โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อัศวินฮอสปิทัลเลอร์

ดัชนี อัศวินฮอสปิทัลเลอร์

ณะอัศวินฮอสปิทัลเลอร์ (Knights Hospitaller) หรือคณะฮอสปิทัลเลอร์ (Order of Hospitallers) เป็นคณะบุรุษที่ทำงานที่โรงพยาบาลอมาลฟิที่ตั้งขึ้นในเยรูซาเลมในปี..

33 ความสัมพันธ์: การล้อมมอลตา (ค.ศ. 1565)การล้อมโรดส์ (ค.ศ. 1522)การล้อมเมืองโรดส์ (แก้ความกำกวม)การาวัจโจการทำให้เป็นอาณานิคมของยุโรปในทวีปอเมริกากางเขนมอลตาภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิสยอห์นผู้ให้บัพติศมายอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ)ยุทธการพรีเวซายุทธการที่ฮัททินยุทธการที่เลปันโตรัฐนักรบครูเสดวัลเลตตาสมัยกลางสะโลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ) มาดริดสะโลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ) ลอนดอนสันนิบาตศักดิ์สิทธิ์ (ค.ศ. 1571)สุลัยมานผู้เกรียงไกรสถาปัตยกรรมบาโรกสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์สงครามครูเสดอเล็กซานเดรียอัศวินทิวทอนิกอัศวินเทมพลาร์ครักเดเชอวาลีเยคริสต์ทศวรรษ 1560คณะทหารองค์อธิปัตย์แห่งมอลตาปราสาทมาร์กัตนักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ (คาราวัจโจ-วาเล็ตตา)เบญจาคริสต์เลออโคออนและบุตรเอเคอร์ (อิสราเอล)เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก

การล้อมมอลตา (ค.ศ. 1565)

การล้อมมอลตา (ค.ศ. 1565) (Siege of Malta หรือ Great Siege of Malta) เป็นการล้อมที่เป็นส่วนหนึ่งของสงครามออตโตมันในยุโรปและสงครามออตโตมัน-ฮับสบวร์กเมื่อจักรวรรดิออตโตมันรุกรานเข้าล้อมมอลตาที่เป็นที่ตั้งมั่นของอัศวินฮอสพิทาลเลอร์ ระหว่างวันที่ 18 พฤษภาคม จนถึงวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1565 ฝ่ายอัศวินฮอสพิทาลเลอร์เป็นฝ่ายที่ได้รับชัยชนะ การล้อมครั้งนี้เป็นการต่อสู้อันดุเดือดและนองเลือดที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ และเป็นยุทธการที่ยุโรปถือว่าเป็นยุทธการที่สำคัญที่สุดยุทธการหนึ่งของยุโรปที่วอลแตร์ถึงกับกล่าวว่า “ไม่มีสิ่งใดที่จะเป็นที่รู้จักกันมากเท่ากับการล้อมมอลตา” และเป็นยุทธการครั้งแรกที่ทำให้ยุโรปยุติความเชื่อในความคงกระพันของจักรวรรดิออตโตมัน และเป็นการเริ่มต้นของความมีอิทธิพลของสเปนในเมดิเตอเรเนียน สงครามครั้งนี้เป็นจุดสูงสุดของการแข่งขันทางอำนาจระหว่างพันธมิตรคริสเตียนและจักรวรรดิออตโตมันในการมีอำนาจในเมดิเตอเรเนียน การแข่งขันที่รวมทั้งการโจมตีมอลตาในปี ค.ศ. 1551 ก่อนหน้านั้นที่ฝ่ายออตโตมันทำลายกองเรือของฝ่ายพันธมิตรคริสเตียนอย่างย่อยยับในยุทธการดเจอร์บา (Battle of Djerba) ในปี ค.ศ. 1560.

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และการล้อมมอลตา (ค.ศ. 1565) · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมโรดส์ (ค.ศ. 1522)

การล้อมเมืองโรดส์ (Siege of Rhodes) (ค.ศ. 1522) การล้อมเมืองโรดส์ในปี ค.ศ. 1522 เป็นความพยายามครั้งที่สองโดยจักรวรรดิออตโตมันที่นำโดยสุลต่านสุลัยมานในการยึดโรดส์เพื่อกำจัดอัศวินฮอสพิทาลเลอร์ออกจากเกาะซึ่งก็เป็นที่สำเร็จ ซึ่งเป็นเพิ่มความมั่นคงทางยุทธศาสตร์ให้แก่จักรวรรดิทางด้านตะวันออกของเมดิเตอเรเนียน หลังจากที่การล้อมครั้งแรกในปี ค.ศ. 1480 ประสบความล้มเหลว.

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และการล้อมโรดส์ (ค.ศ. 1522) · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมเมืองโรดส์ (แก้ความกำกวม)

การล้อมเมืองโรดส์ อาจจะหมายถึงการล้อมเมืองโรดส์ (Rhodes, Greece) บนเกาะโรดส์ครั้งใดครั้งหนึ่งข้างล่าง.

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และการล้อมเมืองโรดส์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

การาวัจโจ

ูรายชื่องานที่ รายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจ; มีเกลันเจโล เมรีซี ดา การาวัจโจ (Michelangelo Merisi da Caravaggio ค.ศ. 1571 - 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1610) เป็นจิตรกรสมัยบาโรกคนสำค้ญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีความสำคัญในการเขียนภาพสีน้ำมัน ผู้มีผลงานส่วนใหญ่ที่ โรม เนเปิลส์ ซิซิลี และประเทศมอลตา ระหว่างปี..

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และการาวัจโจ · ดูเพิ่มเติม »

การทำให้เป็นอาณานิคมของยุโรปในทวีปอเมริกา

Philip II (1598). Territorial evolution of North America of non-native nation states from 1750 to 2008. การทำให้เป็นอาณานิคมของยุโรปในทวีปอเมริกา เกิดจากยุคแห่งการสำรวจโดยมีจุดประสงค์เพื่อหาคู่ค้าขายใหม่ และโดยเฉพาะเพื่อการแสวงหาสินค้าเพื่อสนองความต้องการของตลาดตามต้องการ.

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และการทำให้เป็นอาณานิคมของยุโรปในทวีปอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

กางเขนมอลตา

“กางเขนมอลตา” หรือ “กางเขนอามาลฟี” กางเขนมอลตา หรือ กางเขนอามาลฟี (Maltese Cross หรือ Amalfi cross) เป็นกางเขนที่เป็นสัญลักษณ์ของลัทธินักรบคริสเตียนที่เรียกว่าอัศวินฮอสพิทาลเลอร์ หรือ อัศวินแห่งมอลตา ที่กลายมาเป็นชื่อของกางเขนตามชื่อเกาะมอลตาในทะเลเมดิเตอเรเนียน กางเขนมอลตาปรากฏบนธงชาติมอลตาและถือว่าเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของมอลตา กางเขนมอลตาปรากฏบนเหรียญของมอลตา และในปัจจุบันปรากฏบนด้านหลังของเหรียญหนึ่งและสองยูโรที่เริ่มใช้เมื่อเดือนมกราคม..

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และกางเขนมอลตา · ดูเพิ่มเติม »

ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส

ระราชินีมารี เดอ เมดีซิส (Marie de' Medici cycle) เป็นภาพเขียนชุดจำนวนยี่สิบสี่ภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรคนสำคัญของสมัยบาโรกแบบเฟลมิช ที่ว่าจ้างโดยพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส พระอัครมเหสีในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส สำหรับตั้งแสดงที่พระราชวังลุกซ็องบูร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส รือเบินส์ได้รับการจ้างในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ. 1621 หลังจากที่มีการเจรจาต่อรองเกี่ยวกับรายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับข้อตกลงภายในสัญญาเมื่อต้นปี ค.ศ. 1622 แล้ว สัญญาก็ระบุว่าโครงการเขียนภาพจะต้องเสร็จภายในสองปีเพื่อให้ทันเวลากับการเสกสมรสของพระราชธิดาเจ้าหญิงเฮนเรียตตา มาเรียกับพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ภาพเขียนยี่สิบเอ็ดภาพเป็นภาพการต่อสู้และการได้รับชัยชนะต่าง ๆ ในชีวิตของพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส อีกสามภาพเป็นภาพเหมือนของพระองค์เองและพระราชบิดามารดาBelkin, pp.

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส · ดูเพิ่มเติม »

ยอห์นผู้ให้บัพติศมา

อห์นผู้ให้บัพติศมา (โปรเตสแตนต์เดิมเรียกว่ายอห์นผู้ให้รับบัพติศมา) ยอห์นผู้ทำพิธีล้าง(คาทอลิก) หรือนักบุญยอห์น แบปติสต์(คาทอลิก) (John the Baptist; John the Baptizer) เป็นนักเทศน์ชาวยิวในคริสศตวรรษที่ 1 ถือว่าเป็นผู้เผยพระวจนะในสี่ศาสนาคือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาบาไฮ และ “Mandaeanism” ท่านถูกกล่าวถึงในพระวรสาร คัมภีร์อัลกุรอาน และคัมภีร์ของศาสนาบาไฮ นักบุญยอห์นแบปติสต์บางทีก็รู้จักกันในชื่อ “ยอห์นผู้มาก่อน” (John the Forerunner) เพราะถือกันว่านักบุญยอห์นเป็นผู้มาล่วงหน้าก่อนพระเยซู.

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และยอห์นผู้ให้บัพติศมา · ดูเพิ่มเติม »

ยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ)

“นักบุญจอห์นแบ็พทิสต์” โดย คาราวัจโจ นักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ หรือ นักบุญจอห์นเร่ร่อน (John the Baptist หรือ John in the Wilderness) เป็นหัวข้อที่เขียนอย่างน้อยแปดครั้งโดยคาราวัจโจ ผู้เป็นจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลี ระหว่างปี..

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการพรีเวซา

ทธการพรีเวซา (Battle of Preveza) เป็นยุทธการทางนาวีที่เป็นส่วนหนึ่งของสงครามออตโตมัน-แฮ็บสบวร์กที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 กันยายน ค.ศ. 1538 ที่พรีเวซาบนฝั่งทะเลทะเลไอโอเนียนปัจจุบันคือเมืองในประเทศกรีซตรงปากอ่าวอัมบราเชียน ยุทธการพรีเวซาเป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายจักรวรรดิออตโตมันที่นำโดยเฮย์เรดดิน บาร์บารอสซา และฝ่ายสันนิบาตศักดิ์สิทธิ์ที่ประกอบด้วยสาธารณรัฐเวนิส สาธารณรัฐเจนัวสเปน อาณาจักรพระสันตะปาปา และ อัศวินแห่งมอลตา ที่นำโดยอันเดรีย ดอเรียผู้บังคับการกองเรือสูงสุดชาวเจนัว ผลของยุทธการครั้งนี้ฝ่ายออตโตมันเป็นฝ่ายที่ได้รับชัยชนะอย่างเด็.

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และยุทธการพรีเวซา · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ฮัททิน

การยุทธ์ที่ฮัททิน (Battle of Hattin หรือที่รู้จักกันในชื่อ "The Horns of Hattin" เพราะภูเขาไฟที่ดับแล้วซึ่งอยู่ใกล้เคียงมีชื่อเดียวกัน) เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 3–4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และยุทธการที่ฮัททิน · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เลปันโต

ทธการเลอพานโต (ค.ศ. 1571) (Ναύπακτος, Naupaktos, Battle of Lepanto) เป็นยุทธการในสงครามออตโตมัน-เวนิสครั้งที่ห้า และ สงครามออตโตมัน-ฮับส์บวร์กที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศ. 1571 ในอ่าวพาทราสในทะเลไอโอเนียน เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพเรือของฝ่ายจักรวรรดิออตโตมัน และฝ่ายสันนิบาตศักดิ์สิทธิ์แห่งเมดิเตอเรเนียนที่ประกอบด้วยอาณาจักรพระสันตะปาปา สาธารณรัฐเวนิส สาธารณรัฐเจนัว อาณาจักรดยุคแห่งซาวอย สเปน และ อัศวินแห่งมอลตา ผลของยุทธการครั้งนี้ฝ่ายสันนิบาตศักดิ์สิทธิ์เป็นฝ่ายที่ได้รับชัยชนะ การพ่ายแพ้ครั้งนี้เป็นจุดสำคัญของจักรวรรดิออตโตมันที่ไม่เคยได้รับการพ่ายแพ้ทางการยุทธการทางนาวีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ที่ถือกันว่าเป็นแรงบันดาลจากเบื้องบน (act of Divine Will) ที่นักบันทึกพงศาวดารบรรยายว่า "กองเรือหลวงเผชิญหน้ากับผู้นอกศาสนาอันชั่วร้าย แต่พระเจ้าก็หันพระพันตร์ไปทางอื่น" แต่สำหรับผู้เป็นคริสเตียนเหตุการณ์ครั้งนี้ทำให้เกิดความหวังของโอกาสที่จะล่มสลายของตุรกีผู้ที่ถือว่าเป็น "ศัตรูของคริสเตียน" ออตโตมันเหลือเรือเพียง 30 ลำจากกองเรือเกือบ 300 ลำ และทหารและทาสอีกราว 30,000 คนA History Of Warfare - John Keegan, Vintage, 1993 นักประวัติศาสตร์ตะวันตกถือการได้รับชัยชนะครั้งนี้ว่าเป็นชัยชนะที่เด็ดขาดทางราชนาวีที่เกิดขึ้นตั้งแต่ยุทธการอัคเทียม (Battle of Actium) ที่เกิดขึ้นเมื่อปี 31 ก่อนคริสต์ศักร.

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และยุทธการที่เลปันโต · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนักรบครูเสด

ตะวันออกใกล้ในปี ค.ศ. 1135 โดยมีอาณาจักรครูเสดเป็นสีเขียว อานาโตเลียและอาณาจักรครูเสด ราว ค.ศ. 1140 รัฐนักรบครูเสด (Crusader states) คือกลุ่มรัฐเจ้าขุนมูลนายที่นักรบครูเสดชาวยุโรปตะวันตกตั้งขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 12 - 13 ในอานาโตเลีย กรีซ และแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ (อิสราเอลโบราณและปัจจุบัน และในบริเวณปาเลสไตน์) แต่ในที่สุดอำนาจของอิสลามในตะวันออกกลางก็พิชิตรัฐเหล่านี้ได้หมด นอกจากนั้นรัฐนักรบครูเสดก็ยังหมายถึงดินแดนอื่นที่คริสตจักรสมัยกลางได้มา (ส่วนใหญ่เป็นรัฐเล็กและเพียงชั่วระยะเวลาอันสั้น) เพื่อป้องกันชาวมุสลิมและดินแดนของผู้นอกศาสนาอื่น ๆ ด้ว.

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และรัฐนักรบครูเสด · ดูเพิ่มเติม »

วัลเลตตา

วัลเลตตา (Valletta) เป็นเมืองหลวงของประเทศมอลตา หรือเรียกอย่างไม่เป็นทางการในภาษามอลตาว่า Il-Belt (แปลว่า เมือง) ตั้งอยู่ตอนตะวันตก-กลาง ของเกาะมอลตาและมีประชากรราว 6,315 คน วัลเลตตามีอาคารสถาปัตยกรรมของศตวรรษที่ 16 ลงมา สร้างในช่วงที่ปกครองโดยอัศวินเซนต์จอห์นแห่งเยรูซาเลม เมืองมีเอกลักษณ์พื้นฐานแบบสถาปัตยกรรมบาโรก กับองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา สถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก และสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ ในบางพื้นที่ และถึงแม้ว่าจะเกิดความเสียหายครั้งใหญ่กับเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่สอง แต่เมืองวัลเลตตาก็ได้รับประกาศอย่างเป็นทางการจากยูเนสโก เป็นมรดกโลกในปี 1980.

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และวัลเลตตา · ดูเพิ่มเติม »

สมัยกลาง

แบบจำลองของหมวกหุ้มเกราะซึ่งถูกพบที่ซัททันฮู ในหลุมศพของผู้นำชาวแองโกล-แซกซัน สันนิษฐานว่าเป็นกษัตริย์ราวปี ค.ศ. 620 ในช่วงต้นสมัยกลางNees ''Early Medieval Art'' pp. 109–112 สมัยกลาง หรือ ยุคกลาง (Middle Ages) คือช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ยุโรป ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยปกติแล้วเริ่มนับตั้งแต่การล่มสลายลงของจักรวรรดิโรมันตะวันตก (การสิ้นสุดของสมัยคลาสสิก) จนถึงจุดเริ่มตั้นของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และยุคแห่งการสำรวจ ซึ่งเป็นยุคที่นำไปสู่สมัยใหม่ในเวลาต่อมา สมัยกลางคือช่วงเวลาตรงกลางของกระบวนการเปลี่ยนผ่านในประวัติศาสตร์ตะวันตกคือ สมัยคลาสสิก สมัยกลาง และสมัยใหม่ นอกจากนี้สมัยกลางยังถูกแบ่งออกเป็นสามช่วงเวลาคือ ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages), สมัยกลางยุครุ่งโรจน์ (High Middle Ages) และปลายสมัยกลาง (Late Middle Ages) ในยุคกลางตอนต้น การลดลงของประชากร, การหดตัวของเมือง และการรุกรานจากอนารยชน เริ่มต้นขึ้นในยุคโบราณตอนปลายและดำเนินไปอย่างรวดเร็ว เหล่าอนารยชนผู้บุกรุกเข้าตั้งอาณาจักรของตนในส่วนที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิโรมันตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 แอฟริกาเหนือและตะวันออกกลาง ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันตะวันออก ได้กลายไปเป็นจักรวรรดิอิสลามหลังจากถูกยึดครองโดยผู้สืบทอดของนบีมุฮัมมัด แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและโครงสร้างทางการเมืองมากมาย แต่ก็ไม่ได้เปลี่ยนไปจากยุคโบราณคลาสสิคอย่างสิ้นเชิง จักรวรรดิโรมันตะวันออกหรือจักรวรรดิไบแซนไทน์ยังคงอยู่รอดและรักษาอำนาจของตนเอาไว้ได้ นอกจากนี้แล้วอาณาจักรเกิดใหม่ส่วนใหญ่ยังคงเกี่ยวพันอยู่กับสถาบันที่หลงเหลืออยู่ของชาวโรมัน ในขณะที่วัดวาอารามของคริสต์ศาสนาได้แผ่ขยายไปทั่วยุโรปตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 และ 8 ชาวแฟรงก์ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงได้สถาปนาจักรวรรดิขึ้นซึ่งครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกมีนามว่า จักรวรรดิการอแล็งเฌียง ซึ่งยืนยงไปจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 เมื่อจักรวรรดิล่มสลายลงจากแรงงกดดันของการรุกรานจากภายนอก เช่น ชาวไวกิงจากทางเหนือ ชาวแมกยาร์จากทางตะวันออก และชาวซาราเซนจากทางใต้ ช่วงต้นสมัยกลางซึ่งเริ่มขึ้นหลังคริสต์ศตวรรษที่ 10 ประชากรของยุโรปขยายตัวอย่างมากจากการที่นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและทางการเกษตรทำให้การค้าขายเจริญรุ่งเรืองและการทำเรือกสวนไร่นาขยายตัว ระบบมาเนอร์ - องค์กรของชาวนาตามหมู่บ้านที่ติดค้างค่าเช่าที่ดินและหน้าที่ด้านแรงงานแก่ขุนนาง และระบบเจ้าขุนมูลนาย - โครงสร้างทางการเมืองที่ซึ่งอัศวินและขุนนางศักดิ์ต่ำกว่าติดค้างหน้าที่ด้านการทหารแก่เจ้านายผู้มีศักดิ์สูงกว่าของพวกเขาแลกกับสิทธิ์ในการเก็บค่าเช่าที่ดินและชาวนาใต้ปกครอง สองระบบนี้คือระเบียบของสังคมที่ใช้กันในยุคกลางตอนกลาง ต่อมาอาณาจักรเริ่มรวมศูนย์อำนาจมากขึ้นภายหลังการล่มสลายลงของจักรวรรดิคาโรแล็งเชียง สงครามครูเสดซึ่งเริ่มขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

สะโลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ) มาดริด

ลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์ (Salome with the Head of John the Baptist) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยการาวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พระราชวังมาดริด ในประเทศสเปน นักชีวประวัติโจวันนี ปีเอโตร เบลโลรี (Giovanni Bellori) กล่าวถึงภาพเขียน “สะโลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์” ในปี..

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และสะโลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ) มาดริด · ดูเพิ่มเติม »

สะโลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ) ลอนดอน

ลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์ (Salome with the Head of John the Baptist) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยการาวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติ ลอนดอนในอังกฤษ การาวัจโจวาด “สะโลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์” ราวระหว่างปี ค.ศ. 1607 ถึง ค.ศ. 1610 เป็นภาพที่พบในงานสะสมส่วนบุคคลในปี..

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และสะโลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ) ลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

สันนิบาตศักดิ์สิทธิ์ (ค.ศ. 1571)

งของ “สันนิบาตศักดิ์สิทธิ์” ที่ใช้ในยุทธการที่เลปันโต สันนิบาตศักดิ์สิทธิ์ (Holy League) ของปี ค.ศ. 1571 คือกลุ่มรัฐโรมันคาทอลิกที่มีทางออกสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เพื่อต่อต้านอิทธิพลของจักรวรรดิออตโตมันในบริเวณทางตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 5 ทรงสถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1571 สมาชิกของสันนิบาตประกอบด้วยรัฐสันตะปาปา ราชอาณาจักรสเปน เนเปิลส์ และซิซิลีของฮับส์บูร์ก สาธารณรัฐเวนิส สาธารณรัฐเจนัว แกรนด์ดัชชีทัสกานี ดัชชีซาวอย ดัชชีปาร์มา ดัชชีอูร์บีโน และอัศวินแห่งมอลตา รัฐต่าง ๆ เหล่านี้มีกองเรือประเภทต่างๆ ด้วยกันทั้งหมดด้วยกัน 300 ลำ ทหารราบ 50,000 คน และทหารม้า 4,500 คน และมีปืนที่พร้อมที่จะต่อสู้ในวันที่ 1 ของทุกปี โดยมีเจ้าชายจอห์นแห่งออสเตรีย พระอนุชาต่างพระมารดาในพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน เป็นผู้บังคับบัญชาการสูงสุด ทุนทรัพย์ในการบำรุงกองเรือมาจากรัฐสันตะปาปา สเปน และสาธารณรัฐเวนิส สันนิบาตศักดิ์สิทธิ์เปิดโอกาสการเป็นสมาชิกแก่จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ฝรั่งเศส และโปรตุเกส แต่ไม่มีผู้ใดเข้าร่วม จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ประสงค์ที่จะรักษาสันติภาพกับอิสตันบุล ขณะที่ฝรั่งเศสเป็นพันธมิตรกับออตโตมันในการต่อต้านอิทธิพลของกลุ่มพันธมิตรสเปน และโปรตุเกสมัวแต่ยุ่งอยู่กับโมร็อกโกและการเผชิญความขัดแย้งโดยตรงกับออตโตมันในทะเลแดงและมหาสมุทรอินเดียซึ่งทำให้ไม่มีกำลังพอที่ส่งคนไปช่วยสันนิบาตได้ สันนิบาตเริ่มด้วยการรวมกองทัพเรือเข้าด้วยกันเพื่อช่วยเวนิสต่อต้านการรุกรานของออตโตมันที่นำโดยลาลา คารา มุสตาฟา ปาชาในไซปรัสในเดือนกรกฎาคมปี ค.ศ. 1570 แต่ไปถึงไม่ทันที่จะช่วยให้ไซปรัสรอดจากการยึดครองโดยออตโตมัน แต่เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศ. 1571 สันนิบาตก็สามารถได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดต่อกองทัพเรือของออตโตมันในยุทธการที่เลปันโต ริมฝั่งทะเลทางด้านตะวันตกของกรีซ หลังจากการลงนามในสนธิสัญญาสงบศึกในปี ค.ศ. 1573 แล้วสันนิบาตก็สิ้นสุดลง.

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และสันนิบาตศักดิ์สิทธิ์ (ค.ศ. 1571) · ดูเพิ่มเติม »

สุลัยมานผู้เกรียงไกร

ลต่านสุลัยมานที่ 1 (ตุรกีออตโตมัน: سلطان سليمان اول‎) พระองค์เป็นที่รู้จักในโลกตะวันตกว่า สุลัยมานผู้เกรียงไกร และเป็นที่รู้จักในโลกตะวันออกว่า สุลัยมานผู้ตรากฎหมาย ทรงเป็นประมุขของจักรวรรดิออตโตมันสมัยราชวงศ์ออสมันระหว่างปี ค.ศ. 1520 จนเสด็จสวรรคตเมื่อต้นเดือนกันยายนปี ค.ศ. 1566 เป็นสุลต่านพระองค์ที่ 10 และเป็นสุลต่านที่ทรงราชย์นานที่สุดของจักรวรรดิออตโตมัน เป็นเวลานานถึง 46 ปี สุลต่านสุลัยมานเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1494 ที่ทราบซอนในประเทศตุรกี เป็นพระราชโอรสในสุลต่านเซลิมที่ 1 และฮาฟซา ฮาทุน (Hafsa Hatun) ทรงเสกสมรสตามกฎหมายกับร็อกเซลานา หรือเฮอร์เรมสุลต่าน พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อราววันที่ 5/6 กันยายน ค.ศ. 1566 ที่ Szigetvár ในประเทศฮังการีปัจจุบัน หลังจากพระองค์เสด็จสวรรคต พระราชโอรสของพระองค์กับเฮอร์เรมสุลต่านก็ขึ้นครองราชย์เป็นสุลต่านเซลิมที่ 2 สุลต่านสุลัยมานเป็นพระมหากษัตริย์องค์สำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีบทบาทสำคัญไม่เพียงแต่ในจักรวรรดิออตโตมันเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงททวีปยุโรปด้วย พระองค์มีพระบรมราชานุภาพอันยิ่งใหญ่ทางการทหารและทางเศรษฐกิจ ทรงเป็นผู้นำทัพด้วยพระองค์เองในการสงครามหลายครั้งและทรงได้รับชัยชนะในสงครามหลายครั้งที่รวมทั้งต่อเบลเกรด โรดส์ และ ฮังการีเกือบทั้งหมด แต่มาทางพ่ายแพ้ในการล้อมกรุงเวียนนาในปี..

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมบาโรก

วิหารซุพเพอร์กา (Basilica di Superga) ใกล้เมืองตูริน ประเทศอิตาลี โดย ฟิลิโป คูวารา (Filippo Juvarra) วิการตกแต่งภายในของวัดวีส์ ประเทศเยอรมนี ที่แสดงถึงความแยกไม่ออกระหว่างประติมากรรมและสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมบาโรก (ภาษาอังกฤษ: Baroque architecture) เป็นคำที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่ประเทศอิตาลี เป็นสถาปัตยกรรมที่บ่งถึงความหรูหราโอ่อ่าและความมีอำนาจของสถาบันคริสต์ศาสนาและการปกครอง และจะเน้นเรื่องแสง สี เงา และคุณค่าของประติมากรรม ขณะที่สถาปัตยกรรมเรอเนซองส์จะเน้นความมั่งคั่งและอำนาจของราชสำนักอิตาลี และประสมประสานศิลปะศาสนาและศิลปะทางโลก สถาปัตยกรรมบาโรกเมื่อเริ่มแรกเป็นสถาปัตยกรรมที่มาจากปฏิกิริยาต่อการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ซึ่งเป็นกระบวนการของสถาบันคาทอลิกต่อต้านการปฏิรูปดังกล่าว โดยการปฏิรูปภายในสถาบันคาทอลิกเอง การประชุมสังคายนาที่เมืองเทร้นต์ ระหว่างวันที่ 13 ธันวาคม..

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และสถาปัตยกรรมบาโรก · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์

มหาวิหารแซงต์ปิแยร์แห่งอองกูเล็ม ประเทศฝรั่งเศส สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ (Romanesque architecture) เป็นคำที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 10 ไปจนถึงสมัยสถาปัตยกรรมกอธิคระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ที่อังกฤษจะเรียกกันว่า “สถาปัตยกรรมนอร์มัน” ลักษณะเด่นๆของสถาปัตยกรรมยุคนี้คือความเทอะทะ เช่นความหนาของกำแพง ประตูหรือหลังคา/เพดานโค้งประทุน เพดานโค้งประทุนซ้อน การใช้โค้งซุ้มอาร์เคดในระหว่างช่วงเสาหนึ่ง ๆ และในแต่ละชั้นที่ต่างขนาดกันศิลป พีระศรี, ประวัติศาสตร์และแบบอย่างศิลปะ, (แปลและเรียบเรียงโดย เขียน ยิ้มศิริ) (กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์, 2512) เสาที่แน่นหนา หอใหญ่หนัก และ การตกแต่งรอบโค้ง (เช่น ซุ้มประตูหรืออาร์เคด (arcade)) ลักษณะตัวอาคารก็จะมีลักษณะเรียบ สมส่วนมองแล้วจะเป็นลักษณะที่ดูขึงขังและง่ายไม่ซับซ้อนเช่นสถาปัตยกรรมกอธิคที่ตามมา สถาปัตยกรรมจะพบทั่วไปในทวีปยุโรปไม่ว่าจะเป็นประเทศใดหรือไม่ว่าจะใช้วัสดุใดในการก่อสร้าง สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์จะพบในการก่อสร้างคริสต์ศาสนสถานและมหาวิหารเป็นส่วนใหญ่ แต่จะมีบ้างที่ใช้ในการก่อสร้างปราสาทในสมัยนั้น คริสต์ศาสนสถานแบบโรมาเนสก์ยังคงมีหลงเหลืออยู่ และบางแห่งก็ยังใช้เป็นสถานที่สักการะตราบจนทุกวันนี้ Bannister Fletcher, “History of Architecture on the Comparative Method” (ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมโดยการเปรียบเทียบ).

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดอเล็กซานเดรีย

งครามครูเสดอเล็กซานเดรีย (Alexandrian Crusade) (ค.ศ. 1365) เป็นสงครามครูเสดที่เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1365 ที่นำโดยปีเตอร์ที่ 1 แห่งไซปรัสในการอเล็กซานเดรียโดยแทบไม่มีสาเหตุทางศาสนา ซึ่งแตกต่างจากสงครามครูเสดครั้งอื่นๆ เพราะสงครามครั้งนี้เป็นสงครามที่มีสาเหตุมาจากเศรษฐก.

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และสงครามครูเสดอเล็กซานเดรีย · ดูเพิ่มเติม »

อัศวินทิวทอนิก

ณะภราดรบ้านนักบุญมารีย์เยอรมันในเยรูซาเล็ม (Ordo domus Sanctæ Mariæ Theutonicorum Hierosolymitanorum) หรือชื่อสามัญว่า คณะทิวทอนิก (หรือ คณะเยอรมันในปัจจุบัน) เป็นคณะอัศวินสมัยกลางของเยอรมนี และในสมัยปัจจุบันกลายเป็นคณะศาสนาคาทอลิกเต็มตัว ก่อตั้งขึ้นราว ปี..

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และอัศวินทิวทอนิก · ดูเพิ่มเติม »

อัศวินเทมพลาร์

ทหารผู้ยากแห่งพระคริสต์และพระวิหารแห่งโซโลมอน (Pauperes commilitones Christi Templique Solomonici) หรือที่รู้จักกันในชื่ออัศวินเทมพลาร์ หรือคณะแห่งพระวิหาร (Ordre du Temple หรือ Templiers) เป็นคณะทหารคริสตชนที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดMalcolm Barber, The New Knighthood: A History of the Order of the Temple.

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และอัศวินเทมพลาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ครักเดเชอวาลีเย

รักเดเชอวาลีเย (Krak des Chevaliers, Crac des Chevaliers) หรือ ก็อลอะฮ์อัลฮิศน์ (قلعة الحصن) เป็นปราสาทครูเสดที่ตั้งอยู่ในประเทศซีเรีย ครักเดเชอวาลีเยเป็นปราสาทที่มีความสำคัญในการเป็นปราสาททางการทหารจากยุคกลางที่อยู่ในสภาพที่ดีที่สุดในโลก คำว่า "Krak" ในชื่อมาจากภาษาซีรีแอก "karak" ที่แปลว่าป้อมปราการ ปราสาทอยู่ห่างจากเมืองฮอมส์ไปทางตะวันตกราว 65 ใกล้กับพรมแดนเลบานอน.

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และครักเดเชอวาลีเย · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1560

..

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และคริสต์ทศวรรษ 1560 · ดูเพิ่มเติม »

คณะทหารองค์อธิปัตย์แห่งมอลตา

รัฐอธิปไตยทหารออร์เดอร์ออฟมอลตา หรือ คณะทหารองค์อธิปัตย์แห่งมอลตา (Sovereign Military Order of Malta: SMOM) ย่อว่า ออร์เดอร์ออฟมอลตา หรือ คณะแห่งมอลตา (Order of Malta) ชื่อเต็มว่า คณะฮอสปิทัลเลอร์ทหารองค์อธิปัตย์แห่งนักบุญยอห์นแห่งเยรูซาเลม แห่งโรดส์ และแห่งมอลตา (Sovereign Military Hospitaller Order of Saint John of Jerusalem of Rhodes and of Malta) เป็นคณะนักบวชคาทอลิกฝ่ายฆราวาสซึ่งตามประเพณีแล้วมีลักษณะเป็นทหาร อัศวิน และขุนนาง เดิมเจอราร์ดผู้รับพร (Blessed Gerard) ก่อตั้งขึ้นเป็นกลุ่มอัศวินฮอสปิทัลเลอร์ (Knights Hospitaller) ราว..

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และคณะทหารองค์อธิปัตย์แห่งมอลตา · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทมาร์กัต

ปราสาทมาร์กัต ('''Margat'''. หรือ Marqab, '''قلعة المرقب''' (Qalaat al-Marqab หรือ ปราสาทแห่งหอยาม).) เป็นซากปราสาทที่สร้างโดยทหารครูเสด ปัจจุบันตั้งอยู่ในประเทศซีเรีย ปราสาทมาร์กัตเป็นที่ตั้งมั่นสำคัญของอัศวินเซนต์จอห์น ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1062 ปราสาทมาร์กัตตั้งอยู่บนเนินสูงราว 500 เมตรจากระดับน้ำทะเลบนภูเขาไฟที่ดับแล้วริมถนนระหว่างทริโปลิและลาทาเคียราวสองกิโลเมตรจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนราว 6 กิโลเมตรจากทางใต้ของบันนิยาส เดิมคาดว่าเป็นป้อมโบราณแต่สิ่งก่อสร้างในทางการป้องกันทางการทหารเริ่มก่อสร้างเมื่อปี..

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และปราสาทมาร์กัต · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ (คาราวัจโจ-วาเล็ตตา)

นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ หรือ นักบุญเจอโรมแปลพระคัมภีร์ (Saint Jerome Writing (Valletta)) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งอยู่ภายในโอราทอรีภายในมหาวิหารร่วมเซนต์จอห์น, วาเล็ตตาในประเทศอิตาลี ภาพ “นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ” เขียนราวระหว่างปี ค.ศ. 1607 ถึงปี ค.ศ. 1608 เป็นภาพที่เปรียบเทียบได้กับภาพในหัวข้อเดียวกันที่เขียนก่อนหน้านั้น “นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ (หอศิลป์บอร์เกเซ, โรม)” คาราวัจโจมาถึงมอลตาเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1607 หลังจากที่ใช้เวลาอยู่ในเนเปิลส์อยู่สองสามเดือนภายใต้การคุ้มครองของตระกูลโคลลอนนาผู้มีอิทธิพลหลังจากที่ไปฆ่าคนระหว่างการมีปากมีเสียงกันที่โรมในปีก่อนหน้านั้น ขณะที่พำนักอยู่ที่เนเปิลส์คาราวัจโจก็ได้สร้างชื่อเสียงให้แก่ตนเองและมีอิทธิพลมากจนมีกลุ่มผู้ติดตามวิธีเขียนที่เรียกตนเองว่า “กลุ่มคาราวัจโจ” (Caravaggisti) ในบรรดาจิตรกรในเมืองนั้น กล่าวง่ายๆ คือคาราวัจโจมีผู้พิทักษ์, มีความสำเร็จในงานอาชีพ และเป็นที่นับถือในหมู่จิตรกร ฉะนั้นจึงเป็นที่น่ากังขาถึงสาเหตุที่ออกจากเนเปิลส์ไปยังเกาะที่เป็นที่ตั้งของนักบวชที่มีชื่อเสียงในทางการทหารมากกว่าจะเป็นนักบวช (ปีเตอร์ รอบบ์ เปรียบเทียบนักบวชบนเกาะมอลตาว่าเป็น “กองทหารต่างด้าวของฝรั่งเศส” (French Foreign Legion)) เหตุผลที่สรุปกับโดยนักเขียนชีวประวัติหลายคนเมื่อไม่นานมานี้รวมทั้งปีเตอร์ รอบบ์ และเฮเล็น แลงดอนกล่าวว่า ในปี..

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และนักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ (คาราวัจโจ-วาเล็ตตา) · ดูเพิ่มเติม »

เบญจาคริสต์

แกรนด์มาสเตอร์ประมุขของอัศวินเซนต์จอห์นนั่งภายใต้เบญจาบนแท่นโดยมีเบาะรองเท้า การใช้เบญจาในขบวนแห่ทางศาสนาในเบลเยียม เบญจา หรือ ผ้าประจำตำแหน่ง หรือ กลด (baldachin, baldaquin) เป็นเครื่องตกแต่งสำหรับแสดงฐานะที่ใช้ติดตั้งเหนือแท่นบูชา บัลลังก์ หรือเก้าอี้ หรือพระแท่นบรรทมหรือเตียง.

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และเบญจาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

เลออโคออนและบุตร

ลออโคออนและบุตร (Laocoön and His Sons) หรือ กลุ่มเลออโคออน (Laocoön Group) เป็นประติมากรรมหินอ่อนขนาดใหญ่ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์วาติกันในนครรัฐวาติกันในประเทศอิตาลี นักประพันธ์และนักปรัชญาพลินิผู้อาวุโสกล่าวว่าเป็นงานที่อาจจะสร้างโดยประติมากรสามคนจากเกาะโรดส์: อเจซานเดอร์แห่งโรดส์ (Agesander of Rhodes), เอธีโนโดรอส (Athenodoros) หรือโพลิโดรัส (Polydorus) ประติมากรรมชิ้นนี้เป็นภาพของนักบวชโทรจันเลออโคออนและบุตรอันทิฟานทีส (Antiphantes) และ ไทม์บราเอียส (Thymbraeus) ถูกกำลังถูกรัดโดยงูทะเล.

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และเลออโคออนและบุตร · ดูเพิ่มเติม »

เอเคอร์ (อิสราเอล)

อเคอร์ หรือ อักโก (Acre หรือ Akko) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของบริเวณกาลิลีทางตอนเหนือของอิสราเอล ตัวเมืองตั้งอยู่บนแหลมหรือแผ่นดินที่ยื่นออกไปในทะเล (promontory) ของอ่าวไฮฟา (Haifa Bay) ตามสถิติของสำนักงานสถิติกลางแห่งอิสราเอล เอเคอร์มีประชากรทั้งหมดราว 46,000 คนในปลายปี..

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และเอเคอร์ (อิสราเอล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก

็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก (Seven Wonders of the World) คือ สิ่งก่อสร้างที่มีความยิ่งใหญ่และโดดเด่น ทั้งหมด 7 แห่งด้วยกัน โดยมีการกล่าวถึงครั้งแรกในงานของเฮโรโดตุส (Herodotos หรือ Herodotus เมื่อราว 5 ศตวรรษก่อนคริสตกาล แต่หลังจากนั้นก็การอ้างถึงจากกวีชาวกรีก เช่น คัลลิมาฆุส แห่งคีเรนี, อันทิพาเตอร์ แห่งซีดอน และฟิโล แห่งไบเซนไทน์ เมื่อราวศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ หรือสิ่งมหัศจรรย์ทั้งเจ็ดของโลก ในบัญชีแรก เรียกกันว่า เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ และหลังจากนั้น ยังมีบัญชีเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกในยุคกลางและยุคปัจจุบัน โดยไม่ปรากฏผู้จัดทำรายการอย่างชัดเจน.

ใหม่!!: อัศวินฮอสปิทัลเลอร์และเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Knight HospitallerKnight HospitallersKnights HospitallerKnights of MaltaKnights of RhodesOrder of St. Johnลัทธิ Knights Hospitallerลัทธิอัศวินแห่งมอลตาลัทธิเซนต์จอห์นลัทธิเซนต์จอห์นแห่งเยรุซาเล็มอัศวินฮอสพิทาลเลอร์อัศวินแห่งมอลตาอัศวินแห่งโรดส์อัศวินเซนต์จอห์นคณะเซนต์จอห์นแห่งเยรุซาเล็ม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »