มเครื่องหมายที่เรียกว่า “เรขลักษณ์พิเศษ” (subordinary) ที่ให้ความสำคัญรองลงมาโดยนักวิชาการทางมุทราศาสตร์บางคน แต่เครื่องหมายในกลุ่มนี้ก็ใช้กันมานานพอกับเรขลักษณ์มาตรฐาน เรขลักษณ์มาตรฐานตามทฤษฎีแล้วจะใช้เนื้อที่หนึ่งในสามของโล่ แต่ตามความเป็นจริงแล้วก็จะใช้เนื้อที่แตกต่างกันไป นอกจากเมื่อเรขลักษณ์เป็นสิ่งเดียวที่ใช้เป็นเครื่องหมาย เช่นในตราแผ่นดินของออสเตรียก็จะมีขนาดต่างออกไป คำว่า “เรขลักษณ์มาตรฐาน” และคำว่า “เรขลักษณ์พิเศษ” เป็นคำที่สร้างความขัดแย้งในหมู่นักมุทราศาสตร์ เพราะเป็นการใช้เรขลักษณ์ที่ไม่มีมาตรฐานและการใช้ก็ไม่ตรงกัน ฉะนั้นการใช้คำทั้งสองจึงไม่ได้รับการสนับสนุนโดยนักวิชาการทางด้านมุทราศาสตร์ อาร์เธอร์ ชาร์ลส์ ฟ็อกซ์-เดวีส์ (Arthur Charles Fox-Davies) ในหนังสือ Complete Guide to Heraldry (คู่มือมุทราศาสตร์ฉบับสมบูรณ์) ที่เขียนในปี..

ดู อาณาจักรและเรขลักษณ์ในมุทราศาสตร์

เอนีไทม์

อนีไทม์ เป็นซิงเกิลที่ 39 ของคุมิ โคดะ วางจำหน่ายในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2551 โดยวางแผงก่อนอัลบั้มที่ 6 "Kingdom" เพียง 1 สัปดาห์เท่านั้น โดยตอนแรกเพลง anytime ได้ถูกบรรจุอยู่ในซิงเกิล FREAKY แต่ตอนหลังล้มเลิกไปก่อนที่จะนำเพลง anytime ตัดเป็นซิงเกิลในที่สุด โดยมิวสิกวีดีโอเพลง anytime เวอร์ชันซิงเกิลและเวอร์ชันอัลบั้มจะแตกต่างกัน และในดีวีดีจะมีรีมิกซ์มิวสิกวีดีโอจากอัลบั้ม Kingdom อีกด้วย ซิงเกิล anytime เปิดตัวในอันดับที่ 4 ออริกอนชาร์ตด้วยยอดขาย 43,051 แผ่น และจำกัดจำนวนเพียงแค่ 50,000 เท่านั้น เพลง anytime เป็นเพลงประกอบโฆษณาเครื่องดื่มของบริษัทคิริน และนอกจากนี้ยังเป็นเพลงประกอบโฆษณาของ music.jp อีกด้ว.

ดู อาณาจักรและเอนีไทม์

เจ้าชายมุขนายก

ันน์ ออทโท ฟอน เกมมิงเงิน เจ้าชายบิชอปแห่งเอาก์สบูร์กในบาวาเรีย เจ้าชายมุขนายก (Prince-Bishop) เป็นมุขนายกที่มีศักดิ์เป็นเจ้าชายแห่งคริสตจักรโดยมีราชรัฐในปกครองอย่างน้อยหนึ่งแห่ง ทำให้เขตปกครองของพระองค์ทั้งราชรัฐและมุขมณฑลมีลักษณะทับซ้อนกันในพื้นที่เดียว กรณีที่เป็นอัครมุขนายกปกครองราชรัฐก็เรียกว่า เจ้าชายอัครมุขนายก ถ้าเป็นนักพรตปกครองราชรัฐเรียกว่าเจ้าชายอธิการอาราม (prince-abbot) ในยุโรปตะวันตกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 จักรพรรดิโรมันเริ่มสูญเสียพระราชอำนาจเพราะถูกคุกคามจากพวกอนารยชน ดังนั้นมุขนายกซึ่งเป็นผู้นำฝ่ายคริสตจักรจึงต้องขึ้นมาทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการฝ่ายอาณาจักรแทน บางครั้งก็ถึงกับต้องนำทัพเองด้วยถ้าจำเป็น ในจักรวรรดิไบเซนไทน์ จักรพรรดิก็นิยมแต่งตั้งหรือพระราชทานสิทธิและหน้าที่พิเศษให้มุขนายกบางองค์ปกครองรัฐในมุขมณฑลของตนได้ ซึ่งถือเป็นแนวพัฒนาการของลัทธิจักรพรรดิสันตะปาปานิยมที่จะให้คริสตจักรตะวันออกมาทำงานให้กับจักรวรรดิด้วย เช่น มีอัครบิดรสากลที่ทำหน้าที่คล้ายเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการศาสนาให้กับองค์จักรพรรดิ จักรวรรดิรัสเซียมีการดำเนินการยิ่งกว่านี้อีก กล่าวคือยุบตำแหน่งอัครบิดรแล้วให้คริสตจักรอยู่ภายใต้บังคับบัญชาของฝ่ายอาณาจักร คำว่า ฮอคชติฟท์ ในภาษาเยอรมันก็หมายถึงอำนาจหน้าที่ฝ่ายอาณาจักรที่มุขนายกสามารถว่าการปกครองราชรัฐของตนได้ ถ้าเป็นของอัครมุขนายก เรียกว่า แอร์ซชติฟท.

ดู อาณาจักรและเจ้าชายมุขนายก

เดอะ สกอร์เปี้ยน คิง 3 สงครามแค้นกู้บัลลังก์เดือด

อะ สกอร์เปี้ยน คิง 3 สงครามแค้นกู้บัลลังก์เดือด (The Scorpion King 3: Battle for Redemption หรือชื่อก่อนหน้า The Scorpion King: Book of the Dead) เป็นภาพยนตร์โลดโผน/จินตนิมิตแอคชั่น ที่ออกฉายในปี ค.ศ.

ดู อาณาจักรและเดอะ สกอร์เปี้ยน คิง 3 สงครามแค้นกู้บัลลังก์เดือด

เคาน์ตีบูร์กอญ

อาณาจักรเคานต์แห่งบูร์กอญ หรือ อาณาจักรเคานต์อิสระแห่งบูร์กอญ (Comté de Bourgogne, Freigrafschaft Burgund, County of Burgundy) เป็นอาณาจักรเคานต์ในยุคกลางที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.

ดู อาณาจักรและเคาน์ตีบูร์กอญ

เคาน์ตีช็องปาญ

ตราอาร์มเดิมของอาณาจักร อาณาจักรเคานต์แห่งช็องปาญ (County of Champagne) เป็นอดีตอาณาจักรที่ปกครองโดยเคานต์แห่งช็องปาญ ตั้งอยู่ในบริเวณแคว้นช็องปาญาร์แดนในประเทศฝรั่งเศสปัจจุบัน อาณาจักรเคานต์แห่งช็องปาญก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู อาณาจักรและเคาน์ตีช็องปาญ

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Kingdom

แวร์ม็องดัวแอโทรพาทีนีโรมโบราณโดเมนเรกองกิสตาเรขลักษณ์ในมุทราศาสตร์เอนีไทม์เจ้าชายมุขนายกเดอะ สกอร์เปี้ยน คิง 3 สงครามแค้นกู้บัลลังก์เดือดเคาน์ตีบูร์กอญเคาน์ตีช็องปาญ