สารบัญ
27 ความสัมพันธ์: บรันเดินบวร์ค-ปรัสเซียชาวปรัสเซียเก่าภูมิภาคมิเคเลาเออร์มัลบอร์กรัฐอัศวินทิวทันรัฐนักรบครูเสดรายชื่อสนธิสัญญารายพระนามพระมหากษัตริย์ปรัสเซียสมัยกลางสารตราทองแห่งรีมีนีสงครามฮุสไซต์สงครามครูเสดครั้งที่ 6สงครามครูเสดตอนเหนือสงครามโปแลนด์-ลิทัวเนีย-ทิวทันอะเลคซันดร์ เนฟสกี (ภาพยนตร์)อัศวินอัศวินเทมพลาร์ทอรูนดัชชีปรัสเซียฉากแท่นบูชาเมรอดประวัติศาสตร์เยอรมนีประวัติศาสตร์เดนมาร์กปราสาทมาร์กัตปราสาทเคอนิจส์แบร์กเยลกาวาเจ้าชายแม็ก ดยุกในบาวาเรียเคอนิจส์แบร์ก
บรันเดินบวร์ค-ปรัสเซีย
รันเดินบวร์ค-ปรัสเซีย (Brandenburg-Preußen, Brandenburg-Prussia) เป็นรัฐร่วมประมุขที่เกิดจากการรวมตัวระหว่างดัชชีปรัสเซียและรัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์คในปี ค.ศ.
ดู อัศวินทิวทอนิกและบรันเดินบวร์ค-ปรัสเซีย
ชาวปรัสเซียเก่า
นเผ่าปรัสเซียภายในกลุ่มชนบอลติค ราว ค.ศ. 1200 บอลติคตะวันออกสีน้ำตาลและบอลติคตะวันตกสีเขียว เขตแดนที่แสดงเป็นเขตแดนโดยประมาณ ชนปรัสเซียเก่า หรือ ชนบอลติกปรัสเซีย (Old Prussians หรือ Baltic Prussians; Pruzzen or Prußen; Pruteni; Prūši; Prūsai; Prusowie) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ (ethnic group) ท้องถิ่นในกลุ่มชนบอลต์ (Balts) ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณปรัสเซีย ซึ่งเป็นดินแดนบริเวณทางตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลบอลติกในบริเวณรอบ ๆ ลากูนวิตูลา (Vistula Lagoon) และ ลากูนคูโรเนียน (Curonian Lagoon) ภาษาที่พูดปัจจุบันเรียกว่าภาษาปรัสเซียเก่า ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในบริเวณที่นักวิชาการเชื่อว่าเกี่ยวข้องโดยตรงกับบริเวณลิทัวเนียที่นับถือลัทธิเพกันที่นับถือพระเจ้าเช่นเพอร์กูน ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 ชนปรัสเซียเก่าถูกพิชิตโดยอัศวินทิวทันและในที่สุดก็ค่อยๆ กลายเป็นเยอรมัน (Germanisation) ในหลายร้อยปีต่อมา อาณาจักรปรัสเซียเดิมของเยอรมนีนำชื่อนี้มาใช้เป็นชื่ออาณาจักร แม้ว่าจะมีผู้นำเป็นชาวเยอรมันผู้กลืนไปกับชนปรัสเซียเก่า ส่วนภาษาปรัสเซียเก่าก็สูญหายไปตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17Encyclopædia Britannica entry 'Old Prussian language' ดินแดนของชนปรัสเซียเก่าเป็นดินแดนที่อยู่ราวตอนกลางและตอนใต้ของปรัสเซียตะวันออก — ปัจจุบัน Warmian-Masurian Voivodeship ของโปแลนด์ คาลินินกราด ของรัสเซีย และ ทางใต้ของ บริเวณไคลพาดา (Klaipėda Region) ของลิทัวเนี.
ดู อัศวินทิวทอนิกและชาวปรัสเซียเก่า
ภูมิภาคมิเคเลาเออร์
ภูมิภาคมิเคลเลาเออร์ ((Ziemia michałowska, Terra Michaloviensis, Michelauer land) เป็นภูมิภาคในประวัติศาสตร์ที่ตั้งอยู่ในตอนกลางของประเทศโปแลนด์ที่เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดคูยาเวียน-โพเมอราเนียปัจจุบัน ระหว่างยุคกลางเคลเลาเออร์เป็นดินแดนที่เป็นกรณีพิพาทระหว่างโปแลนด์และอัศวินทิวทัน ชื่อภูมิภาคมาจากชื่อปราสาทมิเคลเลาเออร์ที่ถูกทำลายในปี ค.ศ.
ดู อัศวินทิวทอนิกและภูมิภาคมิเคเลาเออร์
มัลบอร์ก
ทิวทัศน์ของเมือง มัลบอร์ก (Malbork; Marienburg; Civitas Beatae Virginis) เป็นเมืองทางเหนือของประเทศโปแลนด์ เทศมณฑลมัลบอร์กเป็นเมืองหลักของจังหวัดปอมอแช มีเนื้อที่ 17.15 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 38,478 คน มัลบอร์กก่อตั้งโดยอัศวินทิวทอนิกในศตวรรษที่ 13 ปราสาทมัลบอร์กเป็นสถานที่ที่มีชื่อเสียงของเมืองนี้และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางธรรมชาต.
รัฐอัศวินทิวทัน
รัฐอัศวินทิวทัน หรือ รัฐนิกาย (Deutschordensland หรือ Ordensstaat, State of the Teutonic Order หรือ Order-State) เป็นรัฐที่ก่อตั้งขึ้นเมื่ออัศวินทิวทันได้รับชัยชนะต่อชนปรัสเซียเก่าที่เป็นเพกันทางตะวันตกของบอลติกในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ในปี ค.ศ.
ดู อัศวินทิวทอนิกและรัฐอัศวินทิวทัน
รัฐนักรบครูเสด
ตะวันออกใกล้ในปี ค.ศ. 1135 โดยมีอาณาจักรครูเสดเป็นสีเขียว อานาโตเลียและอาณาจักรครูเสด ราว ค.ศ. 1140 รัฐนักรบครูเสด (Crusader states) คือกลุ่มรัฐเจ้าขุนมูลนายที่นักรบครูเสดชาวยุโรปตะวันตกตั้งขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 12 - 13 ในอานาโตเลีย กรีซ และแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ (อิสราเอลโบราณและปัจจุบัน และในบริเวณปาเลสไตน์) แต่ในที่สุดอำนาจของอิสลามในตะวันออกกลางก็พิชิตรัฐเหล่านี้ได้หมด นอกจากนั้นรัฐนักรบครูเสดก็ยังหมายถึงดินแดนอื่นที่คริสตจักรสมัยกลางได้มา (ส่วนใหญ่เป็นรัฐเล็กและเพียงชั่วระยะเวลาอันสั้น) เพื่อป้องกันชาวมุสลิมและดินแดนของผู้นอกศาสนาอื่น ๆ ด้ว.
ดู อัศวินทิวทอนิกและรัฐนักรบครูเสด
รายชื่อสนธิสัญญา
การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.
ดู อัศวินทิวทอนิกและรายชื่อสนธิสัญญา
รายพระนามพระมหากษัตริย์ปรัสเซีย
ตราอาร์มของราชอาณาจักรปรัสเซีย รายพระนามพระมหากษัตริย์ปรัสเซีย (List of monarchs of Prussia) เป็นรายนามและรายพระนามของประมุขของอดีตรัฐเยอรมันแห่งปรัสเซีย ที่เดิมเป็นรัฐอัศวินทิวทอนิก บนฝั่งทะเลบอลติกที่อัศวินทิวทอนิกพิชิตได้มาจากโปแลนด์และลิทัวเนีย ต่อมาเป็นดัชชีภายใต้การปกครองของราชอาณาจักรโปแลนด์ ดัชชีปรัสเซีย ราชอาณาจักรปรัสเซียอิสระ ราชอาณาจักรภายในจักรวรรดิเยอรมัน และเสรีรัฐปรัสเซียของเยอรมนีในที่สุด ประวัติศาสตร์ของปรัสเซียตั้งแต่ปี..
ดู อัศวินทิวทอนิกและรายพระนามพระมหากษัตริย์ปรัสเซีย
สมัยกลาง
แบบจำลองของหมวกหุ้มเกราะซึ่งถูกพบที่ซัททันฮู ในหลุมศพของผู้นำชาวแองโกล-แซกซัน สันนิษฐานว่าเป็นกษัตริย์ราวปี ค.ศ.
สารตราทองแห่งรีมีนี
รตราทองแห่งรีมีนี (Golden Bull of Rimini) เป็นสารตราทองที่ออกโดยสมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่รีมีนีในอิตาลีในเดือนมีนาคม ค.ศ.
ดู อัศวินทิวทอนิกและสารตราทองแห่งรีมีนี
สงครามฮุสไซต์
งครามฮุสไซต์ (Hussite Wars) หรือ สงครามโบฮีเมีย หรือ การปฏิวัติฮุสไซต์ เป็นการสู้รบระหว่างฝ่ายฮุสไซต์ที่นับถือคำสอนของยัน ฮุสกับฝ่ายโรมันคาทอลิก นำโดยจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ รวมถึงการสู้รบกันเองในหมู่นักรบฮุสไซต์ สงครามนี้เกิดขึ้นหลังเหตุการณ์ความแตกแยกหลายเหตุการณ์ระหว่างผู้นับถือคำสอนของฮุสกับผู้ปกครองที่นับถือนิกายโรมันคาทอลิก เช่น การเผาทั้งเป็นฮุส, เหตุบัญชรฆาตในกรุงปรากและการสวรรคตของพระเจ้าเวนเซลแห่งชาวโรมัน ในปี..
ดู อัศวินทิวทอนิกและสงครามฮุสไซต์
สงครามครูเสดครั้งที่ 6
ระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2ทรงพบกับอัล-คามิล สงครามครูเสดครั้งที่ 6 (Sixth Crusade) (ค.ศ. 1228-ค.ศ. 1229) สงครามครูเสด ครั้งนี้เริ่มขึ้นเพียงเจ็ดปีหลังจากความล้มเหลวของสงครามครูเสดครั้งที่ 5.
ดู อัศวินทิวทอนิกและสงครามครูเสดครั้งที่ 6
สงครามครูเสดตอนเหนือ
งครามครูเสดตอนเหนือ (Northern Crusades) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นโดย กษัตริย์เดนมาร์ก สวีเดน รวมถึงภาคีลิวอเนียน และคณะอัศวินทิวทัน ซึ่งร่วมกับเหล่าพันธมิตรต่อต้านชาวลัทธิเพกัน รอบ ๆ ดินแดนยุโรปภาคเหนือ ชายฝั่งตะวันออก และทางตอนใต้ของทะเลบอลติก สงครามครูเสดตอนเหนือนี้อาจรวมไปถึงการรบของสวิดิช และเยอรมันคาทอลิก ที่ต่อสู้กับชาวรัสเซีย ที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ หลายสงครามนี้ถูกเรียกว่าเป็นครูเสดในยุคกลาง ส่วนสงครามนอกเหนือจากนั้นซึ่งรวมไปถึงส่วนใหญ่ของสวิดิชครูเสด จะถูกเรียกรวมให้เป็นครูเสด โดยนักประวัติศาสตร์หัวชาตินิยม ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 โลกบอลติกตะวันออกนั้น ถูกแปลงให้เป็นพื้นที่ทางการทหารที่มุ่งพิชิตพวกแรก ๆ คือ พวกลิวอเนียน พวกเอสโทเนียน หลังจากนั้น ก็เป็น ชาวเซมิกัลป์เลียน คูโรเนียน และชาวปรัสเซียนที่ได้รับความพ่ายแพ้ ถูกเข้ายึด แม้กระทั่งทำลายล้าง โดยกลุ่มชาวเดนมาร์ก เยอรมัน และสวีเดน.
ดู อัศวินทิวทอนิกและสงครามครูเสดตอนเหนือ
สงครามโปแลนด์-ลิทัวเนีย-ทิวทัน
งครามโปแลนด์-ลิทัวเนีย-ทิวทัน หรือ มหาสงคราม (Wielka Wojna, Polish–Lithuanian–Teutonic War หรือ Great War) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ.
ดู อัศวินทิวทอนิกและสงครามโปแลนด์-ลิทัวเนีย-ทิวทัน
อะเลคซันดร์ เนฟสกี (ภาพยนตร์)
อะเลคซันดร์ เนฟสกี (Алекса́ндр Не́вский) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์จากสหภาพโซเวียต กำกับโดย เซียร์เกย์ ไอเซนสไตน์ ภาพยนตร์แสดงถึงความพยายามบุกเมืองนอฟโกรอดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 โดยอัศวินทิวทอนิกของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แต่พ่ายแพ้ต่อกองทัพของเจ้าชายอะเลคซันดร์ ซึ่งเป็นที่รู้จักในชื่อ อะเลคซันดร์ เนฟสกี ไอเซนสไตน์ ผลิดภาพยนตร์ร่วมกับดมีตรี วาซีเยฟ และเขียนบทร่วมกับปิออตร์ ปัฟเลนโค พวกเขาได้รับมอบหมายให้ตรวจสอบให้แน่ใจว่าไอเซนสไตน์ไม่ได้หลงเข้าไปในแนวคิด "formalism" และเพื่ออำนวยความสะดวกต่อการถ่ายทำในตารางเวลาที่เหมาะสม ภาพยนตร์ผลิตโดย Goskino ผ่านทางสตูดิโอภาพยนตร์มอสฟิล์ม โดยที่ Nikolai Cherkasov ถูกรับบทเป็นอะเลคซันดร์ เนฟสกี และประพันธ์ดนตรีประกอบโดย เซียร์เกย์ โปรโคเฟียฟ อะเลคซันดร์ เนฟสกี เป็นหนึ่งในภาพยนตร์เสียงในฟิล์มสามเรื่องแรกของไอเซนสไตน์ที่เป็นที่นิยมและได้รับความนิยมสูงสุด ในปี 2484 ไอเซนสไตน์, ปัฟเลนโค, Cherkasov และ Abrikosov ได้รับรางวัล Stalin Prize สำหรับภาพยนตร์เรื่องนี้ ในปี 2521 ภาพยนตร์เรื่องนี้ถูกจัดอยู่ใน 1 ใน 100 ภาพยนตร์ที่ดีที่สุดในโลกจากการสำรวจความคิดเห็นที่จัดโดยสำนักพิมพ์ Arnoldo Mondadori Editore ของอิตาลี.
ดู อัศวินทิวทอนิกและอะเลคซันดร์ เนฟสกี (ภาพยนตร์)
อัศวิน
รูปปั้นอัศวิน อัศวิน เป็นบุคคลที่พระมหากษัตริย์พระราชทานหรือผู้นำทางการเมืองอื่นมอบบรรดาศักดิ์กิตติมศักดิ์ให้สำหรับราชการต่อพระมหากษัตริย์หรือประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการทหาร ทางประวัติศาสตร์ ในทวีปยุโรป บรรดาศักดิ์อัศวินมอบให้แก่นักรบขี่ม้า ระหว่างสมัยกลางตอนกลาง อัศวินถูกมองว่าเป็นชนชั้นขุนนางล่าง เมื่อถึงสมัยกลางตอนปลาย ยศอัศวินได้มาสัมพันธ์กับอุดมคติอัศวิน (chivalry) อันเป็นจรรยาบรรณสำหรับนักรบคริสตชนราชสำนักที่ไร้ที่ติ บ่อยครั้ง อัศวินเคยเป็นข้า (vassal) ซึ่งรับใช้เป็นนักสู้ให้กับเจ้า (lord) โดยจ่ายในรูปการถือครองที่ดิน เจ้าเชื่อใจอัศวิน ซึ่งมีทักษะการยุทธ์บนหลังม้า นับแต่สมัยใหม่ตอนต้น บรรดาศักดิ์อัศวินเป็นเพื่อแสดงเกียรติยศทั้งหมด โดยพระมหากษัตริย์มักเป็นผู้พระราชทาน ดังเช่นในระบบบรรดาศักดิ์อังกฤษ (British honours system) มักให้สำหรับราชการที่มิใช่ทางทหารแก่ประเท.
อัศวินเทมพลาร์
ทหารผู้ยากแห่งพระคริสต์และพระวิหารแห่งโซโลมอน (Pauperes commilitones Christi Templique Solomonici) หรือที่รู้จักกันในชื่ออัศวินเทมพลาร์ หรือคณะแห่งพระวิหาร (Ordre du Temple หรือ Templiers) เป็นคณะทหารคริสตชนที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดMalcolm Barber, The New Knighthood: A History of the Order of the Temple.
ดู อัศวินทิวทอนิกและอัศวินเทมพลาร์
ทอรูน
ทอรูน (Toruń; Thorn; Torń) เป็นเมืองโบราณตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศโปแลนด์ บนฝั่งแม่น้ำวิสตูลา มีประชากร 205,934 คน ในเดือนมิถุนายน..
ดัชชีปรัสเซีย
ัชชีปรัสเซีย หรือ ดัชชีพรอยเซิน (Herzogtum Preußen; Prusy Książęce; Prūsijos kunigaikštystė; Duchy of Prussia) เป็นดัชชีที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกของแคว้นปรัสเซีย รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ.
ดู อัศวินทิวทอนิกและดัชชีปรัสเซีย
ฉากแท่นบูชาเมรอด
ฉากแท่นบูชาเมรอด (Mérode Altarpiece) หรือ ฉากแท่นบูชาการประกาศของเทพ (Annunciation Altarpiece) เป็นจิตรกรรมแผงที่เขียนโดยโรเบิร์ต กัมปิน จิตรกรสมัยศิลปะเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา โรเบิร์ต กัมปินเขียนภาพ "ฉากแท่นบูชาเมรอด" ระหว่างปี ค.ศ.
ดู อัศวินทิวทอนิกและฉากแท่นบูชาเมรอด
ประวัติศาสตร์เยอรมนี
ประวัติศาสตร์เยอรมนี เริ่มต้นด้วยการต้านทานการยึดครองโดยชาวโรมันของชนเจอร์มานิค ซึ่งเมื่อจักรวรรดิโรมันล่มสลายชนชาติเยอรมันก็กลายเป็นกลุ่มชนผู้มีอำนาจในยุโรปเข้าแทนที่ชาวโรมัน จนนำไปสู่กำเนิดจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือ จักรวรรดิที่ 1 ในสมัยกลาง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ธำรงอยู่กว่าพันปีแต่ก็เป็นเพียงจักรวรรดิที่มองไม่เห็น เพราะรัฐต่าง ๆ ในเยอรมันร้อยกว่ารัฐต่างแยกตัวเป็นอิสระจากพระจักรพรรดิ จนนโปเลียนยกเลิกจักรวรรดินี้ไปกลายเป็นสมาพันธรัฐเยอรมัน เป็นกลุ่มของรัฐต่าง ๆ จนราชอาณาจักรปรัสเซียสามารถรวมประเทศเยอรมนีได้โดยการนำของบิสมาร์ก ก็กลายเป็นจักรวรรดิเยอรมัน หรือ จักรวรรดิที่ 2 แต่ด้วยการปฏิวัติล้มระบอบกษัตริย์หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ทำให้เยอรมนีกลายเป็นสาธารณรัฐไวมาร์ แต่ถูก อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำลัทธินาซียึดอำนาจเปลี่ยนเป็นระบอบเผด็จการและแผ่ขยายดินแดนไปทั่วยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองหรือ จักรวรรดิที่ 3 แต่ฮิตเลอร์พ่ายแพ้สงคราม เยอรมนีจึงถูกแบ่งเป็นสองส่วน คือ เยอรมนีตะวันออก และ เยอรมนีตะวันตก จนรวมกันกลายเป็นประเทศเยอรมนีอีกครั้งใน ค.ศ.
ดู อัศวินทิวทอนิกและประวัติศาสตร์เยอรมนี
ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก
ตราแผ่นดินเดนมาร์ก ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก (History of Denmark) ประวัติศาสตร์ราชอาณาจักรเดนมาร์กมีจุดเริ่มต้นเมื่อย้อนกลับไป 12,000 ปีก่อน ในช่วงการสิ้นสุดยุคน้ำแข็งช่วงสุดท้าย ด้วยจากหลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์ เรื่องราวของชาวเดนส์ได้มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรในเอกสารครั้งแรกในช่วงปี..
ดู อัศวินทิวทอนิกและประวัติศาสตร์เดนมาร์ก
ปราสาทมาร์กัต
ปราสาทมาร์กัต ('''Margat'''. หรือ Marqab, '''قلعة المرقب''' (Qalaat al-Marqab หรือ ปราสาทแห่งหอยาม).) เป็นซากปราสาทที่สร้างโดยทหารครูเสด ปัจจุบันตั้งอยู่ในประเทศซีเรีย ปราสาทมาร์กัตเป็นที่ตั้งมั่นสำคัญของอัศวินเซนต์จอห์น ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ.
ดู อัศวินทิวทอนิกและปราสาทมาร์กัต
ปราสาทเคอนิจส์แบร์ก
ปราสาทเคอนิจส์แบร์ก พ.ศ. 2438 ปราสาทเคอนิจส์แบร์กฝั่งทิศตะวันออก พ.ศ. 2453 ปราสาทเคอนิจส์แบร์ก (Königsberger Schloss; Кёнигсбергский замок) คือปราสาทในเมืองเคอนิจส์แบร์ก เยอรมนี (คาลินินกราด สหพันธรัฐรัสเซีย ในปัจจุบัน) และเป็นหนึ่งในสถานที่สำคัญของเมือง ซึ่งในอดีตเคยเป็นเมืองหลวงของจังหวัดปรัสเซียตะวันออก (คาลินินกราดโอบลาสต์ ในปัจจุบัน).
ดู อัศวินทิวทอนิกและปราสาทเคอนิจส์แบร์ก
เยลกาวา
ลกาวา (Jelgava) เป็นเมืองในประเทศลัตเวีย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเมืองรีการาว 41 กม.
เจ้าชายแม็ก ดยุกในบาวาเรีย
้าชายแม็ก ดยุกในบาวาเรีย ทรงเป็นพระโอรสพระองค์สุดท้องใน อัลเบอร์ด ดยยุกแห่งบาวาเรีย และ เคาน์เตสมาเรีย พระองค์ทรงเสกสมรสกับ เคาน์เตสมาเรีย ดราโกวิช (ต่อมา:เจ้าหญิงเอลิซาเบธ ดัชเชสแห่งบาวาเรีย) มีพระธิดา 5 พระองค์ และทรงเป็นพระบิดาในเจ้าหญิงโซเฟีย พระชายาในรัชทายาทแห่งลิกเตนสไตน์ เป็นพระอัยกาใน เจ้าชายโจเซฟ เวนเซลแห่งลิกเตนสไตน.
ดู อัศวินทิวทอนิกและเจ้าชายแม็ก ดยุกในบาวาเรีย
เคอนิจส์แบร์ก
ปรัสเซียตะวันออก ตั้งแต่ปี 1919 ถึงปี 1939 ตราประจำเมืองเคอนิจส์แบร์ก เคอนิจส์แบร์ก (Königsberg) เป็นอดีตชื่อเมืองของเมืองคาลินินกราด โดยเป็นอดีตเมืองของชาวปรัสเซียเก่า ในสมัย Sambian ต่อมาเมืองนี้เป็นเมืองของ อัศวินทิวทอนิก, ดัชชีปรัสเซีย, ราชอาณาจักรปรัสเซีย, จักรวรรดิรัสเซีย และ เยอรมนี จนถึงปี 1946 หลังจากที่ถูกทำลายในช่วง สงครามโลกครั้งที่สองโดยกองทัพโซเวียต เคอนิจส์แบร์กถูกผนวกโดยสหภาพโซเวียต ต่อมาเมืองเคอนิจส์แบร์กถูกเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองคาลินินกราด ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เคอนิจส์แบร์ก ได้รับความเสียหายจากการทิ้งระเบิดโดยฝ่ายสัมพันธมิตร ในปี 1944 และในช่วงถูกล้อม ในปี 1945 เคอนิจส์แบร์กถูกยึดครองและปกครองโดยสหภาพโซเวียต ชาวเยอรมันที่อยู่ในเมืองถูกขับไล่ทั้งหมดและแทนที่ด้วยชาวรัสเซียและเชื้อชาติอื่นในสหภาพโซเวียต ตามนโยบายการแผลงเป็นรัสเซีย เคอนิจส์แบร์ก ถูกใช้ชื่อในภาษารัสเซียในชื่อ "Kyonigsberg" (Кёнигсберг) ก่อนถูกเปลี่ยนชื่อเป็นเมือง "คาลินินกราด" ในปี 1946 ซึ่งตั้งชื่อตามประมุขแห่งรัฐสหภาพโซเวียต มีฮาอิล คาลีนิน.
ดู อัศวินทิวทอนิกและเคอนิจส์แบร์ก
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Teutonic KnightTeutonic KnightsTeutonic Orderลัทธิอัศวินทิวทันลัทธิทิวโทนิคอัศวินทิวทอน