สารบัญ
23 ความสัมพันธ์: บัชชาร อัลอะซัดการพิจารณาซัดดัม ฮุสเซนการปฏิวัติตูนิเซียการปฏิวัติเยเมน พ.ศ. 2554–2555การแทรกแซงทางทหารในลิเบีย พ.ศ. 2554การโจมตีท่าอากาศยานนานาชาติจินนาห์ พ.ศ. 2557ยุทธการที่อัลฮุดัยดะฮ์วิกฤตการณ์ไครเมีย พ.ศ. 2557สภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติสงครามกลางเมืองลิเบียสงครามกลางเมืองอิรัก (พ.ศ. 2557–ปัจจุบัน)สงครามกลางเมืองซีเรียอับคาเซียอัลญะซีเราะฮ์ทรูวิชันส์ความขัดแย้งในสาธารณรัฐแอฟริกากลาง (พ.ศ. 2555–ปัจจุบัน)ตะวักกุล กัรมานซีเอ็นเอ็น อินเทอร์เนชันนัลปฏิบัติการเสาค้ำเมฆานโยบายพลังงานแห่งชาติปากีสถานแผ่นดินไหวในมณฑลยูนนาน พ.ศ. 2554เหตุระเบิดในอักซู พ.ศ. 2553เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012
บัชชาร อัลอะซัด
ัชชาร ฮาฟิซ อัลอะซัด (بشار حافظ الأسد; เกิด 11 กันยายน พ.ศ. 2508) เป็นประธานาธิบดีซีเรีย ผู้บัญชาการทหารกองทัพซีเรีย เลขาธิการพรรคบะอัษซึ่งเป็นพรรครัฐบาล และเลขาธิการภูมิภาคของสาขาพรรคในประเทศซีเรีย ในปี 2543 เขาสืบทอดตำแหน่งจากฮาฟิซ อัลอะซัด บิดา ผู้ปกครองประเทศซีเรียเป็นเวลา 30 ปีจนถึงแก่อสัญกรรม เขาได้รับความเห็นชอบจากเขตเลือกตั้งซีเรียสองครั้งในปี 2543 และ 2550 ในการลงประชามติโดยไร้คู่แข่ง เดิมประชาคมนานาชาติมองเขาว่าเป็นนักปฏิรูปมีศักยะ แต่สหรัฐ สหภาพยุโรปและส่วนใหญ่ของสันนิบาตอาหรับเรียกร้องให้เขาลาออกจากตำแหน่งประธานาธิบดีหลังข้อกล่าวหาเขาสั่งปราบปรามและการล้อมทางทหารต่อผู้ชุมนุมอาหรับสปริง จนนำสู่สงครามกลางเมืองซีเรีย During the Syrian Civil War, an inquiry by the United Nations reported finding evidence which implicated Assad in war crimes.
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและบัชชาร อัลอะซัด
การพิจารณาซัดดัม ฮุสเซน
ซัดดัม ฮุสเซนนั่งต่อหน้าผู้พิพากษาชาวอิรักที่สำนักงานศาลในกรุงแบกแดด วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 การพิจารณาซัดดัม ฮุสเซน เป็นการพิจารณาประธานาธิบดีอิรักที่ถูกขับจากตำแหน่ง ซัดดัม ฮุสเซน โดยรัฐบาลชั่วคราวอิรัก ด้วยข้อหาอาชญากรรมต่อมนุษยชาติระหว่างที่เขาดำรงตำแหน่ง คณะบริหารประเทศชั่วคราวออกเสียงจัดตั้งศาลพิเศษอิรัก ประกอบด้วยผู้พิพากษาห้าคน เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและการพิจารณาซัดดัม ฮุสเซน
การปฏิวัติตูนิเซีย
ผู้ประท้วงต่อต้านรัฐบาลตูนิเซียโบกธงชาติ เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2554 ซีน อัลอาบิดีน บิน อะลี การปฏิวัติตูนิเซีย หรือ การปฏิวัติซีดีบูซีด หรือ การปฏิวัติดอกมะลิ เป็นการรณรงค์การต่อต้านของพลเมือง (civil resistance) อย่างเข้มข้น รวมถึงชุดการเดินขบวนตามท้องถนนซึ่งเกิดขึ้นในประเทศตูนิเซีย เหตุการณ์ดังกล่าวเริ่มต้นในเดือนธันวาคม..
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและการปฏิวัติตูนิเซีย
การปฏิวัติเยเมน พ.ศ. 2554–2555
การก่อการกำเริบในเยเมน..
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและการปฏิวัติเยเมน พ.ศ. 2554–2555
การแทรกแซงทางทหารในลิเบีย พ.ศ. 2554
รือรบสหรัฐยิงขีปนาวุธโทมาฮอว์กทำลายเป้าหมายของกองกำลังฝ่ายนิยมกัดดาฟีในลิเบีย การแทรกแซงทางทหารในลิเบี..
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและการแทรกแซงทางทหารในลิเบีย พ.ศ. 2554
การโจมตีท่าอากาศยานนานาชาติจินนาห์ พ.ศ. 2557
วันที่ 8 มิถุนายน 2557 กองกำลังติดอาวุธอย่างน้อย 10 คน เข้าโจมตีท่าอากาศยานนานาชาติจินนาห์ ในการาจี ประเทศปากีสถาน มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 29 คน รวมถึงผู้ก่อการจำนวน 10 คน และอีกอย่างน้อย 18 คนได้รับบาดเจ็.
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและการโจมตีท่าอากาศยานนานาชาติจินนาห์ พ.ศ. 2557
ยุทธการที่อัลฮุดัยดะฮ์
ทธการที่อัลฮุดัยดะฮ์ (Battle of Al Hudaydah; معركة الحديدة) ชื่อรหัสว่า ปฏิบัติการชัยชนะสีทอง (Operation Golden Victory) เป็นการโจมตีร่วมกันครั้งสำคัญซึ่งมีซาอุดีอาระเบียเป็นผู้นำ เป็นการกระทำต่ออัลฮุดัยดะฮ์ นครท่าในเยเมน โดยมีหัวหอก คือ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และซาอุดีอาระเบีย นับเป็นยุทธการครั้งใหญ่ที่สุดนับแต่เกิดการแทรกแซงซึ่งนำโดยซาอุดีอาระเบียในเยเมนเมื่อ..
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและยุทธการที่อัลฮุดัยดะฮ์
วิกฤตการณ์ไครเมีย พ.ศ. 2557
วิกฤตการณ์ไครเมี..
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและวิกฤตการณ์ไครเมีย พ.ศ. 2557
สภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ
ในลิเบีย สภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ (National Transitional Council; المجلس الوطني الانتقالي) เป็นองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยกลุ่มผู้ก่อการกำเริบใน พ.ศ.
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ
สงครามกลางเมืองลิเบีย
งครามกลางเมืองลิเบี..
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและสงครามกลางเมืองลิเบีย
สงครามกลางเมืองอิรัก (พ.ศ. 2557–ปัจจุบัน)
งครามกลางเมืองอิรักเป็นการขัดกันด้วยอาวุธที่กำลังดำเนินอยู่ในตะวันออกกลาง ในปี 2557 การก่อการกำเริบอิรักบานปลายเป็นสงครามกลางเมืองด้วยรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์พิชิตฟัลลูจาห์ (Fallujah) และโมซูลและพื้นที่สำคัญในภาคเหนือของประเทศอิรัก ส่งผลให้นายกรัฐมนตรีนูรี อัล-มาลิกี (Nouri al-Maliki) ลาออก สหรัฐ อิหร่าน ซีเรียและประเทศอื่นอีกกว่าสิบสองประเทศโจมตีทางอากาศ ทหารอิหร่านเข้าร่วมรบภาคพื้นดิน และรัสเซียช่วยเหลือทางทหารต่ออิรัก.
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและสงครามกลางเมืองอิรัก (พ.ศ. 2557–ปัจจุบัน)
สงครามกลางเมืองซีเรีย
งครามกลางเมืองซีเรีย เป็นการขัดกันด้วยอาวุธหลายฝ่ายที่กำลังดำเนินอยู่ในประเทศซีเรีย โดยมีต่างชาติเข้าแทรกแซง ความไม่สงบเริ่มในต้นฤดูใบไม้ผลิปี 2554 ในบริบทการประท้วงอาหรับสปริง โดยมีการประท้วงทั่วประเทศต่อรัฐบาลประธานาธิบดีบัชชาร อัลอะซัด ซึ่งกำลังของเขาสนองโดยการปราบปรามอย่างรุนแรง ความขัดแย้งค่อย ๆ กลายจากการประท้วงของประชาชนเป็นการกบฏมีอาวุธหลังการล้อมทางทหารหลายเดือน รายงานสหประชาชาติฉบับหนึ่งในปลายปี 2555 อธิบายความขัดแย้งว่า "มีสภาพนิยมนิกาย (sectarian) อย่างเปิดเผย" ระหว่างกำลังรัฐบาล ทหารอาสาสมัครซึ่งส่วนใหญ่เป็นอะละวี (Alawite) และกลุ่มชีอะฮ์อื่น ต่อสู้กับกลุ่มกบฏซึ่งมีซุนนีครอบงำเป็นส่วนใหญ่ แม้ทั้งฝ่ายค้านและกำลังรัฐบาลต่างปฏิเสธ ทีแรกรัฐบาลซีเรียอาศัยกองทัพเป็นหลัก แต่ตั้งแต่ปี 2557 หน่วยป้องกันท้องถิ่นซึ่งประกอบจากอาสาสมัครที่เรียก กำลังป้องกันชาติ (National Defence Force) ได้มีบทบาทมากขึ้น ค่อย ๆ กลายเป็นกำลังทหารหลักของรัฐซีเรีย รัฐบาลซีเรียได้รับความช่วยเหลือทางเทคนิค การเงิน การทหารและการเมืองจากประเทศรัสเซีย อิหร่านและอิรักมาตั้งแต่ต้น ในปี 2556 ฮิซบุลลอฮ์ที่อิหร่านสนับสนุนเข้าร่วมสงครามโดยสนับสนุนกองทัพซีเรีย รัสเซียเข้าร่วมปฏิบัติการทางอากาศตั้งแต่เดือนกัยายน 2558 เนื่องจากการเกี่ยวพันของต่างชาติ ความขัดแย้งนี้จึงถูกเรียกว่าเป็น สงครามตัวแทน ระหว่างชาติซุนนีและชีอะฮ์ภูมิภาค ที่สำคัญที่สุดคือความขัดแย้งตัวแทนระหว่างซาอุดีอาระเบียและอิหร่าน ในเดือนกันยายน 2558 รัสเซีย อิรัก อิหร่านและซีเรียตั้งห้องปฏิบัติการร่วม (ศูนย์สารสนเทศ) ในกรุงแบกแดดเพื่อประสานงานกิจกรรมของพวกตนในประเทศซีเรีย วันที่ 30 กันยายน 2558 ประเทศรัสเซียเริ่มการทัพทางอากาศของตนโดยเข้ากับฝ่ายและด้วยคำขอของรัฐบาลซีเรีย จึงเกิดสงครามตัวแทนระหว่างสหรัฐและรัสเซีย ซึ่งนักวิจารณ์บางส่วนบรรยายสถานการณ์ว่าเป็น "ก่อนสงครามโลกโดยมีประเทศเกือบโหลพัวพันในสองความขัดแย้งที่ทับซ้อนกัน" ฝ่ายค้านมีอาวุธประกอบด้วยหลายกลุ่มซึ่งก่อตั้งในห้วงความขัดแย้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กองทัพซีเรียเสรี (FSA) ซึ่งเป็นผู้แรกที่หยิบอาวุธในปี 2554 และแนวร่วมอิสลามซึ่งก่อตั้งในปี 2556 ฝ่ายทางตะวันออก รัฐอิสลามอิรักและเลแวนต์ (ISIL) กลุ่มนักรบญิฮัดซึ่งกำเนิดในประเทศอิรัก ได้ชัยชนะทางทหารอย่างรวดเร็วทั้งในประเทศซีเรียและอิรัก จนลงเอยด้วยพิพาทกับกบฏอื่น ฝ่ายแนวร่วมนานาชาติที่มีสหรัฐเป็นผู้นำมีการสถาปนาขึ้นในปี 2557 โดยมีวัตถุประสงค์ที่ประกาศไว้ว่าเพื่อตอบโต้ ISIL และได้ดำเนินการโจมตีทางอากาศต่อ ISIL ในซีเรีย ตลอดจนเป้าหมายบะอัธซีเรียและให้การสนับสนุนต่อสหพันธรัฐประชาธิปไตยซีเรียเหนือ สหรัฐเลิกให้การสนับสนุนด้านอาวุธโดยตรงต่อ FSA ในปี 2560; ปลายปี 2560 อิทธิพลและดินแดนควบคุมของ ISIL เสื่อมลง จนซีเรียประกาศว่าประเทศได้รับการปลดปล่อยจาก ISIL แล้ว ด้านตุรกีมีความเกี่ยวข้องในสงครามตั้งแต่ปี 2559 และสนับสนุนฝ่ายค้านซีเรียอย่างแข็งขันและยึดพื้นที่ได้เป็นบริเวณกว้างทางภาคเหนือของประเทศซีเรีย องค์การระหว่างประเทศกล่าวหารัฐบาลซีเรีย ISIL และกำลังฝ่ายค้านอื่นว่าละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างรุนแรง โดยเกิดการสังหารหมู่หลายครั้ง ความขัดแย้งนี้ทำให้เกิดการย้ายประชากรอย่างสำคัญ ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2558 สหประชาชาติประกาศเริ่มการเจรจาสันติภาพซีเรียเจนีวาที่สหประชาชาติเป็นสื่อกลางอย่างเป็นทางการ โดยการสู้รบยังดำเนินไปโดยไม่มีทีท่าลดลง.
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและสงครามกลางเมืองซีเรีย
อับคาเซีย
อับฮาเซีย (Аҧсны, აფხაზეთი, Абха́зия) เป็นเขตการปกครองที่เกิดข้อโต้แย้งบนชายฝั่งตะวันออกของทะเลดำ ติดกับสหพันธรัฐรัสเซียทางเหนือ ติดกับบริเวณซาเมเกรโล-เซโม สวาเนตีของจอร์เจียทางตะวันออก เป็นที่ตั้งของสาธารณรัฐอับฮาเซีย ซึ่งเป็นสาธารณรัฐเอกราชโดยพฤตินัยแต่ไม่ได้รับการรับรองจากนานาชาติ อยู่ภายในแนวชายแดนของจอร์เจีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีอยู่เพียงไม่กี่ประเทศเท่านั้นที่ให้การรับรอง ได้แก่ รัสเซีย เวเนซุเอลา นิการากัว นาอูรู โอเซเทียใต้ และทรานส์นิสเทรีย (สองประเทศหลังนี้ ประเทศส่วนใหญ่ก็ไม่ได้ให้การรับรองเช่นกัน) รัฐบาลจอร์เจียถือว่าอับฮาเซียอยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของตน โดยมีสถานะเป็นสาธารณรัฐปกครองตนเอง (აფხაზეთის ავტონომიური რესპუბლიკა, Аҧснытәи Автономтәи Республика) ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมกันในประเทศอดีตสหภาพโซเวียต เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม..
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและอับคาเซีย
อัลญะซีเราะฮ์
อัลญะซีเราะฮ์ (قناة الجزيرة) หรือ แอลจะเซียรา (Al Jazeera) แปลว่า "คาบสมุทร" หมายถึง "คาบสมุทรอาหรับ" มาจาก شبه الجزيرة العربية šibh al-ğazīra al-‘arabīya, คาบสมุทรอาหรับ, เรียกอย่างย่อว่า الجزيرة العربية al-ğazīra al-‘arabīya, แปลว่า เกาะอาหรับ, شبه šibh แปลว่า "ราวกับ") เป็นสำนักข่าวอาหรับตั้งอยู่ ณ กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ ก่อตั้งเมื่อเดือนเมษายน ปี พ.ศ.
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและอัลญะซีเราะฮ์
ทรูวิชันส์
ทรูวิชั่นส์ (TrueVisions) หรือเป็นที่รู้จักทั่วไปในชื่อเดิมว่า ยูบีซี (UBC) เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก บริหารงานโดย บริษัท ทรูวิชั่นส์ จำกัด (มหาชน) ในเครือบริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน) มีคำขวัญว่า ทรูวิชั่นส์ มองโลกได้ล้ำกว่า สำนักงานตั้งอยู่ที่อาคารทิปโก้ ถนนพระรามที่ 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันมีสุภกิต เจียรวนนท์ เป็นประธานคณะกรรมการบริษัท/กรรมการบริหาร และ อาณัติ เมฆไพบูลย์วัฒนา เป็นกรรมการผู้จัดการ.
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและทรูวิชันส์
ความขัดแย้งในสาธารณรัฐแอฟริกากลาง (พ.ศ. 2555–ปัจจุบัน)
วามขัดแย้งในสาธารณรัฐแอฟริกากลาง เริ่มขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2555 ระหว่างรัฐบาลสาธารณรัฐแอฟริกากลางกับกบฏซึ่งหลายคนเคยมีส่วนเกี่ยวข้องในสงครามกลางเมืองสาธารณรัฐแอฟริกากลาง กลุ่มกบฏกล่าวหารัฐบาลประธานาธิบดีฟร็องซัว บอซีเซว่าไม่สามารถปฏิบัติตามความตกลงสันติภาพที่ลงนามตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและความขัดแย้งในสาธารณรัฐแอฟริกากลาง (พ.ศ. 2555–ปัจจุบัน)
ตะวักกุล กัรมาน
ตะวักกุล อับดุสซะลาม กัรมาน (توكل عبد السلام كرمان, เกิด ค.ศ. 1979) เป็นนักการเมืองเยเมนผู้เป็นสมาชิกอาวุโสของพรรคฝ่ายค้าน อัลอีศลาห์ (Al-Īṣlāḥ) และนักเคลื่อนไหวสิทธิมนุษยชนผู้นำกลุ่มสื่อมวลชนสตรีปราศจากโซ่ตรวนแห่งเยเมน (Women Journalists without Chains) ซึ่งเธอก่อตั้งขึ้นใน..
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและตะวักกุล กัรมาน
ซีเอ็นเอ็น อินเทอร์เนชันนัล
ซีเอ็นเอ็น อินเทอร์เนชั่นนัล (CNN International; ชื่อย่อ: CNNI) เป็นช่องโทรทัศน์ที่ออกอากาศเกี่ยวกับข่าวต่างๆ และข้อมูลทางด้านธุรกิจทั่วโลก เป็นภาษาอังกฤษ บริหารงานโดยไทม์ วอร์เนอร์ และโทนี แมดดอกซ์ เป็นผู้บริหารสูงสุด มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสอง รองจาก BBC World News โดยใช้ข้อมูลส่วนมากจากซีเอ็นเอ็น ที่ออกอากาศในสหรัฐอเมริกา และแคนาดา ทั้งนี้ ช่องรายการของซีเอ็นเอ็นไอ สามารถรับชมได้ในประเทศไทย ทางทรูวิชั่นส์ ในระบบความคมชัดสูงที่ช่อง 172 และ 778 ทั้งในระบบดิจิตอลเคเบิลใยแก้วและดิจิตอลจานดาวเทียม และในประเทศต่างๆ ทั่วโลก ผ่านจานรับสัญญาณดาวเทียม และเคเบิลทีวี ซึ่งสามารถรับชมได้ถึง 200,000,000 ครัวเรือน ตลอดจนโรงแรมต่างๆ อีกกว่า 200 ประเทศ ผู้ชมส่วนมากสามารถรับชมได้โดยไม่เสียค่าบริการ อย่างไรก็ตาม สถานีโทรทัศน์ระบบบอกรับสมาชิกที่มีค่าบริการ (เพย์ทีวี) บางบริษัท ได้ให้บริการช่องรายการนี้ด้ว.
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและซีเอ็นเอ็น อินเทอร์เนชันนัล
ปฏิบัติการเสาค้ำเมฆา
ปฏิบัติการเสาค้ำเมฆา (עַמּוּד עָנָן) เป็นปฏิบัติการของกองกำลังป้องกันอิสราเอลในฉนวนกาซาระหว่างวันที่ 14 ถึง 21 พฤศจิกายน..
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและปฏิบัติการเสาค้ำเมฆา
นโยบายพลังงานแห่งชาติปากีสถาน
นโยบายพลังงานแห่งชาติปากีสถานได้รับการประกาศเมื่อวันที่ 22 เมษายน..
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและนโยบายพลังงานแห่งชาติปากีสถาน
แผ่นดินไหวในมณฑลยูนนาน พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวในมณฑลยูนนาน..
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและแผ่นดินไหวในมณฑลยูนนาน พ.ศ. 2554
เหตุระเบิดในอักซู พ.ศ. 2553
หตุระเบิดในอักซู..
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและเหตุระเบิดในอักซู พ.ศ. 2553
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012
อเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012 เป็นการแข่งขันฟุตบอลในถ้วยสูงสุดของสโมสรในเอเชียโดยมีสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี)เป็นผู้ควบคุมการแข่งขัน, และนับเป็นครั้งที่ 10 ผ่านใต้ชื่อ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก สโมสรที่ชนะเลิศมีสิทธิ์เข้าร่วม ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2012.
ดู อัลญะซีเราะฮ์อิงกลิชและเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Al Jazeera EnglishAl-Jazeeraอัล จาซีราอัลญาซีรา อิงลิชอัลญาซีราอิงลิชอัลจาซีราอัลจาซีราอินเตอร์เนชั่นแนล