เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

อันดับกะเพรา

ดัชนี อันดับกะเพรา

อันดับกะเพรา หรือ Lamiales เป็นอันดับของพืชมีดอก มีสมาชิกประมาณ 11,000 สปีชีส์ แบ่งเป็น 20 วงศ์ สมาชิกที่สำคัญของอันดับนี้เช่น มะกอกออลิฟ มะลิ สัก ลิ้นมังกร สะระแหน่ และโหระพา เป็นต้น.

สารบัญ

  1. 162 ความสัมพันธ์: ชมพูพันธุ์ทิพย์ชมพูฮาวายชมพูเชียงดาวชิโซะบุหงาส่าหรีชีอาช้องนางช้องแมวช้าแป้นช้าเลือดฟ้าทะลายโจร (พืช)พญายอพรมมิพรมออสเตรเลียพวงครามพวงแสดพอโลเนียพันงูเขียวพิมเสน (พืช)พืชกินสัตว์พืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงคู่แท้พุทธชาดก้านแดงกระเทียมเถากรดน้ำกะเพรากะเพราควายกัญชาเทศกาญจนิการ์มะกอกออลิฟมะกอกโคกมะลิมะลิภูหลวงมะลิลามะลิสยามมะลินกมะลิไส้ไก่มังกรคาบแก้วมันขี้หนูมินต์ (พืช)มินต์ออสเตรเลียมินต์ป่ามินต์น้ำมินต์เอเชียมธุลดามณเฑียรระนองมณเฑียรไทยม่วงมณีรัตน์ย่าหยา (พืช)ระงับ... ขยายดัชนี (112 มากกว่า) »

ชมพูพันธุ์ทิพย์

มพูพันธุ์ทิพย์ (Pink trumpet tree) เป็นพืชในวงศ์แคหางค่าง (Bignoniaceae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้ เป็นต้นไม้ประจำชาติเอลซัลวาดอร์ หม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตรเป็นผู้นำเข้ามาปลูกในประเทศไทย เมื่อ..

ดู อันดับกะเพราและชมพูพันธุ์ทิพย์

ชมพูฮาวาย

มพูฮาวาย หรือ แฮปปี้เนส (Zimbabwe creeper, Pink Trumpet Vine, Trumpet Vine) เป็นไม้กึ่งพุ่มกึ่งเลื้อย กำเนิดที่ประเทศแอฟริกาใต้ ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ดหรือปักชำกิ่ง ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียวปลายคี่ เรียงตัวแบบตรงข้าม ขอบใบแบบจักฟันเลื่อยช่อดอกแบบช่อกระจุก สมบูรณ์เพศ สมมาตรด้านข้าง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เชื่อมติดกันปลายแยกเป็นแฉก กลีบดอก 5 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง สีชมพู ปลายกลีบแยกเป็นรูปปากเปิด ส่วนที่อยู่ด้านบนมี 2 กลีบ เกสรเพศผู้มี 4 อัน เป็นแบบ 2 คู่ยาวไม่เท่ากัน เกสรเพศเมีย 1 อัน ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น 2 แฉก รังไข่เหนือวงกลีบ ออกดอกตลอดปี ดอกมีกลิ่นหอมตลอดวัน หอมมากช่วงเย็นถึงค่ำ ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำโดยใช้กิ่งอ่อน ^^.

ดู อันดับกะเพราและชมพูฮาวาย

ชมพูเชียงดาว

มพูเชียงดาว เป็นพืชเฉพาะถิ่นที่พบทางภาคเหนือของประเทศไทย อยู่ในวงศ์ดอกดิน (Orobanchaceae) ลักษณะเป็นไม้ล้มลุกสูง 40-60 เซนติเมตร ลำต้นมีขน ใบเรียงเป็นวง 3-4 ใบ รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 1.5-4.5 เซนติเมตร ใบจักลึกแบบขนนก ขอบจักซี่ฟัน มีประมาณ 5-12 คู่ ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะ ยาวได้ถึง 40 เซนติเมตร หลอดกลีบเลี้ยงยาว 0.8-1 เซนติเมตร เป็นสันตื้น ๆ ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร ดอกสีชมพูถึงม่วงเข้ม หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 2 เซนติเมตร กลีบปากบนรูปหมวกงุ้มเข้า ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร กลีบปากล่างบานออกมี 3 กลีบ ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร กลีบกลางกลม ยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร กลีบข้างรูปรี ยาวประมาณ 6 มิลลิเมตร เกสรเพศผู้เกลี้ยง โคนอับเรณูแหลม ผลรูปไข่ ยาว 0.8-1.2 เซนติเมตร ปลายมีติ่งแหลม ภายในมีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก.

ดู อันดับกะเพราและชมพูเชียงดาว

ชิโซะ

ซะ เป็นพืชชนิดหนึ่งมีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่า Perilla frutescens var.

ดู อันดับกะเพราและชิโซะ

บุหงาส่าหรี

หงาส่าหรี หรือ บุหงาบาหลี (Chinese Rose) เป็นไม้ต้นขนาดเล็กอยู่ในวงศ์ Verbenaceae สูง 3-10 เมตร ทรงพุ่มโปร่ง แตกกิ่งก้านจำนวนมาก ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก กว้าง 6-8 ซม.

ดู อันดับกะเพราและบุหงาส่าหรี

ชีอา

มล็ดชีอา เครื่องดื่มทำจากชีอาในเม็กซิโก ชีอา (chia) หรือ ชิอา (chía) เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae พบในเม็กซิโกและกัวเตมาลา เมล็ดมีน้ำมันใช้สกัดน้ำมัน น้ำมันในเมล็ดมีโอเมกา 3 สูง ช่วยลดคอเลสเทอรอลและไตรกลีเซอไรด์ได้.

ดู อันดับกะเพราและชีอา

ช้องนาง

้องนางเป็นพืชล้มลุกหลายฤดูและเป็นพืชท้องถิ่นในแอฟริกาตะวันตกและเอเชีย ทรงพุ่มสูงประมาณ 2.5 เมตร กลีบดอกสีม่วงหรือฟ้าเข้ม ส่วนที่ติดกันเป็นหลอดมีเหลือง หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:พรรณไม้ในวรรณคดี หมวดหมู่:วงศ์เหงือกปลาหมอ ช้องนาง เป็นไม้พุ่มเล็ก แตกกิ่งก้านมาก สูงประมาณ 6 ฟุต ใบคล้ายใบแก้ว ใบมนปลายแหลมยาวประมาณ 3 นิ้ว ออกเป็นคู่ ๆ ตามกิ่ง ดอกเป็นรูปแตร ปลายดอกผายออกเป็น 5 แฉก ในดอกตรงกลางมีตาสีเหลือง ดอกสีม่วง และยังมีชนิดดอกสีขาวเรียกว่าช้องนางขาว ดอกยาวประมาณ 2 นิ้ว ช้องนางมีถิ่นกำเนิดอยู่ในแอฟริกา ในเมืองไทยมีหลายชนิด เช่น T.affinis S.

ดู อันดับกะเพราและช้องนาง

ช้องแมว

้องแมว (Wild sage) เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ใบเป็นชนิดใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกันกับคู่ มีลักษณะเป็นรูปไข่ ยาวประมาณ 4-5 เซนติเมตร ปลายใบมน ดอกมีสีเหลืองออกเป็นช่อตามกิ่งข้าง โดยออกจากซอกของใบประดับซึ่งเรียงซ้อนกัน และดอกจะห้อยลงกลับหัว ตัวใบประดับมีสีเขียวอมเหลืองมีสีแดงประอยู่เป็นจุด ที่โคนกลีบติดกันเป็นรูปหลอด กลีบดอกแยกกันที่ปลายของหลอดดอก ช้องแมวจะออกดอกในช่วง เดือนมีนาคม-พฤษภาคม การขยายพันธุ์ใช้วิธีปักชำ ตอน.

ดู อันดับกะเพราและช้องแมว

ช้าแป้น

้าแป้น หรือ ผ้าลาย หูควายใหญ่ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Verbenaceae ลำต้นสีเทาอมเขียวอ่อน ยอดกิ่งอ่อนเป็นสีน้ำตาลอมเขียว ใบเดี่ยว ใบสีเขียวเหลือบเป็นมัน หลังใบมีขนสั้นนุ่ม ดอกช่อ โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 4 กลีบ สีชมพูอมม่วง ช่อดอกเป็นทรงครึ่งวงกลม บานพร้อมกันทุกดอกในช่อ ผลเดี่ยว กลม ผลอ่อนสีเขียว แก่แล้วเป็นสีดำ เมล็ดมีอันเดียว เปลือกต้มน้ำดื่ม และนั่งแช่ ช่วยบรรเทาอาการอัมพฤกษ์เบื้องต้น.

ดู อันดับกะเพราและช้าแป้น

ช้าเลือด

้าเลือด เป็นไม้พุ่มกึ่งเลื้อยในวงศ์ Verbenaceae ลำต้นขาวอมเทา ผิวเรียบ ลำต้นอ่อนสีน้ำตาล มีจุดสีขาวเล็กน้อย ใบเดี่ยว เหนียว ไม่ลื่นมือ ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาวอมเขียว ผลเดี่ยวกลมเมื่ออ่อนสีเขียว สุกมีสีดำ มีเมล็ดแข็งเพียงอันเดียว ผิวเรียบเป็นมัน ใบใช้ห้ามเลือ.

ดู อันดับกะเพราและช้าเลือด

ฟ้าทะลายโจร (พืช)

ฟ้าทะลายโจร ((Burm.f.) Wall ex Nees.) เป็นพืชล้มลุกฤดูเดียว ในตระกูล Acanthaceae มีถิ่นกำเนิดในอินเดียและศรีลังกา โดยในตำรายาโบราณของไทย จัดให้เป็นสมุนไพรพื้นบ้านที่สามารถหามารับประทานแก้โรคได้เอง สูงประมาณ 30-70 ซม.

ดู อันดับกะเพราและฟ้าทะลายโจร (พืช)

พญายอ

ญายอ หรือ เสลดพังพอนตัวเมีย มีชื่อท้องถิ่นหรือชื่ออื่นอีก คือ: ผักมันไก่ ผักลิ้นเขียด (เชียงใหม่) พญาปล้องดำ (ลำปาง) พญาปล้องทอง (ภาคกลาง) ลิ้นมังกร โพะโซ่จาง (กะเหรี่ยง)และ พญายอ (แม่ฮ่องสอน) เสลดพังพอนมีชื่อพ้องกัน คือ เสลดพังพอนตัวผู้ และเสลดพังพอนตัวเมีย แต่ต่างกันที่เสลดพังพอนตัวผู้มีหนาม สรรพคุณอ่อนกว่าเสลดพังพอนตัวเมีย เพื่อไม่ให้สับสนจึงเรียกเสลดพังพอนตัวเมียว่า "พญายอ" ส่วนมากนำมาทำเป็นยาสมุนไพรไทยจัดอยู่ในกลุ่มพืชถอนพิษ.

ดู อันดับกะเพราและพญายอ

พรมมิ

รมมิ (Indian pennywort, brahmi) เป็นพืชอายุหลายปี อยู่ในวงศ์เทียนเกล็ดหอย (Plantaginaceae) พบขึ้นตามริมน้ำและที่ชื้นแฉะทั่วไป.

ดู อันดับกะเพราและพรมมิ

พรมออสเตรเลีย

รมออสเตรเลีย (Nerve plant) เป็นไม้ล้มลุก แบบไม้คลุมดินในวงศ์เหงือกปลาหมอ ต้นสูงประมาณ 10 - 15 ซม.

ดู อันดับกะเพราและพรมออสเตรเลีย

พวงคราม

วงคราม L.เป็นไม้เลื้อยที่มีเถาใหญ่แข็งแรง กิ่งก้านก็ค่อนข้างแข็ง เถาอ่อนก็มีขนแต่เมื่อเถาแก่ขนก็จะหายไปเปลือกของต้นหรือเถาเป็นสีขาวหรือสีน้ำตาลอ่อนเถา สามารถเลื้อยคลุมต้นไม้อื่นไปได้ไกลมากกว่า 20 ฟุต ใบเดี่ยว เรียงตรงช้าม รูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 5-7 เซนติเมตร ยาว 8-11 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบสอบ แผ่นใบค่อนข้างหนาแข็ง ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีจางกว่าและเป็นขุย ออกดอกตลอดปี จะมากช่วงหน้าแล้ง ดอกเป็นช่อสีม่วงคราม มี 5 กลีบ คล้ายรูปดาว 5 แฉก กลีบรูปขอบขนาน ด้านบนของกลีบจะมีขน โคนกลีบดอกเชื่อมต่อกันเป็นหลอด ภายในดอกมีเกสรตัวอยู่ 4-5 อัน มีก้านร่วมกับเกสรตัวเมีย ปลายเกสรตัวเมียมี 3 แฉก พวงครามมักจะออกดอกและบานพร้อมกันเต็มช่อ ดอกค่อนข้างดกและจะบานทนนานได้หลายวันมาก ผลสด ติดอยู่บนกลีบประดับ มีขนนุ่มปกคลุม มี 1 เมล็ด ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด การตอน และการปักชำกิ่ง.

ดู อันดับกะเพราและพวงคราม

พวงแสด

วงแสด เป็นพืชในวงศ์ Bignoniaceae มีชื่อสามัญอื่น ๆ คือ Orange trumpet, Flame flower, Fire-cracker vine พวงแสด พวงแสดเครือ.

ดู อันดับกะเพราและพวงแสด

พอโลเนีย

อโลเนีย (Paulownia) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางสูง 10-20 เมตร ผลัดใบ มีอัตราการเจริญเติบโตเร็วมาก ต้นอ่อนมีเปลือกสีเขียว มีปุ่มหรือรอยแผลใบทั่วลำต้น ต้นแก่ (อายุมากกว่า 5 ปี) เปลือกเป็นสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่อง เปลือกบางฉีกขาดง่ายไม่ทนไฟ ทำให้ต้นไม้ตายได้ถ้าถูกไฟไหม้ มีรากแก้วตรงและยาวได้ถึง 40 ฟุต รากแขนงและรากฝอยจะอยู่ต่ำกว่าผิวดินประมาณ 4 ฟุต เป็นพืชใบเดี่ยว ใบมีลักษณะเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปหัวใจ มีขนนุ่ม สีเขียวอ่อนด้านหลังใบ ก้านท้องใบไม่มีขน มีเส้นกลางใบและเส้นแขนงใบชัดเจน ใบมีขนาดโตเต็มที่กว้างได้ถึง 36 นิ้ว ก้านใบยาว ดอกออกเป็นช่อ ขนาดใหญ่ ที่ปลายกิ่งมีสีม่วง ดอกตูมเป็นกระเปาะสีน้ำตาล เป็นดอกสมบูรณ.

ดู อันดับกะเพราและพอโลเนีย

พันงูเขียว

ันงูเขียว หรือในภาษามลายูเรียกบังกามาลัม อยู่ในวงศ์ Verbenaceae ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย นำทั้งต้นมาบดกับน้ำใช้รักษาอาการปวดและอัก.

ดู อันดับกะเพราและพันงูเขียว

พิมเสน (พืช)

น้ำมันพิมเสน (''Pogostemon cablin'') พิมเสน (patchouli, patchouly, pachouli) เป็นพืชในวงศ์กะเพรา (Lamiaceae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชีย เป็นไม้พุ่มสูง 50-100 เซนติเมตร ลำต้นตรงมีขนปกคลุมและมีกลิ่นหอม ใบเป็นใบเดี่ยวรูปไข่หรือรูปไข่กว้าง ออกตรงกันข้าม ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบแหลมหรือสอบ ขอบใบจักเป็นซี่ฟันแกมจักมน มีขนปกคลุมทั้งด้านบนและด้านล่าง ดอกขนาดเล็กสีม่วงขาว ออกเป็นช่อตามซอกใบและที่ยอด กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 กลีบ กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นปาก ปากบนมี 3 หยัก ปากล่างเรียบ เกสรตัวผู้มี 4 อัน ก้านเกสรตัวเมียแยกเป็นแฉกสั้น ๆ 2 แฉก ผลรูปรีแข็ง มีขนาดเล็ก ผิวเรียบ เมื่อกลั่นพิมเสนด้วยไอน้ำ จะได้น้ำมันพิมเสน (patchouli oil) ซึ่งมีสารสำคัญคือ แพทชูลอล (patchoulol) และนอร์แพทชูเลนอล (norpatchoulenol) ใช้ในงานสุคนธบำบัด เป็นส่วนผสมในน้ำหอม สารระงับกลิ่นกายและยาไล่แมลง ใบของพิมเสนมีสรรพคุณแก้ปวดประจำเดือน แก้ปวดศีรษะ ลดไข้.

ดู อันดับกะเพราและพิมเสน (พืช)

พืชกินสัตว์

''Nepenthes mirabilis'' ที่ขึ้นอยู่ริมถนน พืชกินสัตว์ (carnivorous plant) คือ พืชที่ได้สารอาหารบางส่วนหรือส่วนใหญ่ (แต่ไม่รวมถึงพลังงาน) จากการดักและบริโภคสัตว์หรือสัตว์เซลล์เดียวซึ่งปรกติได้แก่แมลงและสัตว์ขาปล้องเหล่าอื่น ๆ โดยเป็นผลจากการปรับตัวให้อยู่รอดในดินที่มีสารอาหารน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งไนโตรเจน เช่น ดินที่มีสภาพเป็นกรด หิน ฯลฯ ศาสตรนิพนธ์อันเลื่องชื่อฉบับแรกซึ่งว่าด้วยพืชชนิดนี้นั้นเป็นผลงานของชาลส์ ดาร์วิน เมื่อปี..

ดู อันดับกะเพราและพืชกินสัตว์

พืชใบเลี้ยงคู่

ืชใบเลี้ยงคู่ ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Magnoliopsida หรือ Dicotyledons กลุ่มของพืชกลุ่มหนึ่งมีเมล็ดที่ประกอบด้วยใบเลี้ยงคู่ ซึ่งเป็นชั้นทางชีววิทยา ต่อจากส่วนทางชีววิทยา ของพืชดอก (Magnoliophyta) ชื่อวิทยาศาสตร์ของ พืชใบเลี้ยงคู่ ได้มีระบบการจัดชั้นแบบใหม่ขึ้นมา ในขณะที่ระบบเก่า ระบบ Cronquist ยังคงเป็นที่นิยมอยู่ ในระบบใหม่ ระบบ Angiosperm Phylogeny Group ได้มีการจัดชั้นดังแสดง.

ดู อันดับกะเพราและพืชใบเลี้ยงคู่

พืชใบเลี้ยงคู่แท้

ืชใบเลี้ยงคู่แท้ หรือ Eudicots, Eudicotidae หรือ Eudicotyledons เป็นกลุ่มทางไฟโลเจนเติกของพืชมีดอก บางครั้งเรียกว่าพืชใบเลี้ยงคู่ที่ไม่ใช่แมกโนลิด คำนี้กำหนดขึ้นครั้งแรกเมื่อ..

ดู อันดับกะเพราและพืชใบเลี้ยงคู่แท้

พุทธชาดก้านแดง

ทธชาดก้านแดง (var. grandiforum) หรือมะลิฝรั่ง เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ดอกหอม ออกดอกตลอดปีเมื่อสกัดด้วยน้ำให้ได้ความเข้มข้น 3.12 – 100 mg/ml สารสกัดจากใบยับยั้งต่อการเจริญเติบโตของหญ้าข้าวนกและโสน.

ดู อันดับกะเพราและพุทธชาดก้านแดง

กระเทียมเถา

กระเทียมเถา (Garlic vine) เป็นไม้เถาเลื้อยเนื้อแข็ง ขนาดกลาง มีลำต้นเป็นเถาใหญ่ แข็งแรง สามารถเลื้อยไปได้ไกลมากกว่า 10 เมตร กลิ่นของดอกและใบ จะมีกลิ่นเหมือนกระเทียม และรูปทรงเถา จึงเป็นที่มาของชื่อ เถาอ่อนและส่วนยอดจะเป็นสีเขียว ส่วนเถาแก่จะเป็นสีน้ำตาล มีใบประเภทใบประกอบ มีใบย่อย 1 คู่ ออกตรงข้ามกันตามข้อต้น เป็นไม้ใบบางแต่แข็งกระด้าง รูป ใบรีหรือมน หรือใบรูปไข่ขอบใบเรียบปลายใบและโคนใบแหลมก้านใบสั้นมีมือเกาะอยู่ระหว่างใบ ย่อยแต่ละคู่ในขณะที่ใบยังอ่อน ใบจะมีกลิ่นคล้ายกับกลิ่นกระเทียม ออกดอกเป็นช่อตามข้อต้น หรือตามโคนกาบใบ ช่อหนึ่งจะมีประมาณ 10-20 ดอก ดอกสีม่วงอ่อน ตรงปากดอกหรือกลางดอกสีค่อนข้างขาวมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ โคนกลีบเชื่อมติดกันเล็กน้อย ลักษณะดอก จะเป็นรูปกรวยปากบาน หรือรูปแตร มีกลีบดอกแยกออกเป็น 5 กลีบ เมื่อดอกบานใหม่ ๆ จะเป็นสีขาว แล้วจะกลายเป็นสีชมพูและสีม่วง เมื่อแก่จัด มีเกสรตัวผู้ภายในดอก 4 อัน สั้น 2 อัน และยาวอีก 2 อัน ในช่วงที่ออกดอก กระเทียมเถาจะทิ้งใบหมด หมวดหมู่:วงศ์แคหางค่าง หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:ไม้เลื้อยเนื้อแข็ง.

ดู อันดับกะเพราและกระเทียมเถา

กรดน้ำ

กรดน้ำ (goatweed, scoparia-weed) หรือ หญ้าปีกแมลงวัน เป็นพืชในวงศ์เทียนเกล็ดหอย (Plantaginaceae) พบได้ทั่วไปตามริมน้ำหรือที่ชื้นแฉ.

ดู อันดับกะเพราและกรดน้ำ

กะเพรา

กะเพรา เป็นไม้ล้มลุก แตกกิ่งก้านสาขา สูง 30-60 เซนติเมตร นิยมนำใบมาประกอบอาหารคือ ผัดกะเพรา กะเพรามี 3 พันธุ์ คือ กะเพราแดง กะเพราขาว และ กะเพราลูกผสมระหว่างกะเพราแดงและกะเพราขาว.

ดู อันดับกะเพราและกะเพรา

กะเพราควาย

ำหรับยี่หร่า ที่เป็นเครื่องเทศไทยอีสาน ดูที่ผักชีล้อม ใบยี่หร่า หรือกะเพราควาย หรือ โหระพาช้าง (Tree Basil)(ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum gratissimum)เป็นพืชในวงศ์กะเพรา ชื่อในภาษาอังกฤษคือ Tree Basil มีแหล่งกำเนิดในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรียกตามถิ่นว่า Indian Tree Basil สำหรับสายพันธุ์อินเดีย และ South-East Asian Tree Basil สำหรับสายพันธุ์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กลิ่นหอมฉุนจัด นิยมใช้มากในอาหารไทยปักษ์ใต้ ทางภาคใต้เรียกใบราใส่ในแกง เช่น แกงพริกปลาดุก.

ดู อันดับกะเพราและกะเพราควาย

กัญชาเทศ

กัญชาเทศ เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae พบตั้งแต่ไซบีเรียจนถึงจีน เป็นพืชปลูกในสหรัฐ ในไทยพบตามหมู่บ้านชาวเขา ใบทรงคล้ายใบกัญชา ออกดอกตามซอก ทุกส่วนของต้นมีกลิ่นหอมแรง มีสารลีโอนูรีน ทำให้เซื่องซึมเพ้อฝัน คล้ายถูกสะกดจิต มีฤทธิ์เป็นยาสมุนไพร ตำรับยาพื้นบ้านใช้รักษามาลาเรีย ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของกัญชาเท.

ดู อันดับกะเพราและกัญชาเทศ

กาญจนิการ์

กาญจนิการ์ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Bignoniaceae ไม่ผลัดใบ ดอกช่อ มีดอกย่อยสีขาวจำนวนมาก โคนกลีบดอกเป็นหลอดเรียวยาว ขอบกลีบหยักเว้าและย่น ผลเป็นฝักรูปทรงกระบอก แห้งแล้วแตก เมล็ดแบนและมีปีกบาง ๆ ออกดอกเดือนธันวาคมถึงกุมภาพันธ์ และยังเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดกาญจนบุรี ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ Paget ผู้เก็บตัวอย่างครั้งแรกจากกรุงเทพมหานครเมื่อ..

ดู อันดับกะเพราและกาญจนิการ์

มะกอกออลิฟ

ผลมะกอกสีดำ ต้นมะกอกโบราณในกรีซ การเก็บเกี่ยวมะกอกในคริสต์ศตวรรษที่ 14 มะกอกออลิฟ (olive) เป็นมะกอกชนิดที่นำมาทำน้ำมันมะกอก เป็นพืชท้องถิ่นในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นไม้ยืนต้น ลำต้นออกสีเทาออกขาวนวล ต้นโค้งงอ ดอกสีขาวครีมขนาดเล็ก กลิ่นหอม ผลเล็กเท่านิ้วหัวแม่มือ ผลดิบสีเขียว ผลสุกเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดงหรือสีม่วง.

ดู อันดับกะเพราและมะกอกออลิฟ

มะกอกโคก

มะกอกโคก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Shrebera swieteniodes) มีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น โยนีปีศาจ หีผี มะกอกดอน สำโรง มะกักป่า มะกอกเผือก เป็นต้น มะกอกโคก เป็นไม้ยืนต้น ผลัดใบ สูงประมาณ 10 – 15 เมตร เป็นพืชถิ่นเดียว พบตามภูเขาไฟเก่า เช่นแถบเขากระโดง เขาอังคาร เขาพนมรุ้งซึ่งเคยเป็นภูเขาไฟที่ดับสนิทนานแล้ว ใบ ประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ปลายคี่ เรียงตรงข้าม ช่อใบยาว ใบย่อย 2 – 3 คู่ เรียงตรงข้ามรูปไข่ รูปใบหอก หรือรูปขอบขนาน แกมรูปรี ปลายแหลม โคนสอบเรียวปลายแคบไปตามก้าน ขอบเรียบ ด้านบนเกลี้ยงหรือมีขนประปราย ด้านล่างมีขนนุ่ม ดอก ดอกเล็กออกเป็นช่อกระจะที่ปลายกิ่ง ผลของมะกอกโคกเป็นรูปไข่กลับ เปลือกแข็ง แตกเป็นสองซีกเมื่อแห้ง เมล็ดมีปีก ผลที่แก่จัดจะแตกเป็น 2 ซีก มองเห็นเมล็ดข้างในได้ตามชื่อที่เรียกกัน หากนำไปกดบนดินทราย จะยิ่งดูแปลกคล้ายอวัยวะเพศหญิงมาก.

ดู อันดับกะเพราและมะกอกโคก

มะลิ

มะลิ เป็นไม้พุ่มหรือไม้เถาในวงศ์มะลิ มีประมาณ 200 ชนิด มีถิ่นกำเนิดในพื้นที่เขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในแถบทวีปยุโรป เอเชีย และแอฟริกา ลักษณะดอกและกลิ่นมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละชนิดหรือพัน.

ดู อันดับกะเพราและมะลิ

มะลิภูหลวง

มะลิภูหลวง เป็นไม้พุ่มรอเลื้อยในวงศ์มะลิ ใบเดี่ยวรูปไข่หรือรูปรี ดอกช่อออกที่ปลายยอด ดอกย่อยมีตั้งแต่ 10 ดอกขึ้นไป กลีบดอกเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 7 กลีบ กลิ่นหอมแรง ออกดอกเดือนกันยายน–พฤศจิกายน กระจายพันธุ์ในป่าดิบเขาในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง จังหวัดเลย พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ ที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จังหวัดนครนายก.

ดู อันดับกะเพราและมะลิภูหลวง

มะลิลา

มะลิลา หรือ มะลิซ้อน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Jasminum sambac) เป็นไม้พุ่มกึ่งเลื้อย สูง 15-25 ซม. ใบออกตรงข้าม รูปไข่กว้าง 3.5 - 4.5 ซม. ยาว 4-7 ซม.

ดู อันดับกะเพราและมะลิลา

มะลิสยาม

มะลิสยามหรือมะลิเมาหรือเสี้ยวดิน เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Oleaceae ออกดอกที่ปลายยอด มี 1-3 ดอก กลิ่นหอมแรง ผลกลม สุกแล้วเป็นสีแดง เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย กระจายพันธุ์ตามเขาหินปูนและป่าผลัดใบในภาคกลางและภาคตะวันตก พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 2 กุมภาพัน..

ดู อันดับกะเพราและมะลิสยาม

มะลินก

มะลินกหรือเขี้ยวงู ไส้ไก่ต้น มะลิฟ้า แส้วน้อย subsp.

ดู อันดับกะเพราและมะลินก

มะลิไส้ไก่

มะลิไส้ไก่ เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Oleaceae เลื้อยไปตามพื้นดินหรือต้นไม้อื่น เมื่ออ่อนเป็นสีเขียว แก่แล้วเป็นสีน้ำตาล ต้นเรียบ เมื่อแก่จะแตกเล็กน้อย มีเนื้อไม้แข็ง ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกัน ขอบใบเรียบ ใบห่อมาข้างหน้าเล็กน้อย ใบค่อนข้างหนา ช่อดอกเป็นกระจุก สีขาว กลีบเลี้ยงสีเขียว ผลเดี่ยว กลมรีเล็กน้อย เมื่ออ่อนสีเขียว แก่เป็นสีดำ มีเมล็ดเดียว ใช้เป็นไม้ประดั.

ดู อันดับกะเพราและมะลิไส้ไก่

มังกรคาบแก้ว

มังกรคาบแก้ว (bagflower) เป็นไม้พุ่มรอเลื้อยสูง 3 - 6 เมตร มีถิ่นกำเนิดในแอฟริกาตะวันตกจากประเทศแคเมอรูนถึงประเทศเซเนกัล เป็นไม้ไม่ผลัดใบ ออกดอกเป็นช่อ กลีบดอกมีสีแดงเข้ม 5 กลีบ หลอดดอกเชื่อมติดกับกลีบเลี้ยงสีขาวคล้ายรูปหัวใจ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับเป็นไม้ที่ชอบแสงแดด วิลเลียม คูเปอร์ ธอมสัน มิชชันนารีและนายแพทย์ในไนจีเรียเป็นผู้ตั้งชื่อไม้ดอกชนิดนี้ว่า Bleeding heart.

ดู อันดับกะเพราและมังกรคาบแก้ว

มันขี้หนู

มันขี้หนู เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae เป็นไม้ล้มลุก อายุยืน กิ่งอวบน้ำ สะสมอาหารที่รากเป็นหัว สีออกดำ น้ำตาล หรือสีออกแดง ออกขาว ลำต้นเป็นสี่เหลี่ยม ใบค่อนข้างหนา อวบน้ำ ขยี้แล้วมีกลิ่นหอม ขอบใบหยักเป็นซี่หยาบๆ เป็นพืชที่มีความหลากหลายและแบ่งเป็นพันธุ์ตามสีของหัว ถิ่นกำเนิดอยู่ในเขตร้อนของแอฟริกาหรือมาดากัสการ์ มีปลูกทั่วไปในมาดากัสการ์ ศรีลังกา อินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หัวมีกลิ่นหอม ดอกมันขี้หนู หัวมันขี้หนู.

ดู อันดับกะเพราและมันขี้หนู

มินต์ (พืช)

มินต์ (Mint, มาจากภาษากรีกคำว่า míntha, หรือในอักษรไลเนียร์บี mi-ta) เป็นสกุลหนึ่งในวงศ์กะเพรา (หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าวงศ์มินต์) สปีชีส์ของมินต์นั้นได้รับการประเมินว่ามีประมาณ 13 ถึง 18 สปีชี.

ดู อันดับกะเพราและมินต์ (พืช)

มินต์ออสเตรเลีย

มินต์ออสเตรเลีย (Mentha australis) มีอีกชื่อหนึ่งว่า มินต์แม่น้ำ, มินต์พื้นเมือง, สะระแหน่พื้นเมือง เป็นมินต์ชนิดหนึ่งในสกุลมินต์ มีถิ่นฐานอยู่บริเวณตะวันออกของประเทศออสเตรเลีย ในทุก ๆ รัฐและทุก ๆ เขตการปกครอง ยกเว้นรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย มินต์ออสเตรเลียแท้จริงแล้วมีต้นกำลังมาจากเกาะเหนือของประเทศนิวซีแลน.

ดู อันดับกะเพราและมินต์ออสเตรเลีย

มินต์ป่า

thumbnail มินต์ป่า (पुदीना/ Pudina,"Podina" ในภาษาฮินดี) (มินต์ทุ่ง หรือ มินต์ข้าวโพด) เป็นสปีชีส์หนึ่งของมินต์ พบได้ในเขตอากาศอบอุ่นของทวีปยุโรป, ทางตะวันตกและตอนกลางของทวีปเอเชีย สิ้นสุดบริเวณตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัย, ทางตะวันออกของไซบีเรีย และทวีปอเมริกาเหนือEuro+Med Plantbase Project: Germplasm Resources Information Network: Flora of NW Europe.

ดู อันดับกะเพราและมินต์ป่า

มินต์น้ำ

มินต์น้ำ (ชื่อพ้อง: Mentha hirsuta Huds.Euro+Med Plantbase Project) เป็นพืชซึ่งมีอายุยืนประมาณสองปี ในสกุลมินต์ มักเจริญเติบโตในที่ชื้น และพบมากในทวีปยุโรป, ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา และทางตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปเอเชียFlora of NW Europe.

ดู อันดับกะเพราและมินต์น้ำ

มินต์เอเชีย

มินต์เอเชีย (Asian mint) เป็นสกุลหนึ่งของมินต์ พบได้ในทวีปเอเชี.

ดู อันดับกะเพราและมินต์เอเชีย

มธุลดา

มธุลดา (American campsis) เป็นพันธุ์ไม้พื้นเมืองของทวีปอเมริกาเหนือ ทางตะวันออกของทวีป มธุลดานั้นจากการศึกษาทางสัณฐานวิทยาและชีวโมเลกุลพบว่ามธุลดาและรุ่งอรุณเคยเป็นพืชชนิดเดียวกันและขึ้นอยู่ในบริเวณเดียวกันมาก่อน โดยอ้างอิงทฤษฎีที่ว่าพื้นที่ทางเอเชียตะวันออกเคยเชื่อมติดกับทวีปอเมริกาเหนือโดยเรียกส่วนนี้ว่า "Bering land bridge" และต่อมาเมื่อมีช่องแคบเบริ่งเกิดขึ้นทำให้มีวิวัฒนาการแยกเป็นต่างชนิดกันเมื่อประมาณ 24.4 ล้านปีก่อน.

ดู อันดับกะเพราและมธุลดา

มณเฑียรระนอง

มณเฑียรระนอง เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Linderniaceae มีรากตามข้อ ลำต้นมักเป็นเหลี่ยม เกลี้ยง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนประปราย ขอบใบจักฟันเลื่อย ไร้ก้านหรือเกือบไร้ก้าน ใบบางครั้งมีสีน้ำตาลอมแดง ดอกเดี่ยว กลีบเลี้ยงคล้ายรูปปากเปิด หลอดกลีบมีสันเป็นครีบ 5 อัน เกลี้ยงหรือมีขนประปราย กลีบดอกรูปปากเปิด สีม่วง เกสรเพศผู้ 4 อัน คู่ล่างยาวกว่า มีเดือยที่โคนรูปเส้นด้าย อับเรณูเชื่อมติดเป็นคู่ กางออก โคนมีรยางค์ ผลแบบผลแห้งแตก แตกตามแนวตะเข็บเป็น 2 ซีก มีกลีบเลี้ยงหุ้ม เมล็ดขนาดเล็ก จำนวนมาก มณเฑียรระนองนี้เป็นพืชถิ่นเดียวในไทย พบเฉพาะทางภาคใต้แถบจังหวัดระนอง กระบี่ และสงขล.

ดู อันดับกะเพราและมณเฑียรระนอง

มณเฑียรไทย

|image.

ดู อันดับกะเพราและมณเฑียรไทย

ม่วงมณีรัตน์

ม่วงมณีรัตน์ หรือ บานบุรีสีม่วง (Duyand, ชื่อสามัญ: Purple Bignonia) มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้และปานามา เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็ง ใบประกอบแบบใบย่อยสองใบ แผ่นใบเข้ม เขียวเป็นมัน มีมือพันตามซอกใบ ดอกรูปกรวย กลีบสีม่วง โคนดอกเชื่อมเป็นหลอด สีขาวปนเหลือง ผลเป็นฝัก แก่แตก เมล็ดมีปีก ใช้เป็นไม้ประดั.

ดู อันดับกะเพราและม่วงมณีรัตน์

ย่าหยา (พืช)

หยา มีชื่ออื่นๆคือ ต้นอ่อมแซบ เบญจรงค์ ๕ สี บุษบาริมทางหรือ ตำลึงหวาน (Chinese violet; Coromandel; Ganges primrose; Philippine violet); (L.) T. Anders.) คล้ายต้นต้อยติ่ง แต่ไม่มีขน ใบสากไม่แหลม ดอกมีห้าสี ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำ ควรปลูกให้โดนแดดพอสมควร ประโยชน์ใช้เป็นไม้ประดับ มีสรรพคุณบำรุงเลือด บำรุงกำลัง บำรุงสายต.

ดู อันดับกะเพราและย่าหยา (พืช)

ระงับ

ระงับ เป็นไม้ล้มลุกขนาดเล็กในสกุลอังกาบ วงศ์ Acanthaceae แตกกิ่งน้อย กิ่งก้านมีขนอ่อนปกคลุม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ใบเรียบเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอดหรือซอกใบ กลีบดอกสีม่วง โคนเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นสองแฉก ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม – พฤศจิกายน พบครั้งแรกในประเทศไทย ชอบขึ้นในป่าดิบชื้น ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไท.

ดู อันดับกะเพราและระงับ

ราชาวดี

ราชาวดี (butterfly bush) เป็นไม้ประดับในวงศ์ Buddlejaceae มีถิ่นกำเนิดทางตอนเหนือของอินเดียและจีน ลักษณะเป็นไม้ต้นขนาดเล็กถึงไม้พุ่ม สูง 2-5 เมตร ตามกิ่งมีขน ใบเป็นใบเดี่ยวรูปไข่ ออกตรงข้าม กว้าง 3.5-5 เซนติเมตร ยาว 5-7 เซนติเมตร โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบหยักฟันเลื่อยถี่ เนื้อใบหยาบ ท้องใบสีเขียวอมเทา มีขนสากหลังใบสีเขียว ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบ ยาว 6-10 เซนติเมตร ดอกย่อยมีขนาดเล็กสีขาว โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยกเป็น 4 กลีบ เกสรเพศผู้ 4 อัน ดอกมีกลิ่นหอม ผลเมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก ภายในมีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ปักชำกิ่งและตอนกิ่ง.

ดู อันดับกะเพราและราชาวดี

รางจืด

รางจืด (Laurel clock vine, Blue trumpet vine) เป็นชื่อของพืชสมุนไพรประเภทไม้เลื้อยหรือไม้เถา มีลักษณะเนื้อแข็ง เลื้อยพาดพันไปตามต้นไม้ เถาจะมีลักษณะเป็นข้อปล้องกลมมีสีเขียวสดหรือสีเขียวเข้ม ดอกจะเป็นสีม่วงอ่อนๆหรือสีคราม ออกดอกเป็นช่อห้อยลงตามซอกใบ มีสรรพคุณทางยาในด้านการถอนพิษต่างๆ หรือใช้เป็นยาพอกบาดแผล น้ำร้อนลวก ไฟไหม้ รวมถึงใช้เป็นยารับประทานเป็นยาแก้ร้อนในกระหายน้ำ รางจืดมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ ได้แก่ กำลังช้างเผือก เครือเขาเขียว ขอบชะนาง ยาเขียว(ภาคกลาง)คาย รางเย็น (ยะลา) จอลอดิเออ ซั้งกะ ปั้งกะล่ะ พอหน่อเตอ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ดุเหว่า (ปัตตานี) ทิดพุด (นครศรีธรรมราช) น้ำนอง (สระบุรี) ย่ำแย้ แอดแอ (เพชรบูรณ์).

ดู อันดับกะเพราและรางจืด

รุ่งอรุณ

รุ่งอรุณ (Chinese trumpet vine) เป็นพันธุ์ไม้พื้นเมืองของประเทศจีนตอนใต้ อยู่ในวงศ์แคหางค่าง และอยู่ในสกุล Campsis เดิมรุ่งอรุณมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bignonia grandiflora Thunb.

ดู อันดับกะเพราและรุ่งอรุณ

ลาเวนเดอร์

ลาเวนเดอร์ (Lavandula) เป็นสกุลของพืชดอก ประกอบไปด้วยพืช 39 ชนิด ในวงศ์มินต์ (Lamiaceae) เป็นพืชพื้นเมืองในยุคโบราณซึ่งถูกค้นพบจากเคปเวิร์ดและหมู่เกาะคานารี ทางตอนใต้ของยุโรปข้ามไปทางตะวันออกเฉียงเหนือของแอฟริกา, เมดิเตอร์เรเนียน, เอเชียตะวันตกเฉียงใต้จรดไปอินเดียตะวันออกเฉียงใต้.

ดู อันดับกะเพราและลาเวนเดอร์

ลาเวนเดอร์สามัญ

ลาเวนเดอร์สามัญ, ลาเวนเดอร์อังกฤษ, ลาเวนเดอร์แท้, ลาเวนเดอร์ใบแคบ หรือลาเวนเดอร์ เป็นพืชดอกในวงศ์ Lamiaceae เป็นพืชประจำถิ่นในเมดิเตอร์เรเนียนตะวันตก หลัก ๆ ในเทือกเขาพิเรนีสและเทือกเขาอื่นทางเหนือของประเทศสเปน เป็นไม้พุ่มมีกลิ่นแรง โตได้สูง 1 ถึง 2 เมตร ไม่ผลัดใบ ใบยาว 2–6 เซนติเมตร และกว้าง 4–6 เซนติเมตร ดอกสีชมพู-ม่วง (สีลาเวนเดอร์) ออกที่ช่อเชิงลดยาว 2–8 เซนติเมตรที่ปลายสุดของลำต้นเรียวไม่มีใบยาว 10–30 เซนติเมตร มักปลูกลาเวนเดอร์สามัญเป็นไม้ประดับ ได้รับความนิยมจากดอกสีสวยงาม กลิ่นหอมและทนแล้งได้ เติบโตไม่ดีในดินชื้นต่อเนื่อง ค่อนข้างทนได้ดีต่ออุณหภูมิต่ำ ทนต่อดินกรดแต่ชอบดินกลางถึงด่าง ในบางภาวะอาจมีอายุสั้น.

ดู อันดับกะเพราและลาเวนเดอร์สามัญ

ลิ้นงูเห่า

ลิ้นงูเห่า เป็นไม้ล้มลุกกึ่งเลื้อยในวงศ์ Acanthaceae ไม่ค่อยแตกกิ่งแขนง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ใบบาง ขอบใบเป็นคลื่น ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด มีดอกย่อยช่อละ 12 – 20 ดอก ดอกย่อยในช่อบานไม่พร้อมกัน สีส้ม ปลายแยกเป็น 2 แฉก เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคตะวันออก กระจายพันธุ์ในเขตฉะเชิงเทรา ระยอง จันทบุรี และตราด ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไทย ลักษณะต้นคล้ายพญายอแต่ใบกว้างกว่า สีเขียวเข้มกว่า ช่อดอกโตกว่า ใช้เป็นยาได้เช่นเดียวกับพญายอใช้เป็นไม้ประดับได้ด้ว.

ดู อันดับกะเพราและลิ้นงูเห่า

วงศ์กะเพรา

วงศ์กะเพรา หรือ วงศ์มินต์ (Lamiaceae เดิมคือ Labiatae) เป็นชื่อของวงศ์พรรณไม้ของพืชดอกในอันดับแลเมียลิส ที่มีลักษณะเด่นคือ เป็นไม้พุ่มหรือไม้เถา ลำต้นเหลี่ยม ดอกออกเป็นช่อยกสูงคล้ายฉัตร หรือบ้างก็ไม่ยกสูงมาก เป็นวงศ์ของ กะเพรา โหระพา แมงลัก สะระแหน่ ยี่หร่า ลาเวนเดอร์ โรสแมรี บลูซัลเวีย ซัลเวียฮัมมิ่งเบิร์ดแดง ออริกาโน เดิมวงศ์มินต์ (Labiatae) หมายความรวมถึงพืชจำพวก สัก ผกากรอง มังกรคาบแก้ว ตรีชะวา พัดโบก และพืชอื่นๆในวงศ์สัก (Verbenaceae) ด้วย แต่ภายหลังมีการแยกเอาพืชกลุ่มนี้ไปตั้งวงศ์ใหม่เป็นวงศ์สัก.

ดู อันดับกะเพราและวงศ์กะเพรา

วงศ์มะลิ

วงศ์มะลิ หรือ Oleaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่ประกอบด้วย 24 สกุลและราว 600 สปีชีส์ มีทั้งไม้พุ่ม ไม้ยืนต้น และไม้เลื้อย ชื่อของวงศ์นี้ตั้งตามสกุล Olea ซึ่งเป็นสกุลของมะกอกออลิฟ.

ดู อันดับกะเพราและวงศ์มะลิ

วงศ์มณเฑียรทอง

วงศ์มณเฑียรทอง หรือ Scrophulariaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ที่สมาชิกส่วนใหญ๋อยู่ในเขตอบอุ่น และภูเขาในเขตร้อน.

ดู อันดับกะเพราและวงศ์มณเฑียรทอง

วงศ์ว่านไก่แดง

วงศ์ว่านไก่แดง หรือ Gesneriaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีสมาชิกประมาณ 150 สกุลและประมาณ 3,200 สปีชีส์ในเขตร้อนของโลกเก่าและโลกใหม่ หลายสปีชีส์มีดอกสีสดใสและใช้เป็นไม้ประดั.

ดู อันดับกะเพราและวงศ์ว่านไก่แดง

วงศ์สร้อยสุวรรณา

Lentibulariaceae - ''Utricularia humboldtii'' วงศ์สร้อยสุวรรณา หรือ Lentibulariaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มี 3 สกุล Genlisea Pinguicula Utricularia ส่วนสกุล Polypompholyx และ Biovularia เคยจัดอยู่ในวงศ์นี้ Biovularia ถูกรวมเข้ากับ Utricularia และ Polypompholyx กลายเป็นสกุลย่อยในสกุล Utricularia เดิมวงศ์นี้เคยอยู่ในอันดับ Scrophulariales ต่อมาในระบบ APG จึงย้ายมาอยู่ในอันดับ Lamiales.

ดู อันดับกะเพราและวงศ์สร้อยสุวรรณา

วงศ์ผกากรอง

วงศ์ผกากรอง หรือ Verbenaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก มีทั้งไม้ยืนต้น ไม้พุ่มและไม้ล้มลุก มีดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก มีกลิ่น (2001-): -.

ดู อันดับกะเพราและวงศ์ผกากรอง

วงศ์ดอกดิน

วงศ์ดอกดิน หรือ Orobanchaceaeเป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Lamiales มีสมาชิก 90 สกุล และมากกว่า 2000 สปีชีส์ หลายสกุลในวงศ์นี้เคยยรวมอยู่ในวงศ์ Scrophulariaceae อย่างกว้าง (sensu lato) พบในเขตอบอุ่นของยูเรเชีย อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ บางส่วนของออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และเขตร้อนของแอฟริก.

ดู อันดับกะเพราและวงศ์ดอกดิน

วงศ์งา

วงศ์งา เป็นวงศ์ของพืชมีดอกอยู่ในอันดับ Scrophulariales ตามระบบ Cronquist และLamiales ในระบบ APG ซึ่งระบบ Cronquist ได้รวมวงศ์Martyniaceae เข้ามาด้วย แต่การศึกษาทางด้านไฟโลเจเนติกทรีพบว่าไม่มีความใกล้เคียงกัน จึงแยกทั้งสองวงศ์ออกจากกันในระบบ APG ตัวอย่างพืชสำคัญในวงศ์นี้คืองา (Sesamum indicum).

ดู อันดับกะเพราและวงศ์งา

วงศ์แคหางค่าง

วงศ์แคหางค่าง หรือ วงศ์ไม้ปีบ (ชื่อวิทยาศาสตร์:Bignoniaceae) เป็นชื่อวงศ์พรรณไม้ของพืชในตระกูล ปีบ เพกา แคสันติสุข แคแสด ศรีตรัง ชมพูพันธุ์ทิพย์ เหลืองปรีดียาธร ลักษณะเด่นคือ สัณฐานดอกลักษณะปากแตร ส่วนลักษณะเด่นอื่น ๆ ใบเดี่ยวติดเป็นวงรอบข้อ หรือใบประกอบติดตรงข้ามแต่ละคู่ตั้งฉากกัน ใบด้านล่างมีต่อม ดอกใหญ่บานเด่นชัด เกสรเพศผู้มี 4 อัน สั้น 2 ยาว 2 มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 1 อัน ผลแห้งแตก แข็ง ผิวเรียบ เมล็ดมีปีก และมีจำนวนมาก เดิมทีวงศ์แคหางค่างอยู่ในอันดับ Scrophulariales แต่ภายหลังยุบรวม อันดับ Scrophulariales เข้ากับอันดับกะเพรา (Lamiales) จึงทำให้วงศ์แคหางค่างถูกจัดอยู่ในอันดับแลเมียลิส ไปด้วยโดยปร.

ดู อันดับกะเพราและวงศ์แคหางค่าง

วงศ์เหงือกปลาหมอ

วงศ์เหงือกปลาหมอ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Acanthaceae) เป็นชื่อของวงศ์พรรณไม้วงศ์หนึ่ง เป็นพืชดอกมีใบเลี้ยงคู่ มีประมาณ 250 สกุลและ 2500 ชน.

ดู อันดับกะเพราและวงศ์เหงือกปลาหมอ

วงศ์เทียนเกล็ดหอย

วงศ์เทียนเกล็ดหอย หรือ Plantaginaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Lamiales สกุลหลักคือ Plantago ส่วนการจัดจำแนกในระบบเก่า จัดให้อยู่ในอันดับ Plantaginales.

ดู อันดับกะเพราและวงศ์เทียนเกล็ดหอย

ว่านดอกสามสี

ว่านดอกสามสี เป็นพืชเบียนในวงศ์ดอกดิน เป็นพืชปีเดียว ขึ้นบนรากของพืชชนิดอื่น ลำต้นขนาดเล็กอยู่ใต้ดิน ดอกเดี่ยว กลีบสีม่วงเข้ม บานอยู่ได้ 2-3 วันจึงเริ่มโรย ผลเป็นฝัก แก่แล้วแตก ออกดอกช่วงเดือนพฤษภาคม–ตุลาคม พบครั้งแรกในประเทศไทยโดยหมอคาร์ ชาวไอริชที่จังหวัดน่าน เมื่อ 22 กุมภาพัน..

ดู อันดับกะเพราและว่านดอกสามสี

สกุลอังกาบ

กุลอังกาบ หรือ Barleria เป็นสกุลหนึ่งในวงศ์ Acanthaceae.

ดู อันดับกะเพราและสกุลอังกาบ

สกุลแคตนิป

แคตนิป (catnip) คือชื่อเรียกรวมทั้งหมดของพืชประมาณ 250 สปีชีส์ในสกุล เนเพต้า (Nepeta) ในวงศ์มินต์ พืชกลุ่มนี้มีน้ำมันชื่อว่า เฮพาตาแล็กโตน (Hepetalactone) เป็นสารประกอบของแล็กโตน (Lactone) ชนิดไม่อิ่มตัว มีฤทธิ์คล้ายกัญชา เมื่อแมวได้กลิ่นน้ำมันนี้จะเคลิบเคลิ้มเป็นเวลาประมาณ 10 นาที พืชกลุ่มนี้จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แคตมินต์ (catmint).

ดู อันดับกะเพราและสกุลแคตนิป

สร้อยสุวรรณา

ร้อยสุวรรณา (bladderwort) เป็นพืชกินแมลงในวงศ์สร้อยสุวรรณา (Lentibulariaceae) กระจายพันธุ์ตั้งแต่เอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และโอเชียเนีย เป็นไม้ล้มลุกปีเดียวขนาดเล็ก มีไหลเป็นเส้นขนาดเล็ก มีใบหลายใบออกจากไหล รูปแถบ ยาวได้ประมาณ 2 ซม.

ดู อันดับกะเพราและสร้อยสุวรรณา

สร้อยอินทนิล

ร้อยอินทนิล หรือ ช่ออินทนิล ช่องหูปากกา น้ำผึ้ง ปากกา ย่ำแย้ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Thunbergia grandiflora Roxb.ชื่อสามัญคือ Bengal Trumpet มีถิ่นกำเนิดในอินเดียตอนเหนือ พม่า และไทย ชอบขึ้นตามป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณ เป็นไม้เถาเลื้อย เนื้อแข็ง อายุหลายปี ใช้ยอดเลื้อยพันได้ไกล 15-20 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปหัวใจหรือเว้าตื้น 5-7 แฉก กว้าง 8-10 เซนติเมตร ยาว 10-12 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบเว้า ขอบหยักฟันเลื่อย ผิวใบสาก ดอกสีฟ้าอมม่วง ออกเป็นช่อแบบช่อกระจะตามซอกใบ ช่อดอกห้อยลงยาว 0.8-1 เมตร ใบประดับสีเขียวและมีสีแดงเรื่อ ดอกรูปแตร โคนกลีบเป็นหลอดสั้นสีเหลืองปลายแยก 5 แฉก รูปกลม โคนกลีบล่างอันกลางมีแต้มสีม่วงเข้ม ดอกบานเต็มที่กว้าง 6-8 เซนติเมตร ปลูกได้ในดินทั่วไป ความชื้นปานกลาง แสงแดดเต็มวัน ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำเถา หรือหน่อ เปลือกและรากนำมาตำพอกแก้อาการช้ำบวมและแผลอักเสบ ใบนำมาชงเป็นชาแก้ปวดท้อง.

ดู อันดับกะเพราและสร้อยอินทนิล

สะระแหน่

ระแหน่ เป็นพืชในตระกูลมินต์ วงศ์กะเพรา มีแหล่งกำเนิดมาจากแถบยุโรปตอนใต้และแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เมื่อโตเต็มที่จะมีความสูงประมาณ 70 - 150 เซนติเมตร ส่วนใบจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับใบพืชในตระกูลมิ้นต์ มีกลิ่นหอมคล้ายใบมะนาว และทุก ๆ ปลายฤดูร้อนต้นสะระแหน่จะออกดอกสีขาว ๆ ที่เต็มไปด้วยน้ำหอมและน้ำหวานอยู่ภายใน นี้ดึงดูดใจให้ผึ้งมาดูดน้ำหวาน จากเหตุนี้ทำให้สะระแหน่อยู่ในสกุลเมลิสซา (Melissa: ภาษากรีก แปลว่าน้ำผึ้ง) และยังมีรสชาติคล้ายคลึงกับ ตะไคร้หอม, มะนาวและแอลกอฮอล.

ดู อันดับกะเพราและสะระแหน่

สัก (พรรณไม้)

ัก เป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ผลัดใบในฤดูร้อน ลำต้นเปลาตรงเปลือกเรียบหรือแตกเป็นร่องเล็ก ๆ สีเทา โคนเป็นพูพอนต่ำ ๆ เรือนยอดเป็นพุ่มทรงกลมค่อนข้างทึบ เปลือกสีเทา เรียบ หรือแตกเป็นร่องตื้นตามความยาวลำต้น ขึ้นเป็นหมู่ในป่าเบญจพรรณทางภาคเหนือ บางส่วนในภาคกลางและภาคตะวันตก มีอยู่บ้างทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สักมักจะได้รับความเข้าใจผิดเสมอว่าเป็นไม้เนื้อแข็งเนื่องจากว่ามันมีลักษณะพิเศษที่เป็นไม้เนื้ออ่อนที่มีความทนทานกว่าไม้เนื้อแข็งหลาย ๆ ชนิด ชื่อสามัญอื่นอื่น: เซบ่ายี้, ปีฮือ, ปายี้, เป้อยี.

ดู อันดับกะเพราและสัก (พรรณไม้)

สาหร่ายข้าวเหนียว

หร่ายข้าวเหนียว (golden bladderwort) เป็นพืชกินแมลงในวงศ์สร้อยสุวรรณา (Lentibulariaceae) กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดีย, ญี่ปุ่นและออสเตรเลียTaylor, Peter.

ดู อันดับกะเพราและสาหร่ายข้าวเหนียว

สำมะงา

ำมะงา เป็นไม้พุ่มรอเลื้อยในวงศ์ Lamiaceae ลำต้นเรียบสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ผิวใบเรียบเป็นมัน ดอกช่อ ก้านดอกสั้น ดอกเป็นหลอดยาวปลายเป็นแฉกตื้นๆ 5 แฉก กลีบดอกสีขาวอมชมพู ก้านเกสรตัวผู้สีม่วงแดง ผลเดี่ยวกลมรี เป็นพูเล็กน้อย เมื่ออ่อนสีเขียว สุกแล้วเป็นสีดำ ใบสดต้มน้ำใช้ทำความสะอาดแผล ใบแห้งบดเป็นผง ใช้โรยแผลแก้ติดเชื้อ ใบและผลสดต้มรวมกับเหล้าพออุ่น ทาแก้รอยฟกช้ำหรือบวม รากแห้งต้มกับน้ำดื่ม แก้ไข้หวัด ตับอักเสบและแผลบวม.

ดู อันดับกะเพราและสำมะงา

สเปียร์มินต์

ปียร์มินต์ เป็นพืชในสกุลมินต์ กระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกา ยุโรป แอฟริกาเหนือถึงเอเชีย ลักษณะเป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 30-100 เซนติเมตร มีเหง้าใต้ดิน ใบเป็นใบเดี่ยวรูปรีแกมใบหอก ขอบใบจักฟันเลื่อย ออกตรงข้าม กว้าง 1.5-3 เซนติเมตร ยาว 5–9 เซนติเมตร ดอกออกเป็นช่อสีชมพูขาว ยาว 2.5–3 มิลลิเมตร ผลกลมภายในมีเมล็ด สเปียร์มินต์มีน้ำมันที่มีส่วนประกอบหลักเป็นคาร์โวนและลิโมนีน และมีเมนทอลและเมนโทนในปริมาณเล็กน้อย น้ำมันสเปียร์มินต์มีคุณสมบัติไล่แมลงและต้านเชื้อรา ใช้ผสมในชามินต์ แต่งกลิ่นยาสีฟัน ขนมและเครื่องดื่ม.

ดู อันดับกะเพราและสเปียร์มินต์

หญ้าหนวดแมว

หญ้าหนวดแมว (ชื่อพ้อง: O. grandiflorus Bold, O. stamineus Benth.) หรือ พยับเมฆ (กรุงเทพฯ), อีตู่ดง (เพชรบูรณ์), บางรัก (ประจวบคีรีขันธ์) อยู่ในวงศ์ Lamiaceae (Labiatae) ซึ่งเป็นพืชที่จัดอยู่ในพวกเดียวกับกะเพราและโหร.

ดู อันดับกะเพราและหญ้าหนวดแมว

หญ้าเหล็กขูด

หญ้าเหล็กขูด มีชื่อสามัญภาษาอังกฤษหลายชื่อ ได้แก่ frog fruit, sawtooth fogfruit, turkey tangle เป็นพืชในวงศ์ Verbenaceae และเป็นพืชพื้นเมืองในอเมริกาใต้และสหรัฐ พบได้ในเขตร้อนทั่วโลก นิยมปลูกเป็นพืชคลุมดิน ทางภาคใต้ของไทยนำส่วนเหนือดินไปลวกจิ้มน้ำพริก.

ดู อันดับกะเพราและหญ้าเหล็กขูด

หญ้าเอ็นยืด

ผลที่กำลังพัฒนาของหญ้าเอ็นยืด หญ้าเอ็นยืด อยู่ในวงศ์ Plantaginaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียกตาซื่อเดาะ ไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน ลำต้นเหนือดินขนาดเล็กตั้งตรง ใบเดี่ยว ไม่มีหูใบ ขอบใบบริเวณโคนหยักเล็กน้อย ขอบใบสีม่วง ดอกช่อ ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีกาบหุ้มสีเขียวรองรับ 1 อัน กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด สีขาว ก้านชูเกสรตัวผู้สีขาว อับเรณูสีเหลือง ผลมีเมล็ดจำนวนมาก สีดำ ชาวกะเหรี่ยงนำใบและต้นมากินเป็นผักสดจิ้มน้ำพริก.

ดู อันดับกะเพราและหญ้าเอ็นยืด

หอมหมื่นลี้

หอมหมื่นลี้ (sweet osmanthus, sweet olive) หรือ สารภีฝรั่ง หรือ สารภีอ่างกา เป็นพืชในวงศ์มะลิ มีถิ่นกำเนิดแถบเทือกเขาหิมาลัยและจีน กระจายพันธุ์ไปทางใต้ของญี่ปุ่นและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หอมหมื่นลี้นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ในรัฐอุตตราขัณฑ์ ประเทศอินเดียใช้ดอกในการไล่แมลง, James Sykes Gamble, S.

ดู อันดับกะเพราและหอมหมื่นลี้

หัวฆ้อนกระแต

หัวฆ้อนกระแต Roxb.

ดู อันดับกะเพราและหัวฆ้อนกระแต

ห้อม

ห้อม หรือ ฮ่อม มีชื่ออื่นๆคือ ฮ่อมเมือง ครามหลอย ครามเหล็กขูด ครามย่าน ใบเบิก เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็ก ลักษณะเป็นไม้พุ่มลำต้นกลมและตั้งตรง สูง 50-80 เซนติเมตร ลำต้นและเหง้าเป็นรูปทรงกระบอก บริเวณข้อเป็นปล้องคล้ายขาไก่ แตกกิ่งก้านตามข้อ ลักษณะใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม โคนใบเรียวปลายใบแหลม ขอบใบหยักฟันเลื่อยละเอียด กว้าง 2.5 – 6 ซม.

ดู อันดับกะเพราและห้อม

ห้อมช้าง

ห้อมช้าง (Wall.) เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Acanthaceae ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปขอบขนาน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ออกตามปลายกิ่ง ใบประดับและใบประดับย่อยขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ มีขนหนาแน่นด้านใน กลีบดอกรูปปากเปิด สีม่วงอมแดงหรืออมชมพู ด้านนอกมีขนละเอียด กลีบล่าง 3 กลีบ กลีบรูปรี กลีบบน 2 กลีบ สั้นกว่ากลีบล่างเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 2 อัน ติดภายในหลอดกลีบดอก ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอกเล็กน้อย ก้านชูอับเรณูเกลี้ยง กสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 2 อัน ขนาดเล็ก ผลแห้งแตก รูปแถบ มีสันเป็นเหลี่ยม มีขนสั้นนุ่ม การกระจายพันธุ์ พบที่อินเดีย ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ในไทยพบมากทางภาคเหนือ.

ดู อันดับกะเพราและห้อมช้าง

ออริกาโน

ออริกาโนแห้งสำหรับปรุงอาหาร ออริกาโน (Oregano; หรือ) เป็นพืชในสกุล Origanumที่พบบ่อย อยู่ในวงศ์ Lamiaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเขตอบอุ่นและทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของยูเรเชีย และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ออริกาโนเป็นเครื่องปรุงสำคัญในอาหารอิตาลี ใส่ในพิซซา ซอส และอาหารจานผัก นิยมใช้แบบแห้งมากกว่าแ.

ดู อันดับกะเพราและออริกาโน

อัคคีทวาร

อัคคีทวาร หรือ ตรีชะวา (Moon var. wallichii Clarke)ในวงศ์.

ดู อันดับกะเพราและอัคคีทวาร

อังกาบ

อังกาบ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Barleria cristata L.) มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย เป็นพรรณไม้พุ่มเตี้ย มีลำต้นเป็นข้อ สูงประมาณ 3 ฟุต ใบเป็นรูปหอก โคนและปลายเรียวแหลม ขนาดกว้างประมาณ 4 ซม.

ดู อันดับกะเพราและอังกาบ

อังกาบสีปูน

อังกาบสีปูน (หรือ ไม้พุ่มคลุมดินขนาดเล็ก เป็นกิ่งทอดเลื้อย สูง 15 - 40 ซม. ใบรูปไข่ ปลายแหลม ยาว 2 - 4 ซม. มีสีเขียวเป็นมัน ดอกมีสีแดงอมส้ม คล้ายสีปูนแดงที่กินกับหมาก กลีบดอกกลมมน ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด หรือปักชำ ปลูกเป็นไม้ประดับสวยงามได้ทั้งในที่ร่มรำไร และกลางแจ้ง.

ดู อันดับกะเพราและอังกาบสีปูน

อังกาบหนู

อังกาบหนู เป็นพืชที่เป็นพืชท้องถิ่นในอินเดีย เป็นพืชสมุนไพรในตำรับยาอายุรเวท น้ำคั้นจากใบใช้ป้องกันเท้าเปื่อยและแตกในฤดูมรสุม, Willliam Dymock, C.

ดู อันดับกะเพราและอังกาบหนู

อึ่งงิ้ม

อึ่งงิ้มในภาษาจีนแต้จิ๋วหรือหวงจินในภาษาจีนกลาง อยู่ในวงศ์ Lamiaceae พืชชนิดนี้เป็นพืชปลูกในไซบีเรีย มองโกเลีย ภาคตะวันออกไกลของรัสเซีย จีน และเกาหลี รากแห้งเป็นสีเหลืองอมน้ำตาล ตรงกลางมีเส้นสีแดงอมน้ำตาล ตำรายาจีนใช้รากทำยาขับพิษ ขับร้อน สารสำคัญในรากได้แก่ baicalein, baicalin, wogonin, norwogonin, oroxylin Aและ β-sitosterol.

ดู อันดับกะเพราและอึ่งงิ้ม

ฮิอิรากิ (พืช)

อิรากิ (มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Osmanthus heterophyllus หรือรู้จักกันในชื่อ Holly Osmanthus เป็นพืชชนิดหนึ่งที่พบในแถบเอเชียตะวันออก.

ดู อันดับกะเพราและฮิอิรากิ (พืช)

ฮ่อสะพายควาย

อสะพายควาย เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae เป็นไม้เถา ใบเดี่ยว พาดพันบนต้นไม้ใหญ่ พบตามเขาสูง เถาใช้ต้มน้ำหรือดองสุรา บำรุงกำลัง บำรุงข้อ.

ดู อันดับกะเพราและฮ่อสะพายควาย

ผกากรอง

ผกากรอง เป็นพืชในวงศ์ Verbenaceae เป็นพืชพื้นเมืองในทวีปอเมริกา นำไปปลูกเป็นไม้แต่งสวนในบริเวณจนอาจกลายเป็นพืชรุกรานในเขตร้อนได้ เป็นไม้พุ่มหรือไม้พุ่มกึ่งเลื้อย ปลายใบแหลม ขอบใบจักฟันเลื่อย เส้นใบเห็นเป็นร่องชัดเจน ดอกเป็นช่อกระจุก มีหลายสี ดอกย่อยเป็นทรงปากแตร ดอกมีกลิ่นฉุน ขนตามลำต้นเมื่อถูกผิวหนังทำให้คัน ถ้ารับประทาน ทำให้ปวดท้อง อาเจียน กล้ามเนื้ออ่อนแรง หายใจขัด หมดสติ ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซียนำใบไปต้มกับน้ำ ใช้ฉีดพ่นไล่แมลง ผลดิบของผกากรอง.

ดู อันดับกะเพราและผกากรอง

ผักอีหลืน

ผักอีหลืน เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae กระจายพันธุ์ในเทือกเขาหิมาลัย จีนตอนใต้ จนถึงภาคเหนือของไทย ชาวกะเหรี่ยงรับประทานเป็นผัก ใบและช่อดอกนำไปแกง มีกลิ่นหอม ช่อดอกมัดรวมกัน ใช้บูชาผีหลองข้าวหรือยุ้งข้าว.

ดู อันดับกะเพราและผักอีหลืน

ผักแขยง

ผักแขยง หรือ Limnophila aromatica ชื่ออื่นๆ กะออม กะแยง(ตะวันออกเฉียงเหนือ) กะแยงแดง(อุบลราชธานี) ผักพา(เหนือ) เป็นพืชในวงศ์ Scorphulariaceae หรือ Plantaginaceae ไม้ล้มลุกฤดูเดียว ลำต้นเรียวยาว ตั้งตรง กลมกลวง อวบน้ำ มีขนแน่น ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ทุกข้อ ตลอดลำต้น รูปขอบขนานแกมใบหอกขอบใบหยักมนแกมฟันเลื่อย ปลายใบแหลม โคนใบห่อติดลำต้น ดอกช่อกระจะออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ออกพร้อมกันทั้งต้น ดอกย่อย 2-10 ดอก ดอกเป็นรูปหลอดคล้ายถ้วย รูปกรวย ปลายบานเล็กน้อย แยกออกเป็น 4 กลีบ กลีบดอกสีม่วง ผิวด้านนอกเรียบ ผิวด้านในตอนล่างของกลีบดอกมีขน ผลแห้งแตกได้ รูปกระสวย เมล็ดรูปร่างกลมรี สีน้ำตาลดำ ขนาดเล็กมาก ชอบขึ้นบริเวณที่มีน้ำขังเล็กน้อย ผักแขยงเป็นเป็นวัชพืชในนาข้าว ทั้งต้นมีกลิ่นหอมฉุน เผ็ดร้อนชาวอีสานใช้ใส่ในแกงต้มปลา อ่อมต่างๆ มีกลิ่นหอม ช่วยดับกลิ่นคาว และเป็นพืชสมุนไพร ทางภาคอีสาน ใช้ ทั้งต้น เป็นยาขับน้ำนม ขับลม และเป็นยาระบายท้อง น้ำคั้นจากต้นใช้แก้ไข้ แก้คัน ฝี และกลาก แก้อาการบวม เป็นยาระบายอ่อนๆ ต้นแห้ง ที่เก็บไว้นาน 1 ปี ต้มน้ำดื่ม แก้พิษเบื่อเมา ผักแขยง จัดเป็นผักพื้นบ้านที่สำคัญของภาคอีสาน แต่ไม่พบในพื้นที่ภาคใต้.

ดู อันดับกะเพราและผักแขยง

ผีเสื้อแสนสวย

ผีเสื้อแสนสวย เป็นไม้พุ่ม จะสูงประมาณ 1 - 1.5 เมตร พุ่มโปร่ง รูปทรงพุ่มกลม ขนาดพุ่มเป็นกอใหญ่ประมาณ 1 เมตร ลำต้นเมื่อแก่แล้วมีสีน้ำตาลเข้มไปสู่น้ำตาลอ่อน ลำต้นอ่อนออกเป็นสีเขียว ใบเขียวตลอดทั้งใบ ผิวสัมผัสหยาบ ดอกเป็นสีฟ้า กับสีฟ้าอ่อนจนแทบขาว เมื่อดอกบานออกมาจะเหมือนผีเสื้อ มีทั้งปีกบนสองปีก ปีกล่างสองปีกข้างลำตัว มีหนวดเป็นเกสรตัวผู้ที่ยาวอย่างอ่อนช้อย มีดอกตลอดทั้งปี ไม่มีกลิ่นหอม ผีเสื้อแสนสวย ชอบดินร่วนเหนียว ความชื้นปานกลาง แสงแดดเต็มวันขยายพันธุ์โดยการปักชำกิ่ง เพาะเมล็ดและการตอนกิ่ง ควรปลูกเป็นกอละ 6 ต้นต่อตารางเมตร หรือ 3 ต้นต่อตารางเมตร หรือปลูกเป็นลำต้นเดี่ยวๆ เป็นแถวยาว.

ดู อันดับกะเพราและผีเสื้อแสนสวย

ถั่วด้วง

ั่วด้วง เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae เป็นไม้ล้มลุกอายุยืน ลำต้นตั้งตรง มีไหลใต้ดิน หัวเกิดจากการสะสมอาหารในส่วนปลายของไหล มีรอยคอดในส่วนข้อมองเห็นเป็นปล้องกลมต่อเนื่องกัน สีขาว ลำต้นรูปสี่เหลี่ยม ขอบใบเป็นซี่ทู่ๆ มีขนหยาบปกคลุมผิวใบทั้งสองด้าน ดอกสีชมพู สีม่วงหรือสีขาว ผลเป็นผลแบบเคี้ยวมัน เกิดหัวและไหลหลังปลูก 5-7 เดือน left ถั่วด้วงเป็นพืชพื้นเมืองของจีน มีปลูกในจีน ญี่ปุ่น ก่อนจะนำไปปลูกในฝรั่งเศส มาเลเซีย หัวรับประทานได้ทั้งสดและทอด ในญี่ปุ่นเป็นอาหารพิเศษในโอกาสขึ้นปีใหม่ ในจีนและญี่ปุ่นนิยมดองก่อนรับประทาน.

ดู อันดับกะเพราและถั่วด้วง

ถุงมือจิ้งจอก

งมือจิ้งจอก หรือ ดิจิทาลลิส (Digitalis, Foxglove) เป็นสกุลของไม้ 20 ชนิดของสมุนไพรที่เป็นพืชสองปี (Perennial plant) ที่เรียกเป็นภาษาพื้นบ้านว่า “foxgloves” หรือ “ถุงมือจิ้งจอก” เดิมจัดอยู่ในวงศ์มณเฑียรทอง (Scrophulariaceae) แต่หลังจากการพิจารณาทางไฟโลเจเนติกส์ ก็ได้รับการจัดให้อยู่ในตระกูลที่ใหญ่กว่าในวงศ์เทียนเกล็ดหอย (Plantaginaceae) ถุงมือจิ้งจอกเป็นไม้ที่มีถิ่นฐานอยู่ในยุโรป, เอเชียตะวันตก เอเชียกลางและทางตะวันตกเฉียงเหนือของแอฟริกา ชื่อวิทยาศาสตร์แปลว่า “เหมือนนิ้ว” เพราะขนาดของดอกพอดีกับการที่เอาปลายนิ้วสอดเข้าไปได้พอดี ดอกออกบนกิ่งเรียวยาวชลูดขึ้นไปจากกอที่ติดดิน ตัวดอกมีลักษณะเป็นหลอดสั้น ๆ สีก็มีต่าง ๆ ที่รวมทั้งม่วง ชมพู ขาวและเหลือง ชนิดที่พบบ่อยเรียกว่า Digitalis purpurea ถุงมือจิ้งจอก นอกจากจะเป็นไม้ที่ขึ้นง่ายโดยทั่วไปเป็นดอกไม้ป่าแล้วก็ยังเป็นไม้บ้านเป็นพืชสองปีที่มักปลูกเป็นไม้ประดับเพราะดอกที่มีความเด่นที่มีสีและแต้มด้านในของดอกต่าง ๆ ปีแรกที่ปลูกจะมีเพียงแต่ใบ ปีที่สองจึงออกดอก ความสูงของก้านประมาณระหว่าง 0.5 ถึง 2.5 เมตร คำว่า “ดิจิทาลลิส” ยังหมายถึงสารดิช็อกซินที่สกัดจากไม้ที่ใช้ในการทำคาร์ดิแอกไกลโคไซด์ สำหรับการรักษาโรคหัวใจ แต่ “ถุงมือจิ้งจอก” บางพันธุ์ก็เป็นไม้มีพิษร้ายแรงทั้งต้นทั้งดอกที่ทำให้ได้สมญาว่า “กระดิ่งคนตาย” หรือ “ถุงมือแม่มด” ต้นถุงมือจิ้งจอก เป็นต้นไม้ที่ในความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์ของยุโรปยุคกลางเชื่อว่า เป็นส่วนผสมที่ผสมกับสารเคมีอย่างอื่น เช่น ฝิ่น ทำให้ผู้ที่ทากลายร่างเป็นสัตว์ป่าที่ดุร้ายหรือมนุษย์หมาป่าได้.

ดู อันดับกะเพราและถุงมือจิ้งจอก

ทองพันชั่ง

ทองพันชั่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Rhinacanthus nasutus Kurz) หรือทองคันชั่ง หรือหญ้ามันไก่ มีลักษณะเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงประมาณ 0.5-2 เมตร กิ่งอ่อนและลำต้นมักเป็นเหลี่ยม ส่วนที่ยังอ่อนมักมีขนปกคลุมใบรูปคล้ายรูปไข่หรือวงรี กว้าง 2-4 ซม.

ดู อันดับกะเพราและทองพันชั่ง

ทองอุไร

ทองอุไร (Yellow elder, Trumpetbush, Trumpetflower, Yellow trumpet-flower, Yellow trumpetbush) เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กสูง 2-4 เมตร ลำต้นเล็ก แผ่กิ่งด้านบนเป็นพุ่มกลม โปร่ง ใบประกอบขนนกมีใบย่อยที่ปลายสุด จำนวน 7 - 11 ใบ สีเขียวอ่อน ขอบใบย่อยหยิกเป็นฟันเลื่อย ผิวสัมผัสละเอียด ลำต้นสีน้ำตาลนวลตลอดทั้งต้น ก้านใบช่อดอกอ่อนเป็นสีเขียว ดอกสีเหลืองสด มีรูปลักษณ์คลายระฆัง หรือแตร หรือทรัมเป็ต ออกดอกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ดอกดกมาก กลีบดอกติดกันเป็นรูปกรวยยาว 3 - 4 เซนติเมตร ปลายกลีบมี 5 กลีบ มีลักษณะกลมเป็นคลื่นเล็กน้อย กลีบเลี้ยงเป็นรูปกระดิ่งสีเหลือง แยก 5 แฉกกลีบดอกปลายแยก 5 กลีบรับกัน เกสรตัวผู้ เติบโตได้ดีในดินร่วนทุกชนิด ที่ความชื้นปานกลาง ระบายน้ำได้ดี แสงแดดจัดเต็มวัน ทองอุไรดอกสีเหลืองสดใส ปลูกง่าย เกิดง่าย ในเขตร้อนทั่วไป ไม่ควรปลูกในที่มีระดับน้ำใต้ดินสูง นิยมปลูกข้างถนน เกาะกลางถนน และเหมาะสำหรับปลูกมุมใดมุมหนึ่งของบ้านที่แดดถึง ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดและตอนกิ่ง.

ดู อันดับกะเพราและทองอุไร

ทิพเกสร

ทิพเกสร เป็นพืชกินแมลงขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ Lentibulariaceae มีความสูง 10-30 เซนติเมตร ลำต้นเล็กมากอยู่ใต้ดิน ใบเป็นใบเลี้ยงเดี่ยว และมีใบที่เปลี่ยนเป็นถุงสำหรับดักจับแมลงขนาดเล็กเป็นอาหาร ดอกสีม่วงอ่อนแกมชมพู ออกเป็นช่อตั้งสูงประมาณ 5-20 เซนติเมตร มีดอกย่อย 3-10 ดอก ออกเรียงสลับ ขนาดประมาณ 6-10 มิลลิเมตร กลีบดอกล่างแผ่แยกออกเป็น 2 ปาก ผลเป็นผลแห้งชนิดแตกเมื่อแก่ พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในทวีปเอเชีย เช่น อินเดีย, ศรีลังกา, พม่า, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, จีน, ญี่ปุ่น, มาเลเซีย, สุมาตรา, บอร์เนียว, ฟิลิปปินส์, นิวกินิ, ออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบที่จังหวัดเชียงใหม่, เลย, อุบลราชธานี, กาญจนบุรี, สระแก้ว, ชลบุรี, จันทบุรี, ตราด, สุราษฎร์ธานี, พังงา, สงขลา, ปัตตานี, และนราธิวาส พบตามพื้นที่ชื้นแฉะ เปิดโล่ง มักพบบนดินทราย ในระดับความสูง 0-1,300 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ออกดอก ออกผลช่วงเดือนสิงหาคม-ธันวาคม ทิพเกสร เป็นนามพระราชทานจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ โดยมีชื่อดั้งเดิมว่า "หญ้าสีฝอยเล็ก".

ดู อันดับกะเพราและทิพเกสร

ทิ้งทองหู

ทิ้งทองหู (Jack) เป็นพืชในวงศ์ Gesneriaceae เป็นไม้เลื้อย มีขนละเอียดขึ้นตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก แผ่นใบหนา เห็นเส้นใบไม่ชัดเจน ดอกช่อ มีริ้วประดับรูปไข่ กลีบเลี้ยงสีม่วงน้ำตาลอมเขียวกลีบดอกสีแดงสด ด้านในมีสีเหลืองแซม ผลแบบแห้งแตก มีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก มีปุ่มกระจาย มีรยางค์รูปเส้นด้ายทั้งสองด้าน ในไทยพบเฉพาะทางภาคใต้ กระจายพันธุ์ตั้งแต่คาบสมุทรมลายูจนถึงเกาะบอร์เนียว.

ดู อันดับกะเพราและทิ้งทองหู

ขี้เห็น

ี้เห็นหรือผ่าเสี้ยน เป็นไม้ต้นในวงศ์ Lamiaceae ผิวเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด สีน้ำตาลหรือสีดำ กิ่งก้านอ่อนมีขนสีเหลืองอมน้ำตาล ดอกช่อ กลีบเลี้ยงมีขน กลีบดอกปลายแฉกรูปปาก สีเหลืองหรือสีนวล เกสรตัวผู้มีสี่อัน สั้น 2 อัน ยาว 2 อันผลเดี่ยว ทรงกลมหรือเกือบกลม เนื้อไม้สีเหลือง ใช่ก่อสร้างหรือทำเครื่องเรือน และเป็นส่วนผสมของยารักษาโรคติดเชื้อ.

ดู อันดับกะเพราและขี้เห็น

ข่อยดำ

อยดำหรือดังหวาย เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Labiatae ลำต้นสีเทาอมน้ำตาล ใบประกอบ ขอบใบหยัก ดอกช่อแบบแตกแขนง ผลเดี่ยวค่อนข้างกลม ผลแก่สีแดงหรือสีดำ มี 5-6 เมล็ด ผลใช้เป็นอาหารสัตว.

ดู อันดับกะเพราและข่อยดำ

ข้าวตอกพระร่วง (พืช)

้าวตอกพระร่วง (Chinese privet) เป็นพืชในวงศ์มะลิ (Oleaceae) มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน เป็นไม้พุ่มสูง 1-2 เมตร ลำต้นสีน้ำตาล ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้าม รูปไข่ถึงรูปขอบขนานแกมรูปรี ยาว 2-7 เซนติเมตร ปลายใบมน ก้านใบสั้น ชนิดที่เป็นพันธุ์ด่างจะมีขอบใบสีขาว กลางใบสีเขียว ท้องใบสีเขียวอ่อน ดอกขนาดเล็กสีขาว มีกลิ่นหอม ผลกลมถึงรูปไข่ เมื่อสุกมีสีม่วงดำ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับหรือบอนไซ ใบและผลของข้าวตอกพระร่วงมีพิษ และละอองเกสรอาจก่อให้เกิดภูมิแพ้ได้ พื้นที่หลายแห่งทั่วโลกจัดพืชชนิดนี้เป็นพืชรุกราน.

ดู อันดับกะเพราและข้าวตอกพระร่วง (พืช)

ดอกดิน (พืช)

อกดิน ชื่ออื่นๆคือ ดอกดินแดง ซอซวย ปากจะเข้ สบแล้ง หญ้าดอกขอ เป็นพืชขนาดเล็ก ไม่มีใบ มีชีวิตอยู่แบบกาฝาก ต้นเป็นปุ่มปมเบียนอยู่กับรากไม้หรือหญ้า ลำต้นเกาะอยู่ตามรากไม้ใต้ดิน เช่นรากไผ่หรือรากหญ้าคา ก้านดอกสีขาวนวล ดอกโผล่มาเหนือดิน กลีบดอกเป็นหลอด สีม่วงเข้ม ตอนปลายเป็นแฉก พบในที่ร่มและชื้นช่วงฤดูฝน ในดอกมีสารสีดำชื่อออคิวบิน ใช่แต่งสีดำในขนมบางชนิดเช่นขนมดอกดิน โดยนำดอกสดไปผึ่งแดดพอหมาด แล้วสับรวมกับแป้งข้าวเหนียว แป้งข้าวเจ้า และกะทิ ขนมนี้ถ้าใส่ดอกดินอย่างเดียว จะไม่เป็นสีดำ แต่เป็นสีน้ำตาลคล้ายกาแฟ ใส่มากขึ้นทำให้ขนมขื่น จึงแต่งสีดำด้วยกาบมะพร้าวเผาไฟ แล้วนำไปนึ่งให้สุก.

ดู อันดับกะเพราและดอกดิน (พืช)

ดาดตะกั่ว

ตะกั่ว (Redivy; T. Anders.) เป็นพืชในวงศ์ Acanthaceae ลักษณะเป็นไม้คลุมดิน ต้นทอดเลื้อยไปตามดิน ใบด้านบนสีเหลือบเงิบ เขียงปนม่วง ด้านล่างสีม่วง ปลายใบแหลม ขอบหยัก ดอกสีขาว เป็นพืชพื้นเมืองของอินเดียและเกาะชวา นิยมปลูกเป็นไม้ประดั.

ดู อันดับกะเพราและดาดตะกั่ว

ดุสิตา

ตา เป็นพืชกินแมลงในวงศ์สร้อยสุวรรณา (Lentibulariaceae) กระจายพันธุ์ในอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และออสเตรเลีย เป็นไม้ล้มลุกปีเดียว ขึ้นเป็นกอเล็ก สูง 10-20 ซม.

ดู อันดับกะเพราและดุสิตา

ดีปลากั้ง

ีปลากั้ง หรือ บีปลากั้ง T.Anderson.

ดู อันดับกะเพราและดีปลากั้ง

ด่าง (พืช)

ง เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็งในวงศ์ Labiatae ตามกิ่งมีสันสี่เหลี่ยม มีขนยาวปกคลุม มีเลนติเซลเป็นรอยขีดนูน ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ดอกช่ออกตามปลายยอด มีดอกย่อยจำนวนมาก ผลกลมรี เมล็ดขนาดเล็ก สีดำ กระจายพันธุ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ ชาวไอริช เมื่อเดือนกันยายน..

ดู อันดับกะเพราและด่าง (พืช)

คนทีสอทะเล

นทีสอทะเล เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Lamiaceae ลำต้นเลื้อยคลานไปบนดิน ลำต้นสีน้ำตาล เมื่ออายุมากจะมีสะเก็ดหลุดร่วงออกมา ใบเดี่ยว ใบสีเขียวเข้ม หลังใบสีอ่อนจนถึงสีนวล ดอกช่อ กลีบดอกสีน้ำเงินขนาดไม่เท่ากัน ผลเดี่ยว ที่ขั้วมีกลีบเลี้ยงหุ้มไว้เกือบครึ่งผล ผิวสีเขียวหรือสีม่วง ผลแห้ง ปลายผลมีติ่ง ใบแห้งบดเป็นผง นำไปทำขนมคนที โดยนำใบแห้งไปผสมกับแป้งข้าวเหนียวและน้ำ นำไปนึ่งให้สุก หั่นเป็นชิ้น คลุกกกับมะพร้าวขูด เกลือ และน้ำตาล.

ดู อันดับกะเพราและคนทีสอทะเล

งวงสุ่ม

งวงสุ่มหรือโพ้ไฮคุย เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็งในวงศ์ Verbenaceae มักพบเลื้อยในป่าไผ่คล้ายต้นพวงประดิษฐ์ ยอดอ่อนและใบมีขน ด้านล่างของใบมีขนแข็งสาก ดอกช่อออกที่ปลายยอด มีดอกย่อยจำนวนมาก ริ้วประดับสีชมพู ออกดอกช่วงมกราคม – มีนาคม พบครั้งแรกที่อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี โดยหมอคาร์ ชาวไอริชเมื่อ 7 มกราคม..

ดู อันดับกะเพราและงวงสุ่ม

งา (พืช)

งา เป็นพืชล้มลุก ผลเป็นฝัก มีเมล็ดเล็กๆ สีขาว สีดำ และสีแดง มีการเพาะปลูกมานานเพราะต้องการใช้เมล็ดงานี้เป็นอาหาร เครื่องเทศ และบีบเอาน้ำมันได้ มีการใช้เมล็ดงากันมากเป็นพิเศษในแถบตะวันออกกลาง และเอเชียเพื่อเป็นอาหาร กลิ่นและรสของเมล็ดงาคล้ายกับถั่ว องค์ประกอบสำคัญในเมล็ดก็คือน้ำมัน ซึ่งมีอยู่ประมาณ 44-60% น้ำมันงานั้นต่อต้านการเกิดออกซิไดซ์ได้ดี มีการใช้ในอาหารพวกสลัด หรือเป็นน้ำมันปรุงอาหาร และมาการีนและในการผลิตสบู่ ยา และน้ำมันหล่อลื่น และยังเป็นส่วนผสมของเครื่องสำอางบางชนิด เดิมนั้นงาอาจเป็นพืชพื้นเมืองของเอเชีย หรือตะวันออกของแอฟริกา แต่ปัจจุบันพบได้ในพื้นที่เขตร้อน กึ่งร้อน และร้อนทางใต้ในทุกเขตทั่วโลก ก่อนสมัยโมเสส ชาวไอยคุปต์ใช้เมล็ดงาป่นแทนแป้งธัญพืช ส่วนชาวจีนรู้จักงามาอย่างน้อยก็ 5,000 ปีมาแล้ว พวกเขาเผาเมล็ดงาเพื่อใช้ทำแท่งหมึกจีนที่คุณภาพดี ส่วนชาวโรมันบดเมล็ดงาผสมขนมปังเป็นอาหารรสดี ชาวไทยก็มีขนมที่ใช้เมล็ดงา เรียกว่า ขนมงาตัด ใช้งากวนกับน้ำตาล แล้วตัดเป็นแผ่น ในบางถิ่นมีความเชื่อว่าเมล็ดงามีอำนาจอาถรรพณ์ และยังปรากฏในนิทานเรื่อง อาหรับราตรี ตอน อาลีบาบา กับโจรทั้งสี่สิบ ซึ่งมีคำกล่าวว่า เปิดเมล็ดงา (Open sesame) ต้นงานั้นมีความสูงระหว่าง 0.5-2.5 เมตร ขึ้นกับสภาพที่ปลูก บางพันธุ์ก็มีกิ่งก้าน บ้างก็ไม่มี ที่แกนในแกนหนึ่งมีดอกราว 3 ดอก เมล็ดนั้นสีขาว ยาวราว 3 มิลลิเมตร เมื่อแห้ง เปลือกเมล็ดจะเปิดอ้า และเมล็ดจะหลุดออกมา การเก็บงาจึงต้องอาศัยแรงงานคนเพื่อมิให้เมล็ดงาร่วงหล่น ภายหลังเมื่อไม่นานมานี้ มีการพัฒนาพันธุ์มิให้เมล็ดแตะกระจาย ทำให้สามารถเก็บด้วยเครื่องจักรได้ หมวดหมู่:วงศ์งา หมวดหมู่:เครื่องเทศ.

ดู อันดับกะเพราและงา (พืช)

ตังเซียม

ตังเซียม (ภาษาจีนแต้จิ๋ว) หรือตานเซิน (ภาษาจีนกลาง) เป็นพืชอายุหลายปีในสกุล Salvia และเป็นพืชที่ใช้รากเป็นยาในตำรายาจีน เป็นพืชท้องถิ่นในจีนและญี่ปุ่น รากเปลือกนอกสีน้ำตาล หยาบเป็นรอยย่น ใช้เป็นยากระตุ้นการไหลเวียนเลือด ใช้รักษาฝี ตานเซิน มีสรรพคุณเกี่ยวกับโรคเลือดหลายๆ ด้านในทางศาสตร์แพทย์จีน จนได้รับฉายาว่า “ยาตัวเดียว สรรพคุณเหมือนยา 4 ตัว คือ ตำรับยา ชื่ออู้ทัง (四物汤) ทั้งตำรับซึ่งมีตัวยา 4 ตัวเลยทีเดียว”http://www.samluangclinic.com/index.php/blog/cat/Article_2010/post/Chinese_Medicine_0810/  กล่าวคือ ตำรับยา ซื่ออู้ทัง (四物汤) เป็นตำรับคลาสสิก เกี่ยวกับบำรุงเลือด และการปรับระบบเลือด ซึ่งครอบคลุมเรื่องของการบำรุงเลือด, สร้างเลือด, ขับเคลื่อนเลือด, สลายก้อนเลือด, ระงับอาการปวด (จากการอุดตันของเลือด) ตัวยาสำคัญของยาตำรับนี้คือ ตังกุย (当归), สูตี้ (.熟地.), ไป๋สาว (白芍), ชวนทรวง (川芎) ตานเซิน (丹参) ตัวเดียว มีสรรพคุณครอบคลุมทุกด้าน ตามตำรับยา ซื่ออู้ทัง ทุกประการ ในทางคลินิก จึงกล่าวถึงสรรพคุณหลักๆ ในการรักษาไว้ 4 ประการ                 1.

ดู อันดับกะเพราและตังเซียม

ตีนนก

กิ่งของต้นตีนนก ต้นตีนนกในป่า ต้นตีนนก ตีนนก หรือสมอตีนเป็ด ลือแบ ชื่อสามัญอื่นๆของพืชนี้ได้แก่ ในศรีลังกาเรียก "Milla" ในอินโดนีเซียเรียกลาบัน ในเกาะสุลาเวสีเรียก "gulimpapa" ในพม่าเรียก "kyetyo po" ในมาเลเซียเรียกเลอบัน "leban" และในฟิลิปปินส์เรียก "molave" เป็นไม้ต้นในวงศ์ Lamiaceae ลำต้นแตกเป็นสะเก็ด เปลือกสีเหลืองหรือสีน้ำตาล ใบประกอบแบบฝ่ามือ ดอกช่อ กลีบดอกสีน้ำเงินหรือสีม่วงเข้ม ผลเดี่ยวทรงกลม สุกแล้วเป็นสีม่วงเข้มจนเกือบดำ เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง ใช้เป็นยาขับลมในลำไส้ ใบใช้ตำแล้วพอกแผล ผลใช้แก้อาการบิด ไม้ใช้ทำเครื่องมือทางการเกษตรและที่อยู่อาศั.

ดู อันดับกะเพราและตีนนก

ต้อยติ่ง

thumb ต้อยติ่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Ruellia tuberosa) เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็กในวงศ์ Acanthaceae เติบโตได้ดีทั้งกลางแจ้งและในร่ม ต้นเจริญเต็มที่สูง 6½ นิ้ว ใบกลมรี ตาแตกยอดได้สี่ข้าง ออกดอกสีม่วงน้ำเงินเฉพาะตอนฤดูฝน เมื่อผสมเกสรแล้วจะให้เมล็ด ประมาณ 25-32 เมล็ดอยู่ในฝัก เมื่อฝักแก่จะกลายเป็นสีน้ำตาลหรือสีดำ พอฝักโดนน้ำ (โดยธรรมชาติคือน้ำฝน) ก็จะแตกออกทำให้เมล็ดกระเด็นไปตกที่อื่น ซึ่งเป็นเทคนิคของการขยายพันธุ์ (เด็ก ๆ ชอบเล่นโดยนำฝักแก่ใส่ลงในน้ำให้แตก) ชื่ออื่นที่เรียกเช่น อังกาบฝรั่ง, เป๊าะแป๊ะ, minnieroot, popping pod, cracker plant เป็นต้น รากของต้อยติ่งสามารถใช้เป็นยารักษาโรคไต โรคไอกรน หรือแม้แต่เป็นยาขับเลือด ถ้าใช้ในปริมาณที่เจือจางก็สามารถกำจัดสารพิษในเลือด บรรเทาอาการสารพิษตกค้างในปัสสาวะ ส่วนใบของต้อยติ่งสามารถใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ หรือใช้พอกแก้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อได้ แต่ต้อยติ่งมักจะถูกถอนทิ้งเพราะคนคิดว่าเป็นวัชพืช สรรพคุณของต้อยติ่ง สรรพคุณต้นต้อยติ่ง รากช่วยรักษาโรคไอกรน (ราก) รากใช้เป็นยาขับเลือด (ราก) รากต้อยติ่งสามารถนำมาใช้เป็นยารักษาโรคไตได้ (ราก) สรรพคุณต้อยติ่งฝรั่ง รากช่วยดับพิษในร่างกาย (ราก) ช่วยทำให้อาเจียน (ราก) สรรพคุณต้อยติ่ง ใบใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ (ใบ) รากหากนำมาใช้ในปริมาณที่เจือจางสามารถช่วยจำกัดสารพิษในเลือดได้ (ราก) ช่วยบรรเทาอาการสารพิษตกค้างในปัสสาวะ (ราก) ช่วยขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะพิการ (ราก) ใบใช้พอกแก้อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อได้ (ใบ) เมล็ดใช้พอกฝีเพื่อดูดหนองและช่วยลดการอักเสบ (เมล็ด) เมล็ดใช้พอกแผลเรื้อรัง ช่วยสมานบาดแผล แผลมีฝ้ามีหนอง และช่วยเรียกเนื้อ (เมล็ด) เมล็ดมีสรรพคุณช่วยทำให้แผลหายเร็วยิ่งขึ้น (เมล็ด) สรรพคุณสมุนไพรต้อยติ่ง เมล็ดช่วยแก้อาการผดผื่นคัน (เมล็ด) ต้อยติ่งทั้งต้นเอาชนิดที่ไม่แก่ ดอกยังไม่ร่วงโรย นำมาถอนเอาทั้งรากไม่ให้รากขาดและอย่าให้เมล็ดแตก ประมาณ 4-5 ต้น แล้วนำไปล้างน้ำให้สะอาด โขลกค้นเอาแต่น้ำมาดื่ม ตะช่วยแก้อาการปวดเข่า ขาชา ร้าวลงได้ ซึ่งใช้เวลาในการรักษาเพียง 7 วันก็หาย (ทั้งต้น) รากใช้ผสมเป็นยาแก้พิษ ดับพิษ และทำเป็นยาเบื่อ (ราก) ประโยชน์ของต้อยติ่ง ฝักใช้เป็นของเล่นของเด็กๆ ด้วยการสะสมฝักแก่จัด (สีน้ำตาลเข้มเกือบดำ) เก็บไว้ในที่แห้งเมื่อมีโอกาสก็นำมาจุ่มน้ำ (หรือน้ำลาย) แล้วเอาไปโยนใส่เพื่อนๆ สักพักหนึ่งฝักก็จะแตกตัวออกดังแป๊ะ พร้อมกับดีดเมล็ดออกโดยรอบ ทำให้เพื่อนตกใจหรือเจ็บคันๆ หรือบางครั้งก็แอบไปใส่ในกระเป๋าเสื้อ กระเป๋ากางเกง หรือแม้แต่คอเสื้อ ซึ่งแม้จะรู้ตัวแต่ก็มักจะเอาออกไม่ทัน ฝักก็จะแตกออกเสียก่อน (ฝัก).

ดู อันดับกะเพราและต้อยติ่ง

ฉัตรพระอินทร์

รรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลที่เกิดจากไฟไหม้น้ำร้อนลวก แก้คันจากกลากเกลื้อน หมวดหมู่:สมุนไพรไทย หมวดหมู่:วงศ์กะเพร.

ดู อันดับกะเพราและฉัตรพระอินทร์

ซ้อ

ซ้อ ภาษากะเหรี่ยงเรียกเก่อมาพอ เป็นไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว มีเลนติเซลบนกิ่งอ่อน เปลือกต้นสีขาวอมเทา ผิวเรียบ ดอกช่อ ดอกย่อยสีเหลืองอมน้ำตาล ผลสด เปลือกหนา แก่เป็นสีเหลือง เนื้อไม้แข็งแรงใช้ทำขันโตก ดอกมีรสหวาน ชาวกะเหรี่ยงใช้ทำผสมกับแป้งแล้วนำไปทำขนม ได้ขนมสีเหลือง ชาวขมุและชาวถิ่นใช้ไม้สร้างบ้านเรือน ชาวถิ่นใช้ทำไหนึ่งข้าว.

ดู อันดับกะเพราและซ้อ

ปิ้งขาว

ปิ้งขาว อยู่ในวงศ์ Lamiaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียกคอคอเดาะ เป็นไม้พุ่ม ใบเดี่ยว ผิวใบเกลี้ยงหรือมีขนเล็กน้อย ดอกช่อออกจามซอกใบและปลายกิ่ง มีขนปกคลุม กลีบดอกเป็นหลอด สีขาว ยอดอ่อนนำไปลวกจิ้มน้ำพริก ใบใช้ย้อมผ้าให้สีเขียว ผลสุกย้อมผ้าได้สีฟ้.

ดู อันดับกะเพราและปิ้งขาว

ปีบ

ปีบ หรือ กาสะลอง ในภาษาไทยถิ่นเหนือ เป็นไม้ยืนต้นสูงประมาณ 15 เมตร มีดอกรูปแตรสีขาวหอมอ่อน ๆ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ปีบยังมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกคือ เต็กตองโพ่ (กะเหรี่ยง กาญจนบุรี)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู อันดับกะเพราและปีบ

ปีบทอง

ปีบทอง, อ้อยช้าง หรือ กาสะลองคำ (ชื่ออื่น: กากี, สำเภาหลามต้น, จางจืด, สะเภา) เป็นไม้ต้นผลัดใบในวงศ์แคหางค่าง (Bignoniaceae) สูงประมาณ 10 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ใบเป็นประเภทใบประกอบแบบ 2-3 ชิ้น ใบย่อยรูปไข่ปลายใบแหลม ขึ้นตามธรรมชาติบนเทือกเขาหินปูนที่ค่อนข้างชื้น พบตั้งแต่พม่าตอนใต้ไปจนถึงเกาะไหหลำ ดอกมีสีเหลืองอมส้มหรือสีส้ม ออกเป็นกระจุกตามกิ่งและลำต้น กระจุกละ 5-10 ดอก บานไม่พร้อมกัน กลีบเลี้ยงรูปถ้วยสีม่วงแดง กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ยาว 4-7 เซนติเมตร ปลายเป็นแฉกสั้น ๆ 5 แฉก ผลเป็นฝัก ยาว 26-40 เซนติเมตร เมื่อแก่จะแตกเป็น 2 ซีก ปีบทองเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลประจำจังหวัดเชียงราย และเป็นเป็นพรรณไม้ประจำมหาวิทยาลัยสองแห่ง คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (เรียกว่า "กาสะลองคำ") และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (เรียกว่า "ปีบทอง").

ดู อันดับกะเพราและปีบทอง

นมสวรรค์

นมสวรรค์ หรือ พนมสวรรค์ (Pagoda flower) เป็นไม้ล้มลุก มีพุ่มขนาดกลาง สูงประมาณ 1 เมตร พบขึ้นในที่มีน้ำท่วมขังหรือริมน้ำ ลำต้นอยู่ใต้ดิน เป็นเหง้าเลื้อยในแนวขนานกับพื้น ใบเดี่ยวเรียงสลับ กว้าง 1-2 ซม.

ดู อันดับกะเพราและนมสวรรค์

นางแย้ม

นางแย้ม เป็นไม้พุ่มเนื้ออ่อน พบทั่วไปตามป่าของประเทศไท.

ดู อันดับกะเพราและนางแย้ม

นางแย้มป่า

นางแย้มป่า, พนมสวรรค์ป่า หรือ พวงสวรรค์ เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae เป็นพืชใกล้สูญพันธุ์ในไทย ไม้พุ่ม มีขนสั้นหนานุ่มปกคลุม กิ่งเป็นเหลี่ยม ดอกช่อ กลีบเลี้ยงรูประฆัง เกสรตัวผู้ 4 อัน ยื่นยาวพ้นกลีบดอก ผลเมล็ดเดียวแข็ง สีขาว กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดีย อินโดจีน เกาะสุมาตราจนถึงฟิลิปปินส์ ในคาบสมุทรมลายูใช้เปลือกลำต้นกินแทนหมาก.

ดู อันดับกะเพราและนางแย้มป่า

น้ำเต้าต้น

น้ำเต้าต้น (Calabash Tree) เป็นพืชในวงศ์แคหางค่าง (Bignoniaceae) มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลาง.

ดู อันดับกะเพราและน้ำเต้าต้น

แมงลัก

แมงลัก (ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum × citriodourum) เป็นพืชล้มลุกในสกุลกะเพรา-โหระพา แมงลักมีใบเล็ก สีอ่อน บอบบาง ช้ำง่ายและเหี่ยวง่ายกว่า ชื่อสามัญเดิมเรียกกันว่า hoary basil (hoary แปลว่าผมหงอก) โดยนำมาจากลักษณะที่มีขนอ่อนสีขาวๆ บริเวณก้านใบและยอดอ่อน ต่อมาก็เปลี่ยนมาเรียกว่า lemon basil ตามลักษณะกลิ่นที่คล้ายส้ม-มะนาว ส่วนแมงลักศรแดงของไทยเรียกว่า thai lemon basil แมงลักนำไปใช้ได้ทั้งใบและเมล็ด ใบมีกลิ่นฉุน ใช้ประกอบอาหารเช่นเดียวกับกะเพราและโหระพา ส่วนมากจะใช้รับประทานกับขนมจีน หรือใส่เครื่องแกงต่างๆ ส่วนเมล็ดแมงลักใช้ทำเป็นขนมอื่นๆ ได้ นอกจากนี้ เมล็ดแมงลักนำมาทำเป็นยาระบายและอาหารเสริมลดความอ้วนได้ แมงลักในประเทศไทยนั้น มี หลากหลายยี่ห้อและหลากหลายสายพันธุ์ ไม่ใช่ยี่ห้อดังยี่ห้อเดียวอย่างที่เข้าใจ ลักษณะพันธุ์ที่ดีใบต้องใหญ่พอดิบพอดี ไม่เล็กจนแคระแกร็น ดอกสีขาวเป็นชั้นๆ คล้ายฉัตร.

ดู อันดับกะเพราและแมงลัก

แมงลักคา

แมงลักคาหรือแมงลักป่า เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Lamiaceae ผิวลำต้นเรียบเป็นรูปสี่เหลี่ยม มีขนสีขาวสั้นปกคลุม เมื่อจับรู้สึกเหนียวติดมือ มีกลิ่นเฉพาะตัว ใบเดี่ยว ผิวใบสีเขียวมีขนนุ่ม ขอบใบหยักเล็กน้อย ดอกช่อ กลีบเลี้ยงสีเขียวเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 กลีบ เกสรตัวผู้สีเหลืองโผล่สูงเสมอช่อดอก ผลเดี่ยว สีเขียว โดยมีกลีบเลี้ยงรองรับ สุกแล้วเป็นสีดำ กิ่งและใบทุบแล้ววางในเล้าไก่เพื่อไล่ไรไก่ และเป็นพืชที่มีฤทธิ์ฆ่าแมลง.

ดู อันดับกะเพราและแมงลักคา

แววมยุรา

แววมยุรา เป็นพืชไม้ดอกล้มลุก สูงประมาณ 15-50 เซนติเมตร จะมีสีดอกหลายสี ทั้งสีแดง สีชมพู สีม่วงเข้ม สีม่วงอ่อน โคนกลีบจะมีสีขาว กลีบล่างอาจมีแต้มสีเหลือง จะออกเป็นช่อ กระจายตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ปลายแยกเป็น 5 แฉก จะมีขนาดไม่เท่ากัน ดอกจะบานทุกฤดูกาล.

ดู อันดับกะเพราและแววมยุรา

แสมขาว

แสมขาว เป็นพืชในป่าชายเลน สูงได้ถึง 30 เมตร พบได้ทั้งบริเวณหาดทรายและหาดเลนรากแผ่เป็นร่างแห และมีรากหายใจเป็นแท่งโผล่ขึ้นมา ใบมีลักษณะยาวรีกว่าแสมแบบอื่นๆ ใบจะซีดและมีสีอ่อนกว่าแสมดำและแสมทะเล ใบหนา อวบน้ำ ป้องกันการสูญเสียน้ำ มีต่อมเกลือ ขับเกลือออกทางผิวใบ ดอกสีขาวเหลือง มีสี่กลีบแบบเดียวกับแสมทะเลแต่ช่อดอกของแสมขาวเป็นช่อยาวกว่า ผลเป็นทรงหยดน้ำ ยาวกว่าผลแสมดำ ผลลอยน้ำได้.

ดู อันดับกะเพราและแสมขาว

แสมดำ

แสมดำ เป็นพืชในป่าชายเลน พบได้ทั้งหาดทรายปนเลนและหาดเลน รากเป็นร่างแห มีรากหายใจเป็นแท่งโผล่ขึ้นดิน เปลือกต้นเรียบ สีเขียวเข้มถึงเทาเข้ม ใบแตกตรงข้ามเป็นคู่ ใต้ใบไม่ซีดแบบแสมขาว ใบหนาอวบน้ำป้องกันการสูญเสียน้ำ มีต่อมเกลือที่ใบช่วยขับเกลือออก ดอกสีขาว-เหลือง 4 กลีบ เป็นช่อคล้ายดอกแสมขาว แต่ดอกใหญ่กว่า ผลเป็นรูปกระเปาะคล้ายแสมขาว แต่สั้นกว่า ผลเป็นรูปหยดน้ำ ปลายผลงอ มีขนสีน้ำตาลอ่อนคลุมทั้งผล ผลลอยน้ำได้.

ดู อันดับกะเพราและแสมดำ

แอฟริกันไวโอเล็ต

แอฟริกันไวโอเล็ต (African Violet หรือ Saintpaulias)เป็นพืชในวงศ์ Gesneriaceac มีถิ่นกำเนิดอยู่ตามแถบภูเขาในทางตอนเหนือของประเทศแทนซาเนีย และทางตอนใต้ของเคนยาในประเทศแอฟริกา พบครั้งแรกที่แทนซาเนีย เมื่อปี..

ดู อันดับกะเพราและแอฟริกันไวโอเล็ต

แอสเทอริด

แอสเทอริด (asterids) เป็นเคลดของพืชมีดอกในระบบ APG II พืชส่วนใหญ่ในเคลดนี้อยู่ใน Asteridae ในระบบ Cronquist และ Sympetalae ในระบบก่อนหน้านี้ สมาชิกประกอกด้ว.

ดู อันดับกะเพราและแอสเทอริด

แฮ่โกวเฉ่า

แฮ่โกวเฉ่าในภาษาจีนแต้จิ๋วหรือเซี่ยคูเฉ่าในภาษาจีนกลาง อยู่ในวงศ์ Lamiaceae พบได้ในเอเชีย ยุโรป และอเมริกาเหนือ ชาวเชอโรกีนำใบอ่อนไปปรุงสุกแล้วรับประทาน เป็นสมุนไพรจีน ช่อดอกสีน้ำตาลหรือม่วงอมน้ำตาล เมล็ดกลมรี สีน้ำตาล ช่อดอกใช้ทำยาขับความร้อน แก้แผลมีหนอง.

ดู อันดับกะเพราและแฮ่โกวเฉ่า

แคสันติสุข

แคสันติสุข เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Bignoniaceae ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ มีดอกย่อยจำนวนมาก โคนกลีบดอกรูประฆังสีขาวอมชมพู ปลายกลีบหยักเว้าและย่น ผลเป็นฝักรูปทรงกระบอก แห้งแล้วแตก เมล็ดแบนและมีปีกบางๆ ออกดอกเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ พบครั้งแรกที่อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น เมื่อ 16 กุมภาพัน..

ดู อันดับกะเพราและแคสันติสุข

แคทะเล

แคทะเล เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Bignoniaceae เปลือกแตกเป็นร่องเล็ก ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ผิวใบเรียบ ใบมัน ใบอ่อนออกสีเขียวอมแดง แก่แล้วเป็นสีเขียว ดอกเป็นดอกช่อ บานไม่พร้อมกัน ช่อดอกสั้น ดอกเป็นถ้วยปากแตรสีขาว ปลายกลีบดอกเป็นหยัก เกสรตัวผู้ 4 อัน ยาวไม่เท่ากัน ออกดอกตลอดปี ผลเดี่ยว ยาว ค่อนข้างแบน เมื่ออ่อนสีเขียวอมม่วง แก่เป็นสีน้ำตาลอมดำ แตกเป็น 2 ซีก ภายในมีเมล็ดมาก.

ดู อันดับกะเพราและแคทะเล

ใบเงินใบทอง

ใบเงินใบทอง (caricature plant, gold leaves) เป็นพืชในวงศ์เหงือกปลาหมอ (Acanthaceae) นิยมปลูกเป็นไม้ประดับและไม้มงคล.

ดู อันดับกะเพราและใบเงินใบทอง

โกฐก้านพร้าว

กฐก้านพร้าว อยู่ในวงศ์ Plantaginaceae เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี เหง้าอวบ เกาะเลื้อย ใบออกเป็นกระจุกใกล้เหง้า ก้านช่อดอกยาว ดอกย่อยสีฟ้าอ่อนจำนวนมาก มีขนหยาบแข็ง ผลแห้งแบบแคบซูล มีเมล็ดจำนวนมาก กระจายพันธุ์ในเขตเทือกเขาหิมาลัย ตั้งแต่ปากีสถาน จนกระทั่งรัฐอุตตรประเทศและแคชเมียร์ของอินเดีย จนถึงสิกขิมและเนปาล เหง้าของพืชชนิดนี้ตากแดดให้แห้ง ใช้ทำยา ลักษณะเป็นเหง้ายาว ทรงกระบอก เปลือกหนา ผิวมีรอยย่น สีน้ำตาลอมเทา ใช้แก้ไข้เรื้อรัง เสมหะเป็นพิษ ในอินเดียและศรีลังกาใช้เป็นยาขมเจริญอาหาร ใช้เป็นส่วนผสมในยาถ่ายหลายขนาน ในอินเดียบางแห่งใช้แก้พิษแมลงป่อง เป็นยาที่ใช้ในตำรับยาอายุรเวทของอินเดีย พืชชนิดนี้มีปลูกอยู่ทั่วไป แต่มีความต้องการให้อนุรักษ์ไว้ในป่าตามธรรมชาติด้ว.

ดู อันดับกะเพราและโกฐก้านพร้าว

โกฐขี้แมว

กฐขี้แมว อยู่ในวงศ์ Orobanchaceae ภาษาจีนกลางเรียกตี่หวาง ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียกตี่อึ้ง เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี มีขนปกคลุมทั่วทั้งต้น รากเป็นหัวใต้ดินอวบหนา รูปกระสวย เมื่อสดเป็นสีส้ม ใบออกที่โคนต้นเป็นกระจุก ดอกช่อออกตามซอกใบหรือปลายยอด เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศจีน ปัจจุบันมีปลูกเป็นการค้าในจีน ญี่ปุ่น และเกาหลี เพื่อนำรากมาทำยา รากสดเรียกเซียนตี่หวาง ใช้แก้ไข้ที่ทำให้คอแดง กระหายน้ำ ไอเป็นเลือด รากแห้งเรียกกานตี่หวาง ใช้แก้ไข้ ไอเป็นเลือด เลือดออกจากมดลูก แก้ท้องผูก รากที่เคี่ยวกับเหล้าแล้วนำมาตากแห้งเรียกซู่ตี่หวาง หรือเสกตี่อึ้งในภาษาจีนแต้จิ๋ว ใช้แก้ปวดตะโพก ปวดเบา แก้ร้อนใน กระหายน้ำ แก้โลหิตจาง ประจำเดือนมากเกินไป สารออกฤทธิ์ส่วนใหญ่เป็นไกลโคไซต์ อิชิคอ.

ดู อันดับกะเพราและโกฐขี้แมว

โรสแมรี

รสแมรี (Rosemary; Rosmarinus officinalis) เป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เป็นพืชพื้นเมืองของแถบเมดิเตอร์เรเนียน จัดอยู่ในวงศ์กะเพรา ใบมีรูปร่างคล้ายเข็ม ยาว 2-4 เซนติเมตร กว้าง 2-5 มิลลิเมตร มีกลิ่นหอม และเขียวอยู่ตลอดปี ด้านบนของใบมีสีเขียว ด้านท้องใบเป็นสีขาวและมีขนปกคลุม ดอกมีหลายสี เช่น สีขาว สีชมพู สีม่วง หรือสีฟ้า ใช้ปรุงอาหารทำให้มีกลิ่นหอม.

ดู อันดับกะเพราและโรสแมรี

ไลลัก

ลลัก (Lilac) หรือ ซิริงกา (Syringa) เป็นพืชดอกที่อยู่ในสกุลSyringaในวงศ์มะลิที่มีด้วยกันทั้งหมดราว 20 ถึง 25 สปีชีส์ เป็นพืชยืนต้นที่มีถิ่นฐานอยู่ในยุโรปและเอเชียFlora Europaea: Flora of China: Flora of Pakistan: Germplasm Resources Information Network: ไลลักเป็นพืชผลัดใบแบบพืชพุ่มหรือพืชต้นขนาดเล็กที่สูงตั้งแต่ราว 2 ถึง 10 เมตร และมีลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 20 ถึง 30 เซนติเมตร ออกดอกในฤดูใบไม้ผลิต้นฤดูร้อนแล้วแต่สายพันธุ์ แต่ละดอกมีเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 5 ถึง 10 เซนติเมตร สีม่วงต่าง ๆ ชมพู ขาว นวล และบางครั้งแดงเข้ม.

ดู อันดับกะเพราและไลลัก

ไส้กรอกแอฟริกา

้กรอกแอฟริกา เป็นพืชเพียงชนิดเดียวในสกุล Kigelia ในวงศ์ Bignoniaceae พบในเขตร้อนของแอฟริกาตั้งแต่เอริเทรียและชาด ไปจนถึงทางเหนือของแอฟริกาใต้ เซเนกัล และนามิเบี.

ดู อันดับกะเพราและไส้กรอกแอฟริกา

ไข่เน่า (พืช)

น่า หรือ ฝรั่งโคก หรือ ขี้เห็น หรือ คมขวาน เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบชนิดหนึ่ง ขนาดใหญ่ เจริญเติบโตดีในพื้นที่แห้งแล้ง นิยมปลูกเป็นไม้ร่มเงาเพราะไม่ผลัดใบ เริ่มให้ผลผลิตเมื่ออายุ 3-4 ปีหลังปลูก ช่วงพักต้นหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตต้องการความแล้ง ช่วงออกดอกติดผลต้องการน้ำสม่ำเสมอ ดอกติดผลปีละรุ่น ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศผสมตัวเองหรือต่างต้นต่างดอกได้ ออกดอกช่วงเดือน ม..- ก..

ดู อันดับกะเพราและไข่เน่า (พืช)

เพกา

กา (ชื่อสามัญ: Broken Bone tree,Damocles tree,Indian Trumpet Flower; ชื่อวิทยาศาสตร์: Oroxylum indicum (L) Kurz) เป็นพืชในวงศ์แคหางค่าง มีชื่อท้องถิ่นอื่นๆดังนี้: ดอก๊ะ ด๊อกก๊ะ ดุแก (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) เบโด (มาเลเซีย-นราธิวาส) มะลิดไม้ มะลิ้นไม้ (เหนือ) ลิ้นฟ้า หมากลิ้นฟ้า บ่าลิ้นไม้ (เลย) เพกาเป็นต้นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประเทศไทย โดยพบขึ้นอยู่ตามธรรมชาติในป่าเบญจพรรณและป่าชื้นทั่วๆไป แม้เพกาจะขึ้นอยู่ในหลายประเทศ แต่ดูเหมือนจะมีแต่ชาวไทยเท่านั้นที่นำเพกามากินเป็นผัก เพกาเป็นผักที่อยู่ในหมวดดอกฝัก.

ดู อันดับกะเพราและเพกา

เสลดพังพอน

ลดพังพอนตัวผู้ หรือ ชองระอา ชื่ออื่น พิมเสนต้น (ภาคกลาง) ทองระอา ช้องระอา ลิ้นงูเห่า คันชั่ง (ตาก) อังกาบ อังกาบเมือง (ไทย) ก้านชั่ง (พายัพ) เป็นไม้พุ่ม สีเขียวน้ำตาล สูงเต็มที่ประมาณ 2 เมตร ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ ใบมีลักษณะเรียงแคบ ผิวใบเกลี้ยง เส้นกลางใบมีสีแดง โคนก้านใบมีหนามสีม่วง ดอกช่อสีส้มเหลือง มีกลีบดอก 5 กลีบ เสลดพังพอน เป็นพืชสมุนไพร ใบใช้พอกฝี แก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย แก้ช้ำบวม ทั้งต้นใช้แก้ปวดฟัน น้ำคั้นจากใบใช้แก้อาการปวดจากเงี่ยงปลาแทง แก้ปวดฟัน เหงือกบวม ริดสีดวงทวาร ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย ใช้ใบสดกำจัดหู.

ดู อันดับกะเพราและเสลดพังพอน

เสี้ยวต้น

ี้ยวต้น เป็นไม้เลื้อยในวงศ์มะลิ ใบประกอบสามใบ ดอกช่อ มีดอกย่อยตั้งแต่ 12 ดอกขึ้นไป กลีบดอกเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5–6 กลีบ หอมแรง ออกดอกเดือนธันวาคม–กุมภาพันธ์ เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ เมื่อ 5 กุมภาพัน..

ดู อันดับกะเพราและเสี้ยวต้น

เสนียด

นียด (Malabar nut, adulsa, adhatoda, vasa, หรือ vasaka) เป็นไม้พุ่ม ใบเดี่ยว ดอกช่อ ดอกย่อยกลีบแยกเป็นปาก สีขาวประม่วง เป็นพืชสมุนไพรที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชีย กระจายทั่วไปในศรีลังกา เนปาล อินเดีย ปากีสถาน อินโดนีเซีย มาเลเซีย จีน และปานามา ทุกส่วนของลำต้นเมื่อรับประทานทำให้คลื่นไส้อาเจียน ชาวกะเหรี่ยงใช้รากต้มน้ำดื่มรักษาโรคหอบหืด เนื้อไม้ใช้ทำรั้วในใบมีสารเคมีหลายชนิด เช่น อัลคาลอยด์ แทนนิน ซาโพนิน ฟีโนลิก และฟลาโวนอยด์ สารที่สำคัญคือวาสิซีน ซึ่งเป็นควินาโซลีนอัลคาลอยด์ พบในปริมาณ 0.541 - 1.1% ของน้ำหนักแห้ง ใช้เป็นพืชสมุนไพรตามตำรับยาอายุรเวท สิทธะ และอูนานี ดอกเสนียดเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดปัญจาบ ประเทศปากีสถานอย่างไม่เป็นทางการ.

ดู อันดับกะเพราและเสนียด

เหลืองคีรีบูน

หลืองคีรีบูน (Nees; อังกฤษ: Lollypops)เป็นพืชในเขตกึ่งร้อน มีสีเขียวตลอดปี ดอกช่อสีเหลือง ออกดอกในช่วงอากาศอบอุ่น เป็นไม้ประดับที่นิยมใช้ในการจัดสวน.

ดู อันดับกะเพราและเหลืองคีรีบูน

เหลืองปรีดียาธร

หลืองปรีดียาธร (Silver trumpet tree, Tree of gold,Paraguayan silver trumpet tree) ไม้ยืนต้นชนิดหนึ่ง จำพวกตาเบบูยา มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลางและหมู่เกาะอินดีสตะวันตก.

ดู อันดับกะเพราและเหลืองปรีดียาธร

เหลี่ยงเคี้ยว

หมวดหมู่:สมุนไพรจีน.

ดู อันดับกะเพราและเหลี่ยงเคี้ยว

เหงือกปลาหมอ

หงือกปลาหมอ (Sea holly; ชื่อวิทยาศาสตร์ Acanthus ebracteatus; ชื่อท้องถิ่น: แก้มหมอ, แก้มหมอเล, จะเกร็ง, นางเกร็ง, อีเกร็ง, เหงือกปลาหมอน้ำเงิน) เป็นพรรณไม้ที่มีชื่อเสียงในจังหวัดสมุทรปราการ ขึ้นอยู่บริเวณชายฝั่งแม่น้ำลำคลอง อยู่บริเวณริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออกเหนือปากคลองมหาวงษ์และโรงเรียนนายเรือ ประโยชน์ของเหงือกปลาหมอนั้น เป็นสมุนไพรใกล้ตัวหรืออาจจะเรียกว่าสมุนไพรชายน้ำ/สมุนไพรชายเลนก็ได้ ช่วยรักษาโรคได้มากมายหลายชน.

ดู อันดับกะเพราและเหงือกปลาหมอ

เอียะบ้อเช่า

อียะบ้อเช่าในภาษาจีนแต้จิ๋วหรืออี้หมู่เฉ่าในภาษาจีนกลาง (yìmǔcǎo) อยู่ในวงศ์ Lamiaceae เป็นพืชท้องถิ่นในเอเชีย ตั้งแต่เกาหลี ญี่ปุ่น จีน จนถึง กัมพูชา ลำต้นมีขนสั้นๆปกคลุมใช้เป็นยาขับปัสสาวะ ขับสารพิษ ลดอาการบวม ทั้งต้นใช้เป็นยากระตุ้นการไหลเวียนเลือดและขับปัสสาวะ ไฟล์:Leonurus japonicus 01.JPG|brush ไฟล์:Leonurus japonicus 03.JPG|ดอก ไฟล์:Leonurus japonicus Blanco2.259.png|ต้น.

ดู อันดับกะเพราและเอียะบ้อเช่า

เอี้ยงเซียม

อี้ยงเซียมในภาษาจีนแต้จิ๋วหรือเสวียนเซินในภาษาจีนกลาง อยู่ในวงศ์ Scrophulariaceae เป็นพืชที่ใช้เป็นยาสมุนไพรในแพทย์แผนจีน รากแห้งด้านนอกเป็นสีเทาเหลือง ข้างในเป็นสีน้ำตาลดำ กลิ่นคล้ายน้ำตาลไหม้ใช้ทำยาแก้อักเสบ ขับร้อนรากใช้เป็นยาระบายความร้อน ขจัดสารพิษ.

ดู อันดับกะเพราและเอี้ยงเซียม

เทียนหยด

ทียนหยด (ชื่อวิทยาศาสตร์: Duranta repens L.; Duranta erecta L.; ชื่อสามัญ: Sky flower; Golden dew drop; Pigeon berry; Duranta; ชื่อวงศ์: VERBENACEAE) มีชื่อพื้นเมืองหลายชื่อ ได้แก่ เครือ (แพร่); พวงม่วง; ฟองสมุทร; เทียนไข (กรุงเทพฯ); สาวบ่อลด (เชียงใหม่)เป็นไม้พุ่มใบเป็นใบเดี่ยวรูปมนรีเรียว สอบไปทางปลาย ขอบใบเป็นหยักห่างๆออกดอกเป็นช่อห้อยตามปลายยอด ดอกมีสีม่วงมีกลีบดอก 5 กลีบ สามารถติดผลเป็นเม็ดกลมขนาดเล็กสีเหลืองคล้ายหยดเทียน ใช้ในการปลูกประดับทั่วไป เทียนหยดเป็นพืชที่มีพิษ โดย ผลสีส้มของเทียนหยด เป็นสารประกอบโปรตีนที่มีพิษ ไม่ควรรับประทาน หากรับประทานเข้าไปแล้วเคี้ยว อาจจะทำให้เสียชีวิตได้ (แต่ถ้าหากรับประทานเข้าไปแล้วไม่เคี้ยว จะไม่ก่อให้เกิดอันตราย) ภาพ:thianyot-thai.jpg|เทียนหยดไทย ภาพ:thianyot.jpg|เทียนหยดญี่ปุ่น.

ดู อันดับกะเพราและเทียนหยด

เทียนเกล็ดหอย

ทียนเกล็ดหอย อยู่ในวงศ์ Plantaginaceae เป็นไม้ล้มลุก ทั้งต้นมีขนปกคลุมหนาแน่น ดอกช่อ ก้านช่อดอกยาว ดอกย่อยรวมเป็นกระจุกที่ปลาย เมล็ดรูปไข่หรือรี สีน้ำตาลหรือน้ำตาลอมชมพู เมล็ดพองตัวเมื่อถูกน้ำ ใช้เป็นยาระบาย เป็นแหล่งของเส้นใยรับประทานได้ ใช้แก้ลม โลหิตจาง บิดเรื้อรัง มีปลูกในประเทศอินเดีย เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันตกและเอเชียใต้ มีปลูกในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริก.

ดู อันดับกะเพราและเทียนเกล็ดหอย

เท้ายายม่อมตัวเมีย

ระวังสับสนกับ เท้ายายม่อม เท้ายายม่อมตัวเมีย (S. Moore) มีชื่ออื่น ๆ ว่า เท้ายายม่อม, เท้ายายม่อมดอกขาว, พญารากเดียว, ไม้เท้าฤๅษี, ปู้เจ้าหายใจไม่รู้ขาด หรือไม้เท้ายายม่อม เป็นพืชในวงศ์กะเพรา (Lamiaceae) ลำต้นตรง ไม่ค่อยมีกิ่งก้าน ใบเดี่ยว ออกตามข้อ ดอกออกเป็นช่อ โคนกลีบเชื่อมกันเป็นหลอด สีขาว ผลกลม สุกเป็นสีดำ พืชชนิดนี้ เป็นพืชคนละชนิดกับเท้ายายม่อม (Tacca leontopetaloides) ที่มีหัวซึ่งนำไปทำเป็นแป้งเท้ายายม่อม แต่รากของพืชชนิดนี้มีสรรพคุณเป็นยาแก้ไข้และถอนพิษ และใบสามารถนำไปสูบแทนกัญชาได้.

ดู อันดับกะเพราและเท้ายายม่อมตัวเมีย

เขี้ยวฟาน

ี้ยวฟาน หรือ หำฟาน เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Oleaceae ลำต้นและกิงอ่อนมีขนสีนวลเทา ใบเดี่ยว ดอกช่อ ออกที่ซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย กลีบดอกสีขาว ผลเมื่ออ่อนสีเขียว ผลแก่สีม่วงหรือสีดำ ร่วงง่าย ใบมีรสเผ็ด ชาวไทยอีสานนำมารับประทานกับหมากแทนใบพลูได้.

ดู อันดับกะเพราและเขี้ยวฟาน

เข็มม่วง

็มม่วง (Violet Ixora; Lindau)เป็นไม้ป่าใน ประเทศ พบมากในป่าทางภาคใต้ เป็นไม้พุ่มเตี้ย สูง ประมาณเมตรเศษๆ ลำต้นเล็ก กิ่งก้านเปราะและมีสาขา ไม่มากนัก ใบยาวรี ผิวใบสาก ออกเป็นคู่ตามข้อต้น ดอกออกเป็นช่อตั้งตามยอด สีม่วง คล้ายดอกเข็ม แต่ ดอกไม่เกาะกลุ่มแน่นอย่างเข็ม ให้ดอกตลอดปี แต่โรยเร็ว ดอกมากในช่วงเดือน มกราคม-กุมภาพันธ์ ขยายพันธุ์ด้วยการตอนหรือตัดกิ่งปักชำ เป็นไม้ประดั.

ดู อันดับกะเพราและเข็มม่วง

เครือออน

รือออน อยู่ในวงศ์ Lamiaceae เป็นไม้เถาขนาดใหญ่ เลื้อยพันบนต้นไม้อื่น ลำต้นมีขนนุ่ม ดอกช่อออกตามปลายกิ่ง สีชมพูอมม่วง ใบบดอังไฟให้ร้อน พอกบริเวณถูกสัตว์มีพิษ ทั้งต้นต้ำน้ำดื่มแก้ไอ ขับปัสสาว.

ดู อันดับกะเพราและเครือออน

เฉาก๊วย (พืช)

เฉาก๊วยในรูปแบบอาหารว่าง เฉาก๊วย หรือ หญ้าเฉาก๊วย (xiancao (仙草, 仙人草, 仙草舅, 涼粉草) ใน ภาษาจีนกลาง, sian-chháu ในภาษาจีนไต้หวัน, leung fan cao (涼粉草) ใน ภาษาจีนกวางตุ้ง sương sáo ใน ภาษาเวียดนาม) เป็นพืชในจีนัส Mesona ในตระกูลเดียวกับมินต์ (พืชจำพวกสะระแหน่) มักพบในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เช่น ทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีน ไต้หวัน ชอบขึ้นในหุบเขาที่ดินทรายแห้งมีหญ้าขึ้น มีความสูงราว 15–100 ซม.

ดู อันดับกะเพราและเฉาก๊วย (พืช)

เปปเปอร์มินต์

ปปเปอร์มินต์ เป็นมินต์พันธุ์ผสมระหว่างมินต์น้ำกับสเปียร์มินต์ มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ทวีปยุโรปและตะวันออกกลาง ปัจจุบันเพาะปลูกกันอย่างกว้างขวางในหลายบริเวณทั่วโลก สามารถพบได้ในป่ากับสายพันธุ์ดั้งเดิมเป็นบางครั้ง.

ดู อันดับกะเพราและเปปเปอร์มินต์

Jacaranda mimosifolia

รีตรัง เป็นไม้ต้นผลัดใบขนาดกลางในวงศ์แคหางค่าง มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ แต่เนื่องจากออกดอกเป็นช่อใหญ่และมีสีสวยงามจึงได้รับการนำไปปลูกเป็นไม้ประดับอย่างกว้างขวางทั่วโลก เช่นที่รัฐแคลิฟอร์เนียและรัฐฟลอริดาของสหรัฐอเมริกา ชายฝั่งทะเลทางภาคใต้ของโปรตุเกส ชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของสเปนและอิตาลี แอฟริกาใต้ แซมเบีย ออสเตรเลีย เป็นต้น ศรีตรังชนิด J.

ดู อันดับกะเพราและJacaranda mimosifolia

Jacaranda obtusifolia

รีตรัง หรือ แคฝอย เป็นไม้ต้นผลัดใบขนาดกลางในวงศ์แคหางค่าง ปลูกเป็นไม้ประดับ สูง 4-10 เมตร เรือนยอดโปร่ง เปลือกสีน้ำตาลอมขาว แตกล่อนเป็นแผ่นบางตามยาวคล้ายกระดาษ ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น เรียงตรงกันข้าม ใบย่อย 12-21 คู่ เรียงตรงข้าม ใบรูปขอบขนานแกมรูปเหลี่ยมข้าวหลามตัด มีขนาดเล็ก กว้าง 0.5-0.7 เซนติเมตร ยาว 1-1.5 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบเบี้ยว เส้นแขนงใบข้างละ 4-5 เส้น ก้านใบหลักยาว 7-11 เซนติเมตร ก้านใบประกอบยาว 4-8 มม.

ดู อันดับกะเพราและJacaranda obtusifolia

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Lamiales

ราชาวดีรางจืดรุ่งอรุณลาเวนเดอร์ลาเวนเดอร์สามัญลิ้นงูเห่าวงศ์กะเพราวงศ์มะลิวงศ์มณเฑียรทองวงศ์ว่านไก่แดงวงศ์สร้อยสุวรรณาวงศ์ผกากรองวงศ์ดอกดินวงศ์งาวงศ์แคหางค่างวงศ์เหงือกปลาหมอวงศ์เทียนเกล็ดหอยว่านดอกสามสีสกุลอังกาบสกุลแคตนิปสร้อยสุวรรณาสร้อยอินทนิลสะระแหน่สัก (พรรณไม้)สาหร่ายข้าวเหนียวสำมะงาสเปียร์มินต์หญ้าหนวดแมวหญ้าเหล็กขูดหญ้าเอ็นยืดหอมหมื่นลี้หัวฆ้อนกระแตห้อมห้อมช้างออริกาโนอัคคีทวารอังกาบอังกาบสีปูนอังกาบหนูอึ่งงิ้มฮิอิรากิ (พืช)ฮ่อสะพายควายผกากรองผักอีหลืนผักแขยงผีเสื้อแสนสวยถั่วด้วงถุงมือจิ้งจอกทองพันชั่งทองอุไรทิพเกสรทิ้งทองหูขี้เห็นข่อยดำข้าวตอกพระร่วง (พืช)ดอกดิน (พืช)ดาดตะกั่วดุสิตาดีปลากั้งด่าง (พืช)คนทีสอทะเลงวงสุ่มงา (พืช)ตังเซียมตีนนกต้อยติ่งฉัตรพระอินทร์ซ้อปิ้งขาวปีบปีบทองนมสวรรค์นางแย้มนางแย้มป่าน้ำเต้าต้นแมงลักแมงลักคาแววมยุราแสมขาวแสมดำแอฟริกันไวโอเล็ตแอสเทอริดแฮ่โกวเฉ่าแคสันติสุขแคทะเลใบเงินใบทองโกฐก้านพร้าวโกฐขี้แมวโรสแมรีไลลักไส้กรอกแอฟริกาไข่เน่า (พืช)เพกาเสลดพังพอนเสี้ยวต้นเสนียดเหลืองคีรีบูนเหลืองปรีดียาธรเหลี่ยงเคี้ยวเหงือกปลาหมอเอียะบ้อเช่าเอี้ยงเซียมเทียนหยดเทียนเกล็ดหอยเท้ายายม่อมตัวเมียเขี้ยวฟานเข็มม่วงเครือออนเฉาก๊วย (พืช)เปปเปอร์มินต์Jacaranda mimosifoliaJacaranda obtusifolia