โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อักษรละติน

ดัชนี อักษรละติน

อักษรละติน หรือ อักษรโรมัน เป็นระบบตัวเขียนแบบตัวอักษร สันนิษฐานว่าอักษรละตินมีที่มาจากอักษรคิวมี (Cumae alphabet) ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรกรีกอีกทอดหนึ่ง ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก โดยเฉพาะประเทศในยุโรปและอเมริกา และประเทศในเอเชียที่นำอักษรละตินมาใช้ในภายหลังเช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศมาเลเซีย ประเทศเติร์กเมนิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศตุรกี และประเทศฟิลิปปินส์ รวมถึงการเขียนภาษาด้วยอักษรโรมัน (romanization) ในภาษาต่างๆ เช่น พินอิน (ภาษาจีน) หรือ โรมะจิ (ภาษาญี่ปุ่น).

642 ความสัมพันธ์: AA (แก้ความกำกวม)ÊÎŁÏĤĦŦĨĬŬĴชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์ชาวอุซเบกบาอ์ชิชะโมะ (วงดนตรี)บิบโค้ดชีนชีนโลนบ๊อบเกิร์ลส์ฟังก์ชันบ่งชี้พระบรมรูปทรงม้าพระโพธิสัตว์พระโพธิธรรมพอดกอรีตซาพาย (ค่าคงตัว)พินอินกรุงเทพมหานครกลุ่มภาษาอิหร่านกลุ่มภาษาคอเคซัสใต้กลุ่มภาษาเซมิติกการพักรบการยึดครองกัมพูชาของญี่ปุ่นการถอดภาษาเกาหลีด้วยอักษรโรมันการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถานการถอดเสียงการถอดเป็นอักษรโรมันการทับศัพท์การทับศัพท์ภาษาพม่าการทับศัพท์ภาษาฮินดีการทับศัพท์ภาษาจีนการทับศัพท์ภาษาเวียดนามการตั้งชื่อดาวแปรแสงกางเขนกุ้ยหยางภาษาชวาภาษาชองภาษาบาลูจิภาษาบาลี...ภาษาบาสก์ภาษาบาหลีภาษาบาเลนเซียภาษาชินบอนภาษาบูกิสภาษาบูร์ยัตภาษาบูเดะห์ สเตียงภาษาบ้าบ๋าภาษาฟาลัมภาษาฟิลิปีโนภาษาฟินิเชียภาษาฟีจีภาษาพัชโตภาษาพังคัวภาษาพาววาแทนภาษาพทคะภาษากรีนแลนด์ภาษากอกบอรอกภาษากะยันภาษากะยาตะวันตกภาษากะดูภาษากะตูตะวันออกภาษากะเหรี่ยงภาษากะเหรี่ยงสะกอภาษากะเหรี่ยงเฆโกภาษากังเตภาษากากาอุซภาษาการากัลปักภาษากาสีภาษากิมมุนภาษากงกณีภาษาฝรั่งเศสภาษามรูภาษามลายูภาษามลายูบรูไนภาษามลายูบ้าบ๋าภาษามลายูปัตตานีภาษามอลตาภาษามอคชาภาษามากัสซาร์ภาษามาราภาษามาลายาลัมภาษามาดูราภาษามาเลเซียภาษามึนภาษามนองกลางภาษามนองตะวันออกภาษาม้งภาษายูการิติกภาษายูฮูรีภาษาระแดภาษาราวางภาษาละตินภาษาลักภาษาลัมกังภาษาลาฮูภาษาลาดักภาษาลาดิโนภาษาลาซภาษาลิทัวเนียภาษาลีสู่ภาษาวาคีภาษาวาไรภาษาสวีเดนภาษาสันสกฤตภาษาสันถาลีภาษาสโลวีเนียภาษาสเปนภาษาสเปนเก่าภาษาหมิ่นใต้ภาษาอบาซาภาษาอะชางภาษาอะดีเกยาภาษาอักลันภาษาอัลไตภาษาอัสตูเรียสภาษาอาบุยภาษาอาบีโนมภาษาอาหรับภาษาอาหรับเลบานอนภาษาอาเซอร์ไบจานภาษาอิดอภาษาอิตาลีภาษาอินโดนีเซียภาษาอินเทอร์ลิงกวาภาษาอุยกูร์ภาษาอุซเบกภาษาอูรดูภาษาอีบันภาษาอีบาไฮภาษาอีโลกาโนภาษาอตายัลภาษาอนัลภาษาฮมาร์ภาษาฮังการีภาษาฮากาภาษาฮารอยภาษาฮาวายภาษาฮินดีฟีจีภาษาฮีบรูภาษาฮเรภาษาจามตะวันตกภาษาจารายภาษาจิตตะกองภาษาจีนหมิ่นภาษาจ้วงภาษาทัวเร็กภาษาทาจิกภาษาทาโดภาษาของชาวยิวภาษาดาไอภาษาดุงกานภาษาครีภาษาคลิงงอนภาษาคอร์นวอลล์ภาษาคากัสภาษาคาราไช-บัลคาร์ภาษาคาซัคภาษาคาซาร์ภาษาคูมีภาษาคูมี อวาภาษาคีร์กีซภาษางายูภาษางาลาภาษาตอว์ภาษาตังซาภาษาตั่ยภาษาตากาล็อกภาษาตาตาร์ภาษาตาตาร์ไครเมียภาษาตุรกีภาษาตุรกีออตโตมันภาษาตูโรโยภาษาตงเซียงภาษาต้งภาษาซาริโกลีภาษาซุกนีภาษาซุนดาภาษาปังกาซีนันภาษานอร์สโบราณภาษาน่าซีภาษาแบชเคียร์ภาษาแฟโรภาษาแอราเมอิกภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรียภาษาแอลเบเนียภาษาโบโดภาษาโกโฮภาษาโรกลายเหนือภาษาโรฮีนจาภาษาโลทาภาษาโวลอฟภาษาโวลาปุกภาษาโสราภาษาโทภาษาโคมิภาษาโครยอ-มาร์ภาษาโซภาษาโปรตุเกสภาษาโนไกภาษาไมโซภาษาไอริชภาษาไอซ์แลนด์ภาษาไอนุภาษาไทยภาษาไตโดภาษาไซเฟภาษาไปเตภาษาเชอโรกีภาษาเบาม์ภาษาเชเชนภาษาเกชัวภาษาเมโมนีภาษาเรียงภาษาเรเงาภาษาเลอเวือะภาษาเลาโวภาษาเลปชาภาษาเวลส์ภาษาเวียดนามภาษาเสาราษฏร์ภาษาเอสเปรันโตภาษาเดนมาร์กภาษาเครียมชากภาษาเคิร์ดภาษาเคิร์ดตอนกลางภาษาเคิร์ดเหนือภาษาเงาน์ภาษาเตมวนภาษาเติร์กเมนภาษาเตดิมภาษาเซอร์เบียภาษาเซดังภาษาเซนทังภาษาเซไมมะซะกิ ซะโตมังกะยอชวามามามูมิกิ โนะนะกะยาคูลท์ยาแก้ซึมเศร้ายูริ กาการินยูนิโคดย้อดรหัสท่าอากาศยาน IATAระบบกระทรวงวัฒนธรรมเกาหลี 2000ระบบการเขียนภาษาบาลีระบบการเขียนในอเมริกากลางรายชื่อรหัสอัจฉริยะใน เกมจารชน คู่หูอันตรายรายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรรายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามทิศทางการเขียนรายชื่อธงในประเทศมอลตารายชื่อธงในประเทศลัตเวียรายชื่อธงในประเทศออสเตรเลียรายชื่อธงในประเทศอุซเบกิสถานรายชื่อธงในประเทศทาจิกิสถานรายชื่อธงในประเทศแอฟริกาใต้รายชื่อถนนในกรุงเทพมหานครรายชื่อถนนในจังหวัดนนทบุรีรายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานครรายชื่อทางแยกในจังหวัดอ่างทองรายชื่อทางแยกในจังหวัดนนทบุรีรายชื่อทางแยกในเขตบางบอนรายชื่อทางแยกในเขตบางพลัดรายชื่อทางแยกในเขตบางกอกน้อยรายชื่อทางแยกในเขตบางกอกใหญ่รายชื่อทางแยกในเขตบางกะปิรายชื่อทางแยกในเขตบางรักรายชื่อทางแยกในเขตบางขุนเทียนรายชื่อทางแยกในเขตบางคอแหลมรายชื่อทางแยกในเขตบางซื่อรายชื่อทางแยกในเขตบางนารายชื่อทางแยกในเขตบางแครายชื่อทางแยกในเขตบางเขนรายชื่อทางแยกในเขตบึงกุ่มรายชื่อทางแยกในเขตพญาไทรายชื่อทางแยกในเขตพระนครรายชื่อทางแยกในเขตพระโขนงรายชื่อทางแยกในเขตภาษีเจริญรายชื่อทางแยกในเขตมีนบุรีรายชื่อทางแยกในเขตยานนาวารายชื่อทางแยกในเขตราชเทวีรายชื่อทางแยกในเขตราษฎร์บูรณะรายชื่อทางแยกในเขตลาดพร้าวรายชื่อทางแยกในเขตลาดกระบังรายชื่อทางแยกในเขตวัฒนารายชื่อทางแยกในเขตวังทองหลางรายชื่อทางแยกในเขตสวนหลวงรายชื่อทางแยกในเขตสะพานสูงรายชื่อทางแยกในเขตสัมพันธวงศ์รายชื่อทางแยกในเขตสายไหมรายชื่อทางแยกในเขตสาทรรายชื่อทางแยกในเขตหลักสี่รายชื่อทางแยกในเขตหนองจอกรายชื่อทางแยกในเขตหนองแขมรายชื่อทางแยกในเขตห้วยขวางรายชื่อทางแยกในเขตจอมทองรายชื่อทางแยกในเขตจตุจักรรายชื่อทางแยกในเขตธนบุรีรายชื่อทางแยกในเขตทวีวัฒนารายชื่อทางแยกในเขตทุ่งครุรายชื่อทางแยกในเขตดอนเมืองรายชื่อทางแยกในเขตดินแดงรายชื่อทางแยกในเขตดุสิตรายชื่อทางแยกในเขตคลองสามวารายชื่อทางแยกในเขตคลองสานรายชื่อทางแยกในเขตคลองเตยรายชื่อทางแยกในเขตคันนายาวรายชื่อทางแยกในเขตตลิ่งชันรายชื่อทางแยกในเขตประเวศรายชื่อทางแยกในเขตปทุมวันรายชื่อทางแยกในเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายรายชื่อดาราบนฮอลลีวูดวอล์กออฟเฟมรายชื่อนักมวยสากลที่เป็นแชมป์ประเทศไทยรายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ทาจิกีสถานรายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์คีร์กีซสถานราโบชายา มาร์เซลเยซาละตินลาเมดลูมินอลวอยวอดีนาวาฟวิกิพีเดียภาษาคาซัควิวัฒนาการของมนุษย์วีไอศริพจน์ภาษาไทย์ศรีลังกามาตาษาลสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายี)สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวียสยามสระ (สัทศาสตร์)สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียสัทอักษรสากลสำเพ็งสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์สไมล์.ดีเคหมู่บ้านจะปยีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะออกอแนกออย์ซีเยทลามัยสกาซอรออะพอสทรอฟีอักษรอักษรชวาอักษรบาหลีอักษรบาตักอักษรฟินิเชียอักษรกรีกอักษรกลุ่มเกาะแคโรไลน์อักษรกันนาดาอักษรกเปลเลอักษรญี่ปุ่นอักษรมองโกเลียอักษรมายาอักษรมาลายาลัมอักษรม้งอักษรย่ออักษรรูมีอักษรรูนอักษรรูนส์ ฮังการีอักษรละติน/ผังยูนิโคดอักษรลาวอักษรลนตาราอักษรสันถาลีอักษรสำหรับภาษาฟูลาอักษรอริยกะอักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมันอักษรอิตาลีโบราณอักษรอินุกติตุตอักษรอุยกูร์อักษรอี๋อักษรฮีบรูอักษรจามอักษรทมิฬอักษรทีบันอักษรครีอักษรคาร์เรียอักษรคุชราตอักษรคุรมุขีอักษรตระกูลเซมิติกอักษรตัวใหญ่อักษรซีริลลิกอักษรนดยุกาอักษรน่าซีอักษรโรโงโรโงอักษรโลมาอักษรโสรัง สมเป็งอักษรโอจิบเวอักษรโซมาลีอักษรไอริชอักษรไทยอักษรไทน้อยอักษรเบยทากุกจูอักษรเชอโรกีอักษรเบงกาลีอักษรเมนเดอักษรเอลบ์ซานอักษรเอธิโอเปียอักษรเทวนาครีอักษรเตลูกูอักษรเซลติเบเรียนอักษรเปโกนอัลลาห์ ลันจุตคัน อุเซีย สุลต่านอัลซะลามอัลมะละกีอัลอูร์โดนีอายินอายูมิ อิชิดะอาดุลฟุราตอยนีวาตานอาเลฟอิปไซลอนอุรุมชีฮะรุกะ คุโดฮ่องกงจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซียจินเหมาทาวเวอร์จื๋อโกว๊กหงือจื๋อโนมจู้อินธรรมกายธงชาติบราซิลธงชาติรัสเซียธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวียธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนียธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจานธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิชธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัคธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนียธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมนธงชาติสาธารณรัฐโดมินิกันธงชาติอาเซอร์ไบจานธงชาติจอร์เจียธงชาติเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ถนนทรงวาดถนนตกทอร์นทะเลสาบไบคาลทางหลวงสายเอเชียทซาธอกกวาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิขั้นตอนวิธีเชิงสัทลักษณ์ข้อเขียนพนาโคติกดมีตรี เมนเดเลเยฟดับเบิลเกรฟแอกเซนต์ดาวหางดาวเคราะห์นอกระบบดาเลทคอฟคาฟคำยืมค่าคงตัวตรรกศาสตร์ตราแผ่นดินของมาเลเซียตราแผ่นดินของสหภาพโซเวียตตราแผ่นดินของสิงคโปร์ตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ดตัวเขียนต้งซะกุระ โอะดะซัดดัม ฮุสเซนซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์ซายินซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน)ซิดิลลาซีนีชา มิไฮโลวิชซีโควยาประวัติศาสตร์อักษรประเทศโรมาเนียประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกรปูร์เกอตูแมมอองกอร์นการากูนามสกุลนานจีโตะนิวกันดั้มนูนนีโครโนมิคอนนครราชแอสกีแผนภาพเวนน์แทมมารีน ธนสุกาญจน์แคว้นตอสคานาแนวร่วมประชาธิปไตยแห่งชาติโบโดแลนด์แนวลาวฮักซาดโรโรมันโรมาจิโทรทัศน์โคลงโลกนิติโซคคาร์ ดูคาเยฟโน้ตดนตรีไวยากรณ์ภาษาเปอร์เซียไอไทป์เฟซไซคลอปส์เพ (ตัวอักษร)เพลงชาติมัลดีฟส์เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนียเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมนเพลงตัวอักษรของภาษาอังกฤษเกรฟแอกเซนต์เมร์ ไฮเรนิกเม็มเรชเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์เรือพระที่นั่งอนันตนาคราชเรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9เรือพาลีรั้งทวีปเรือกระบี่ราญรอนราพณ์เรือกระบี่ปราบเมืองมารเรือสุครีพครองเมืองเรือหลวงธนบุรีเรืออสุรวายุภักษ์เรืออสุรปักษีเรือทองบ้าบิ่นเรือทองขวานฟ้าเรือครุฑเตร็จไตรจักรเรือเอกไชยหลาวทองเรือเอกไชยเหินหาวเลขฐานสามสิบหกเวทเทอร์เกิลส์เวด-ไจลส์เสียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้องเสียงนาสิก ปลายลิ้นม้วนเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้องเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้องเส้นเวลาของประวัติศาสตร์โบราณเอ ริกิพเอบีซีเอสเซทท์เอโอเอเฮ (ตัวอักษร)เฮ สลาฟเฮทเจียง เจ๋อหมินเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงเขตปกครองตนเองทิเบตเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์เด เวอร์มิส มิสเทรีสเดชาวัต พุ่มแจ้งเครื่องร่อนกิมลี่เครื่องหมายเสริมสัทอักษรเคาะซแวโตะเฉิงตูŻĜŌŜÃŃĈÑÒĂÇŅËÛĀBCCh (ทวิอักษร)DDzs (สัทศาสตร์)EȨʻOkinaFGHHomo erectusIISO 11940ISO 3166ISO 3166-1ISO 4217ISO 639-3JKLMNOҐҺPh (ทวิอักษร)QRRr (ทวิอักษร)STTh (ทวิอักษร)UVWXX (แก้ความกำกวม)Xh (ทวิอักษร)YZКЎЁАНРСТФХЦЧШЭЈИЖЗБВЂДЕЅЋ26 ขยายดัชนี (592 มากกว่า) »

A

A (ตัวใหญ่: A, ตัวเล็ก: a) คืออักษรและสระตัวแรกในอักษรละติน มีชื่อในภาษาอังกฤษว่า เอ ในขณะที่หลายภาษาเช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี เรียกตามชื่อเดิมของอักษรนี้คือ อา รูปพหูพจน์เขียนเป็น A's, As, as, หรือ a's อักษร A มีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคอียิปต์โบราณโดยมีหลักฐานในอักษรภาพไฮโรกลิฟฟิก และมีการหยิบยืมไปใช้โดยวัฒนธรรมอื่นจนกระทั่งปัจจุบัน โดยยังคงไว้ซึ่งจุดเด่นนั่นคือ A เป็นตัวอักษรแรกของชุดตัวอักษรในภาษาเสมอ ใช้แทนเสียงสระ อา เอ หรือ แอ ที่ประกอบกับเสียงพยัญชนะ หรือใช้แทนเสียงสระอย่างเดียวก็ได้ นอกจากนั้นอักษร A ก็มีการเติมเครื่องหมายและถูกดัดแปลงไปหลายรูปแบบเพื่อการนำไปใช้เป็นอักขรวิธีในภาษาหนึ่ง.

ใหม่!!: อักษรละตินและA · ดูเพิ่มเติม »

A (แก้ความกำกวม)

A เป็นอักษรตัวแรกในอักษรโรมัน แต่ยังอาจหมายถึง.

ใหม่!!: อักษรละตินและA (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

Ê

ตัวอักษร Ê (ตัวเล็ก: ê) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน E ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียง.

ใหม่!!: อักษรละตินและÊ · ดูเพิ่มเติม »

Î

ตัวอักษร Î (ตัวเล็ก: î) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน I ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน ได้ถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงเป็น.

ใหม่!!: อักษรละตินและÎ · ดูเพิ่มเติม »

Ł

ตัวอักษร Ł (ตัวเล็ก: ł) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน L ที่มี แถบเส้น อยูด้านตรงกลางบิดงอโค้งรัดเส้น โดยถูกใช้บริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลเสียงนี้แสดงโดยสัญลักษณ์ Ł เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาโปแลนด์และภาษาคาชูเบียน.

ใหม่!!: อักษรละตินและŁ · ดูเพิ่มเติม »

Ï

ตัวอักษร Ï (ตัวเล็ก: ï) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน I ที่มีอุมเล้าท์และไดแอร์เรซิส (umlaut, diaeresis) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากล.

ใหม่!!: อักษรละตินและÏ · ดูเพิ่มเติม »

Ĥ

ตัวอักษร Ĥ (ตัวเล็ก: ĥ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน H ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดยสัญลักษณ์ ซึ่งมักจะใช้แทนเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง Ĥ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: อักษรละตินและĤ · ดูเพิ่มเติม »

Ħ

Ħ/ħ เป็นอักษรละตินตัวที่ 10 ของ ภาษามอลตา ที่มี เส้นด้านบน ตรงกันกับ อักษร H หรือ I ทำให้ระบบการเขียนตัวอักษร Ħ ในคีย์บอร์ดของภาษามอลต.

ใหม่!!: อักษรละตินและĦ · ดูเพิ่มเติม »

Ŧ

Ŧ/ŧ เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน T ที่มีแถบเส้น (bar, stroke sign) อยู่ด้านหน้า โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงเป็น ตัวอักษร Ŧ ที่ใช้ในซามิเหนือ.

ใหม่!!: อักษรละตินและŦ · ดูเพิ่มเติม »

Ĩ

ตัวอักษร Ĩ (ตัวเล็ก: ĩ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน I ที่มีทิลเดอ (tilde) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในภาษาเวียดนามการเขียนใส่วรรณยุกต.

ใหม่!!: อักษรละตินและĨ · ดูเพิ่มเติม »

Ĭ

ตัวอักษร Ĭ (ตัวเล็ก: ĭ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน I ที่มีบรีฟ (breve) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงเป็น.

ใหม่!!: อักษรละตินและĬ · ดูเพิ่มเติม »

Ŭ

ตัวอักษร Ŭ (ตัวเล็ก: ŭ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน U ที่มี บรีฟ (breve) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลาย Ŭ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต หมวดหมู่:ภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: อักษรละตินและŬ · ดูเพิ่มเติม »

Ĵ

ตัวอักษร Ĵ (ตัวเล็ก: ĵ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน J ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดยสัญลักษณ์  Ĵ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต หมวดหมู่:ภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: อักษรละตินและĴ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์

นายกองเอก ชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์ หรือ บิ๊กแนต อดีตหัวหน้าพรรคราษฎร และอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และกระทรวงมหาดไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุตรดิตถ์หลายสมัย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งนายกสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: อักษรละตินและชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอุซเบก

วอุซเบก (Uzbeks) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดของกลุ่มชนเตอร์กิกในเอเชียกลาง ประชาชนกลุ่มนี้ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศอุซเบกิสถาน แต่ก็ยังพบได้เป็นประชากรส่วนน้อยของประเทศอัฟกานิสถาน ทาจิกิสถาน คีร์กิซสถาน คาซัคสถาน เติร์กเมนิสถาน รัสเซีย และจีน นอกจากนี้ผู้อพยพผลัดถิ่นชาวอุซเบกอาศัยอยู่ในประเทศตุรกี ซาอุดีอาระเบีย และปากีสถาน.

ใหม่!!: อักษรละตินและชาวอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

บาอ์

บาอ์ (ب) เป็นอักษรตัวที่ 2 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู בอักษรซีเรียค ܒ อักษรอาหรับ (ب) ใช้แทนเสียงที่เกิดจาก ริมฝีปาก ก้อง ไม่มีลม (สัทศาสตร์สากล: หรือ /บ/) ตรงกับอักษรละติน “B” ในคำทับศัพท์จะแทนด้วย บ หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรละตินและบาอ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชิชะโมะ (วงดนตรี)

มะ (SHISHAMO., ภาษาญี่ปุ่น: シシャモ หรือ ししゃも, ภาษาไทย ชิชาโมะ) คือ วงดนตรีแนวอินดี้ร๊อค/อัลเทอร์เนทีฟร๊อค/ร็อก/เจ-ป๊อป เครื่องดนตรี 3 ชิ้น (3 Piece Band) จากประเทศญี่ปุ่น ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2010 ในขณะที่สมาชิกในวงกำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมปลาย ที่โรงเรียน 崎総合科学高等学校 (Kawasaki City High School for Science and Technology) ที่เมืองคะวะซะกิ จังหวัดคะนะงะวะ ประเทศญี่ปุ่น และมีอัลบั้มแรกในปี 2012 โดยชื่อดั้งเดิมนั้น เขียนด้วยตัวอักษรคันจิ 柳葉魚 (อ่านว่า ชิชะโมะ) แต่เนื่องจากอ่านยาก จึงตัดสินใจใช้ตัวอักษรละติน ว่า SHISHAMO แทน เนื้อเพลงของวง SHISHAMO จะเน้นไปที่เพลงรักเป็นหลัก โดยเฉพาะรักในวัยเรียน คล้ายกับเรื่องราวในโชโจะมังกะ โดยต้องการเขียนเพลงรักในหลายๆรูปแบบและปรารถนาให้ผู้ฟังทุกคนได้ฟังเพลงรักที่ตรงกับชีวิตรักของผู้ฟังเอง.

ใหม่!!: อักษรละตินและชิชะโมะ (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

บิบโค้ด

้ด (bibcode) หรือ เร็ฟโค้ด (refcode) เป็นตัวระบุย่อที่ใช้ในระบบข้อมูลดาราศาสตร์หลายระบบ เพื่ออ้างอิงวรรณกรรมงานใดงานหนึ่งอย่างเฉพาะเจาะจง.

ใหม่!!: อักษรละตินและบิบโค้ด · ดูเพิ่มเติม »

ชีน

ชีน (Shin) เป็นอักษรตัวที่ 21 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ש‎ และอักษรอาหรับ ﺵ‎ ใช้แทนเสียงไม่ก้อง ออกตามไรฟัน หรือ อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Σ อักษรละติน S และอักษรซีริลลิก С และ Ш และอาจไปเป็นอักษร Sha ในอักษรกลาโกลิติก มาจากอักษรคานาอันไนต์ที่มาจากไฮโรกลิฟรูปพระอาทิตย์ ซึ่งใช้แทนเสียง หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรละตินและชีน · ดูเพิ่มเติม »

ชีนโลน

ีนโลน (ခြင်းလုံး, อักษรโรมัน: chinlone หรือ hkrang: lum) เป็นการละเล่นหรือกีฬาดั้งเดิมของพม่า มีลักษณะผสมผสานระหว่างกีฬาและการเต้นรำ โดยทั่วไปเป็นการเล่นโดยไม่มีคู่แข่งหรือฝ่ายตรงกันข้าม นัยสำคัญของชีนโลนจึงไม่ใช่การแข่งขัน จุดเน้นไม่อยู่ที่การชนะหรือแพ้ หากเป็นความสวยงามของท่วงท่าลีลาที่นักชีนโลนจะเล่นในเกมลูกหวายมากกว่า การเล่นชีนโลนในพม.

ใหม่!!: อักษรละตินและชีนโลน · ดูเพิ่มเติม »

บ๊อบเกิร์ลส์

อบเกิร์ลส์ (Bob Girls; เกาหลี: 단발머리) เป็นอดีตวงดนตรีในแนวเกิร์ลกรุป สัญชาติเกาหลีใต้ สังกัดโครมเอนเตอร์เทนเมนต์ เปิดตัวเมื่อปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและบ๊อบเกิร์ลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟังก์ชันบ่งชี้

ฟังก์ชันบ่งชี้ของเซต ''A'' ซึ่งเป็นเซตย่อยของเซต ''X'' แสดงค่าด้วยสีแดง ฟังก์ชันบ่งชี้ (indicator function) หรือบางครั้งเรียกว่า ฟังก์ชันลักษณะเฉพาะ คือฟังก์ชันที่นิยามบนเซต X ซึ่งบ่งชี้ว่าสมาชิกตัวใดตัวหนึ่งจะเป็นสมาชิกของเซตย่อย A ใน X หรือไม่ โดยให้ค่าเป็น 1 ถ้าสมาชิกตัวนั้นอยู่ในเซต A หรือให้ค่าเป็น 0 ถ้าสมาชิกตัวนั้นไม่อยู่ในเซต A แต่ยังคงอยู่ในเซต X.

ใหม่!!: อักษรละตินและฟังก์ชันบ่งชี้ · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมรูปทรงม้า

right พระบรมรูปทรงม้า อยู่ระหว่างการปั้นในสตูดิโอในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบรมรูปทรงม้า ตั้งอยู่ที่ลานพระบรมรูปทรงม้า สร้างขึ้นในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยนำแบบอย่างมาจากพระบรมรูปของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ที่กรุงปารีส ด้วยฝีมือนายช่างชาวฝรั่งเศส บริษัท ซุซ แฟรส์ ฟองเดอร์ (Susse Frères Fondeur) ในวโรกาส ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2450 พระองค์เสด็จประทับ ให้ช่างปั้นชื่อ จอร์จ เซาโล (Georges Saulo) ปั้น เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2450 พระบรมรูปสำเร็จเรียบร้อยส่งเข้ามาถึงกรุงเทพฯ เมื่อ วันพุธที่ 11 พฤศจิกายน 2451 อันเป็น เวลาพอดีกับงานพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก เนื่องในโอกาสเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ 40 ปี เจ้าพนักงานได้อัญเชิญพระบรมรูปทรงม้าขึ้นประดิษฐานบนแท่นรองหน้าพระราชวังดุสิต โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จไปทรงทำพิธีเปิดด้วยพระองค์เอง พระบรมรูปทรงม้าสร้างขึ้นด้วยเงินที่ประชาชนได้เรี่ยไรสมทบทุน ส่วนเงินที่เหลือเป็นจำนวนมาก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้นำไปสร้างมหาวิทยาลัยขึ้น มีนามตามพระปรมาภิไธยว่า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย สำหรับองค์พระบรมรูปทรงม้านั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จไปทำการตกลงและเลือกชนิดโลหะด้วยพระองค์เอง อีกทั้งยังเสด็จไปประทับเป็นแบบให้นายช่างปั้นหุ่น ขณะเสด็จประทับอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งพระรูปมีขนาดโตเท่าพระองค์จริง เสด็จประทับอยู่บนหลังม้าพระที่นั่ง โดยม้าพระที่นั่งนั้นมิใช่ปั้นจากแบบม้าพระที่นั่งจริง แต่เป็นม้าที่บริษัทได้ปั้นเป็นแบบเตรียมไว้เรียบร้อยแล้ว พระบรมรูปทรงม้าหล่อด้วยโลหะทองบรอนซ์ ยึดติดกับแท่นทองบรอนซ์ เป็นที่ม้ายืน หนาประมาณ 25 เซนติเมตร ประดิษฐานบนแท่นรอง ทำด้วยหินอ่อน สูง 6 เมตร กว้าง 2 เมตร ยาว 5 เมตร ห่างจากฐานของแท่นออกมา มีโซ่ขึงล้อมรอบกว้าง 9 เมตร ยาว 11 เมตร ตรงฐานด้านขวามีอักษรโรมัน ภาษาฝรั่งเศสจารึกชื่อช่างปั้นและช่างหล่อชาวไว้ว่า C.MASSON SEULP 1908 และ G.Paupg Statuare และด้านซ้ายเป็นชื่อบริษัทที่ทำการหล่อพระบรมรูปทรงม้าว่า SUSSE Fres FONDEURS.

ใหม่!!: อักษรละตินและพระบรมรูปทรงม้า · ดูเพิ่มเติม »

พระโพธิสัตว์

ระปรัชญาปารมิตา ชวา ศิลปะศรีวิชัย พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ ศิลปะขอม วัดโทได พระโพธิสัตว์ (बोधिसत्त्व bodhisattva; बोधिसत्त bodhisatta) หมายถึง ผู้ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า คำว่า "โพธิสัตว์" แปลว่า ผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ ทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานเชื่อว่ามีพระโพธิสัตว์เป็นจำนวนมาก แต่รายละเอียดความเชื่อแตกต่างกันไป.

ใหม่!!: อักษรละตินและพระโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พระโพธิธรรม

'''"พระโพธิธรรม"''' โดยโยะชิโทะชิ (ค.ศ. 1877) พระโพธิธรรม (โพธิธรฺม, เทวนาครี बोधिधर्म; อักษรโรมัน (NLAC): bōdhidharma; 菩提達摩, พินอิน: Pútídámó, Dámó) แต่ในนิยายกำลังภายในในประเทศไทยมักเรียก ตักม้อ หรือ ตั๊กม้อ (สำเนียงแต้จิ๋ว ตรงกับจีนกลางว่า ต๋าหมอ) เป็นพระภิกษุในศาสนาพุทธฝ่ายมหายานนิกายเซน มีประวัติไม่ชัดเจนนัก แต่เชื่อกันว่ามีตัวตนอยู่จริง และเป็นผู้สถาปนาวัดเส้าหลิน ในจีน ทั้งยังได้เผยแพร่วิชามวยจีนในหมู่พระเณรของวัดเส้าหลิน จนมีชื่อเสียงมาจวบจนทุกวันนี้ ตามตำนานระบุว่า ท่านเกิดเมื่อราว..

ใหม่!!: อักษรละตินและพระโพธิธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พอดกอรีตซา

ที่ตั้งของกรุงพอดกอรีตซาในประเทศมอนเตเนโกร พอดกอรีตซา (อักษรโรมัน: Podgorica; อักษรซีริลลิก: Подгорица) เป็นเมืองหลวงของประเทศมอนเตเนโกร มีพิกัดภูมิศาสตร์ตั้งอยู่ที่ละติจูด 42.47 องศาเหนือ และลองจิจูด 19.28 องศาตะวันออก มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 44 เมตร จากการสำรวจพบว่าในปี พ.ศ. 2546 เมืองนี้มีประชากร 136,473 คน พอดกอรีตซามีที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่ดี คือ ตั้งอยู่บริเวณจุดบรรจบของแม่น้ำริบนีตซา (Ribnica) และแม่น้ำมอราตชา (Morača) ทางทิศเหนืออยู่ห่างจากศูนย์สกีฤดูหนาวเพียงไม่กี่กิโลเมตร ทางทิศใต้ก็เกือบจะติดกับทะเลเอเดรียติก ทำให้เมืองนี้มีสภาพที่เอื้ออำนวยต่อการตั้งถิ่นฐาน ชื่อพอดกอรีตซาในภาษาเซอร์เบีย เมื่อแปลตามตัวอักษรจะมีความหมายว่า "ใต้กอรีตซา" กอรีตซา (หมายถึง ภูเขาลูกเล็ก ๆ) เป็นชื่อของเขาลูกหนึ่งซึ่งสามารถมองลงไปเห็นเมืองนี้ได้ บริเวณเมืองเก่าของเมืองนี้มีชื่อว่า โดเกลอา (Doclea) ในสมัยก่อนโรมันและสมัยโรมัน ต่อมาในสมัยกลางเป็นที่รู้จักกันในชื่อ ริบนีตซา (Ribnica) และในระหว่างปี พ.ศ. 2488 - พ.ศ. 2535 (1945 - 1992) ถูกเรียกว่า ตีโตกราด (Titograd) พอดกอรีตซาเป็นที่ตั้งของโรงละครและห้องสมุดหลายแห่ง รวมทั้งมหาวิทยาลัย 1 แห่ง หมวดหมู่:เมืองหลวง หมวดหมู่:ประเทศมอนเตเนโกร หมวดหมู่:เมืองในประเทศมอนเตเนโกร.

ใหม่!!: อักษรละตินและพอดกอรีตซา · ดูเพิ่มเติม »

พาย (ค่าคงตัว)

ัญลักษณ์ของพาย พาย หรือ ไพ (อักษรกรีก) เป็นค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์ ที่เกิดจากความยาวเส้นรอบวงหารด้วยเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม ค่า π มักใช้ในคณิตศาสตร์, ฟิสิกส์ และวิศวกรรม π เป็นอักษรกรีกที่ตรงกับตัว "p" ในอักษรละติน มีชื่อว่า "pi" (อ่านว่า พาย ในภาษาอังกฤษ แต่อ่านว่า พี ในภาษากรีก) บางครั้งเรียกว่า ค่าคงตัวของอาร์คิมิดีส (Archimedes' Constant) หรือจำนวนของลูดอล์ฟ (Ludolphine number หรือ Ludolph's Constant) ในเรขาคณิตแบบยุคลิด π มีนิยามว่าเป็นอัตราส่วนของเส้นรอบวงหารด้วยเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม หรือเป็นอัตราส่วนของพื้นที่วงกลม หารด้วย รัศมียกกำลังกำลังสอง ในคณิตศาสตร์ชั้นสูงจะนิยาม π โดยใช้ฟังก์ชันตรีโกณมิติ เช่น π คือจำนวนบวก x ที่น้อยสุดที่ทำให้ sin (x).

ใหม่!!: อักษรละตินและพาย (ค่าคงตัว) · ดูเพิ่มเติม »

พินอิน

นอิน หรือ ฮั่นยฺหวี่พินอิน (แปลว่า สะกดเสียงภาษาจีน) คือระบบในการถอดเสียงภาษาจีนมาตรฐาน ด้วยตัวอักษรละติน ความหมายของพินอินคือ "การรวมเสียงเข้าด้วยกัน" (โดยนัยก็คือ การเขียนแบบสัทศาสตร์ การสะกด การถอดเสียง หรือการทับศัพท์) พินอินเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2501 และเริ่มใช้กันในปี พ.ศ. 2522 โดย รัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยใช้แทนที่ระบบการถอดเสียงแบบเก่า เช่น ระบบเวดและไจลส์ และระบบจู้อิน นอกจากนี้ ยังมีการออกแบบระบบอื่น ๆ สำหรับนำไปใช้กับภาษาพูดของจีนในถิ่นต่าง ๆ และภาษาของชนกลุ่มน้อยที่ไม่ใช้ภาษาฮั่น ในสาธารณรัฐประชาชนจีนด้วย นับแต่นั้นมา พินอินก็เป็นที่ยอมรับจากสถาบันนานาชาติหลายแห่ง รวมทั้งรัฐบาลสิงคโปร์ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และสมาคมหอสมุดอเมริกัน โดยถือว่าเป็นระบบการถอดเสียงที่เหมาะสมสำหรับภาษาจีนกลาง ครั้นปี พ.ศ. 2522 องค์การมาตรฐานนานาชาติ (ISO) ก็ได้รับเอาพินอินเป็นระบบมาตรฐาน (ISO 7098) ในการถ่ายทอดเสียงภาษาจีนปัจจุบันด้วยอักษรโรมัน (the standard romanization for modern Chinese) สิ่งสำคัญที่ต้องระลึกไว้ก็คือ พินอินนั้น เป็นการทับศัพท์ด้วยอักษรโรมัน (Romanization) มิใช่การถอดเสียงแบบภาษาอังกฤษ (Anglicization) นั่นคือ การกำหนดให้ใช้ตัวอักษรตัวหนึ่ง สำหรับแทนเสียงหนึ่ง ๆ ในภาษาจีนไว้อย่างตายตัว เช่น b และ d ในระบบพินอิน เป็นเสียง "ป" และ "ต" ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างจากระบบการออกเสียงส่วนใหญ่ ไม่ว่าอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือภาษาอื่นในยุโรป ขณะที่อักษร j หรือ q นั้นมีเสียงไม่ตรงกับในภาษาอังกฤษเลย กล่าวสั้น ๆ ก็คือ พินอินมุ่งที่จะใช้อักษรโรมัน เพื่อแทนเสียงใดเสียงหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อความสะดวกในการเขียน มิได้ยืมเสียงจากระบบของอักษรโรมันมาใช้ การใช้ระบบนี้นอกจากทำให้ชาวต่างชาติเขียนอ่านภาษาจีนได้สะดวกแล้ว ยังสามารถใช้กับคอมพิวเตอร์ได้สะดวกอย่างยิ่งด้วย ต่อไปนี้เป็นการถอดเสียงภาษาจีน (ที่เขียนด้วยอักษรโรมันในระบบพินอิน) ด้วยอักษรไทย โปรดสังเกตว่า บางหน่วยเสียงในภาษาจีนไม่มีหน่วยเสียงที่ตรงกันในภาษาไทย จึงต้องอนุโลมใช้อักษรที่ใกล้เคียง ในที่นี้จึงมีอักษรไทยบางตัว ที่ต้องใช้แทนหน่วยเสียงในภาษาจีนมากกว่าหนึ่งหน่วยเสียง ทั้งนี้เพื่อเป็น "เกณฑ์อย่างคร่าว ๆ" สำหรับการเขียนคำทับศัพท์ภาษาจีน.

ใหม่!!: อักษรละตินและพินอิน · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: อักษรละตินและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอิหร่าน

การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ของผุ้พูดกลุ่มภาษาอิหร่าน กลุ่มภาษาอิหร่านเป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านที่อยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาอเวสตะถือเป็นภาษาที่เก่าที่สุดของกลุ่มนี้ที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 150 - 200 ล้านคน ภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาเปอร์เซีย (ประมาณ 70 ล้านคน) ภาษาพาซตู (ประมาณ 40 ล้านคน) ภาษาเคิร์ด (35 ล้านคน) และภาษาบาโลชิ (ประมาณ 7 ล้านคน).

ใหม่!!: อักษรละตินและกลุ่มภาษาอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาคอเคซัสใต้

กลุ่มภาษาคอเคซัสใต้ (South Caucasian languages) เป็นภาษาที่มีผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในจอร์เจีย มีบางส่วนอยู่ในตุรกี อิหร่าน รัสเซีย และอิสราเอล ผู้พูดกลุ่มภาษานี้มีราว 5.2 ล้านคนทั่วโลก เป็นกลุ่มภาษาที่มีประวัติความเป็นมาเก่าแก่กลุ่มหนึ่ง มีจุดกำเนิดย้อนหลังไปถึง 5,457 ปีก่อนพุทธศักราช กลุ่มภาษานี้ไม่มีความสัมพันธ์อย่างชัดเจนกับกลุ่มภาษาใดๆ หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรก (จารึกอับบา อันโตนี เขียนด้วยอักษรจอร์เจียโบราณในยุคราชวงศ์จอร์เจีย ใกล้เบธเลเฮ็ม) มีอายุราว..

ใหม่!!: อักษรละตินและกลุ่มภาษาคอเคซัสใต้ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติก

หมายของอมาร์นา เขียนด้วย ภาษาอัคคาเดีย กลุ่มภาษาเซมิติก (Semitic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่มีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคนในปริเวณแอฟริกาเหนือ ตะวันออกกลางและจะงอยของแอฟริกา เป็นสาขาย่อยในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก และเป็นสาขาเดียวของตระกูลนี้ที่มีผู้พูดในทวีปเอเชีย กลุ่มภาษาเซมิติกที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาอาหรับ (ภาษาแม่ 325 ล้านคน) รองลงมาคือภาษาอัมฮารา (27 ล้านคน) ภาษาตึกรึญญา (6.9 ล้านคน) และภาษาฮีบรู (5 ล้านคน) กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มภาษาแรกๆ ที่มีระบบการเขียน ภาษาอัคคาเดียเริ่มเขียนตั้งแต่ราว 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช นอกจากนั้นยังมีอักษรโบราณที่ใช้เขียนกลุ่มภาษาเซมิติกมากมาย เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอาหรับ อักษรแอราเมอิก อักษรซีรีแอก อักษรอาระเบียใต้ และอักษรเอธิโอปิก มีภาษามอลตาเท่านั้นที่เป็นกลุ่มภาษานี้แต่เขียนด้วยอักษรโรมัน ชื่อของกลุ่มภาษานี้มาจาก เซม บุตรชายของโนอาห์ ในไบเบิล.

ใหม่!!: อักษรละตินและกลุ่มภาษาเซมิติก · ดูเพิ่มเติม »

การพักรบ

การพักรบ (truce) หรือการหยุดยิง (ceasefire) ได้แก่การพักการรบพุ่งซึ่งกันในการณรงค์สงครามหรือในเหตุการณ์ขัดแย้งอื่นใดอันมีการใช้อาวุธ ทั้งนี้ การพักรบต้องเป็นไปโดยความเห็นชอบของทุกฝ่ายที่ตกลงจะพักรบ การพักรบอาจกระทำได้โดยการประกาศหรือทำเป็นหนังสือสัญญาอย่างเป็นทางการก็ได้ หรือกระทำโดยประการอื่นใดอันไม่เป็นทางการแต่เป็นที่รับรู้โดยทั่วไปก็ได้.

ใหม่!!: อักษรละตินและการพักรบ · ดูเพิ่มเติม »

การยึดครองกัมพูชาของญี่ปุ่น

การยึดครองกัมพูชาของญี่ปุ่น เป็นเหตุการณ์ช่วงหนึ่งในประวัติศาสตร์กัมพูชาระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อจักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้ามายึดครองกัมพูชาและจัดตั้งรัฐบาลหุ่นของตนขึ้น ระหว่าง..

ใหม่!!: อักษรละตินและการยึดครองกัมพูชาของญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

การถอดภาษาเกาหลีด้วยอักษรโรมัน

การถอดภาษาเกาหลีด้วยอักษรโรมัน (Korean romanization) คือการเขียนภาษาเกาหลี โดยใช้อักษรโรมันในการแทนเสียง ในปัจจุบันมีอยู่ 3 ระบบหลักที่นิยมใช้ ได้แก.

ใหม่!!: อักษรละตินและการถอดภาษาเกาหลีด้วยอักษรโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน

การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง เป็นหลักการถอดตัวอักษรไทยเป็นอักษรโรมันอย่างเป็นทางการโดยราชบัณฑิตยสถาน ใช้ในสำหรับหนังสือและสิ่งพิมพ์ของรัฐบาล และป้ายชื่อถนนต่าง ๆ ในประเทศไทย รูปแบบใหม่ประกาศใช้เมื่อ 11 มกราคม พ.ศ. 2542 ระบบการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันของราชบัณฑิตยสถานเป็นระบบที่นิยมใช้ในการเขียนคำทับศัพท์ระบบหนึ่งในภาษาไท.

ใหม่!!: อักษรละตินและการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน · ดูเพิ่มเติม »

การถอดเสียง

การถอดเสียง หรือ การทับศัพท์แบบถ่ายเสียง (Transcription) เป็นระบบในการเขียนเสียงพูดของมนุษย์จากภาษาหนึ่ง เป็นเป็นระบบตัวอักษรในอีกภาษาหนึ่งตามกฎที่วางไว้ เพื่อให้คงเสียงของภาษาต้นฉบับ การถอดเสียงนี้จะแตกต่างกับการทับศัพท์แบบถอดอักษร ซึ่งเปลี่ยนระบบตัวอักษรจากภาษาหนึ่งไปเป็นอีกภาษาหนึ่ง เพื่อให้คงรูปของตัวอักษรมากที่สุดที่เป็นไปได้ เช่นการถอดอักษรซีริลลิกเป็นอักษรละตินสำหรับภาษารัสเซีย (เช่นชื่อ "เลนิน" ในอักษรซีริลลิก Ленин และอักษรละติน Lenin) แม้กระนั้น การถอดเสียงและการถอดอักษรบางครั้งจะถูกใช้ผสมกันซึ่งพบได้ทั่วไปสำหรับการเขียนชื่อที่มาจากภาษาอื่น มาตรฐานที่ใช้ในการทับศัพท์ได้แก่ สัทอักษรสากล และ แซมปา ตารางด้านล่าง แสดงตัวอย่างของการทับศัพท์ โดยมี การทับศัพท์แบบถอดอักษร และสัทอักษรสากลกำกั.

ใหม่!!: อักษรละตินและการถอดเสียง · ดูเพิ่มเติม »

การถอดเป็นอักษรโรมัน

ษาต่าง ๆ สามารถถอดเป็นอักษรโรมันโดยวิธีการต่าง ๆ ที่ไม่เหมือนกันก็ได้ เช่นภาษาจีนกลางที่แสดงอยู่นี้ ในทางภาษาศาสตร์ การถอดเป็นอักษรโรมัน (Romanisation) คือการถอดคำพูดหรือคำเขียนที่ใช้ระบบการเขียนต่าง ๆ เป็นอักษรโรมัน (ละติน) โดยสำหรับคำเขียนใช้การทับศัพท์ สำหรับคำพูดใช้การถอดเสียง ซึ่งสามารถแบ่งเป็นสองประเภทย่อยได้อีก คือการถอดเสียงตามหน่วยเสียง (phoneme) และ การถอดเสียงให้สอดคล้องกับการออกเสียง (phonetic).

ใหม่!!: อักษรละตินและการถอดเป็นอักษรโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์

ตัวอย่างหนึ่งของการเปรียบเทียบอักษรเพื่อการทับศัพท์ จากอักษรซีริลลิกไปเป็นอักษรละติน การทับศัพท์ หรือ การปริวรรต คือ การถอดอักษร หรือแปลงข้อความจากระบบการเขียนหรือภาษาหนึ่งไปสู่อีกระบบหนึ่งอย่างมีหลักการ เพื่อให้สามารถเขียนคำในภาษาต่างประเทศด้วยภาษาและอักษรในภาษานั้น ๆ ได้สะดวก เช่น การทับศัพท์ภาษาอังกฤษซึ่งเขียนด้วยอักษรโรมัน มาเป็นอักษรไทยเพื่อใช้ในภาษาไทย หรือการทับศัพท์ภาษาไทย ไปเป็นอักษรโรมันเพื่อใช้ในภาษาอังกฤษ เป็นต้น ส่วนมากใช้กับวิสามานยนาม อาทิ ชื่อบุคคล สถานที่ หรือชื่อเฉพาะที่ไม่สามารถแปลความหมายเป็นภาษาอื่นได้โดยสะดวก.

ใหม่!!: อักษรละตินและการทับศัพท์ · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาพม่า

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาพม่านี้เป็นหลักการที่กำหนดตามสํานักงานราชบัณฑิต.

ใหม่!!: อักษรละตินและการทับศัพท์ภาษาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาฮินดี

การทับศัพท์ภาษาฮินดีนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา).

ใหม่!!: อักษรละตินและการทับศัพท์ภาษาฮินดี · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาจีน

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาจีนกลางนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา) ซึ่งอาจแตกต่างจากที่นักวิชาการและสื่อบางส่วนใช้อยู่บ้างเล็กน้อย โปรดดูรายละเอียดท้ายบทความ.

ใหม่!!: อักษรละตินและการทับศัพท์ภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาเวียดนาม

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาเวียดนามนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา).

ใหม่!!: อักษรละตินและการทับศัพท์ภาษาเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

การตั้งชื่อดาวแปรแสง

วแปรแสง วี 838 ยูนิคอร์น การตั้งชื่อดาวแปรแสง (variable star designation) เป็นเกณฑ์การตั้งชื่อดาวแปรแสง ซึ่ง ณ ตอนนี้ เกณฑ์การตั้งชื่อมีดังนี้.

ใหม่!!: อักษรละตินและการตั้งชื่อดาวแปรแสง · ดูเพิ่มเติม »

กางเขน

กางเขนแบบที่ง่ายที่สุดเรียกว่ากางเขนละติน หรือ “crux ordinaria” ที่เป็นสัญลักษณ์ของการตรึงพระเยซูที่กางเขนตามความเชื่อในคริสต์ศาสนา กางเขน (Cross) เป็นเครื่องหมายทรงเรขาคณิตที่ประกอบด้วยแกนสองแกนตัดเป็นมุมฉากกัน ตามปกติแล้วแกนจะเป็นแนวตั้งขวางกับแนวนอน แต่ถ้าตัดทแยงกันก็จะเรียกว่ากางเขนไขว้ หรือ กางเขนนักบุญอันดรูว์ กางเขนเป็นสัญลักษณ์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ใช้โดยมนุษย์ และใช้เป็นสัญลักษณ์ศาสนาหลายศาสนาที่รวมทั้งคริสต์ศาสนา กางเขนบ่อยครั้งจะเป็นสัญลักษณ์ของธาตุหลักทั้ง 4 ของโลก (เชวาลิเย์, ค.ศ. 1997) หรืออีกความหมายหนึ่งคือความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของเทพที่เป็นแกนตั้งและโลกที่คือแกนนอน (คอค, ค.ศ. 1955).

ใหม่!!: อักษรละตินและกางเขน · ดูเพิ่มเติม »

กุ้ยหยาง

ทิวทัศน์เมืองกุ้ยหยาง กุ้ยหยาง (จีนตัวย่อ: 贵阳, จีนตัวเต็ม: 貴陽) คือเมืองหลวงของมณฑลกุ้ยโจว อยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน ซึ่งจัดเป็นเมืองตากอากาศเมืองหนึ่ง มีเอกลักษณ์ คำขวัญว่า "กุ้ยหยางหลากหลายสีสัน มนต์เสน่ห์แห่งกุ้ยหยาง เมืองแห่งป่าไม้ และเมืองตากอากาศ".

ใหม่!!: อักษรละตินและกุ้ยหยาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชวา

ษาชวา คือภาษาพูด ของผู้ที่อาศัยอยู่บนตอนกลางและตะวันออกของเกาะชวาในประเทศอินโดนีเซีย เป็นภาษาแม่ของมากกว่า 75,500,000 คน ภาษาชวาอยู่ในภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน จึงสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซียและภาษามลายู ผู้พูดภาษาชวา พูดภาษาอินโดนีเซียด้วย สำหรับวัตถุประสงค์ทางการและธุรกิจ และเพื่อสื่อสารกับชาวอินโดนีเซียอื่น ๆ มีชุมชนผู้พูดภาษาชวาขนาดใหญ่ในประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะรัฐเซอลาโงร์และยะโฮร์ (คีร์ โตโย รัฐมนตรีของเซอลาโงร์ เป็นชนพื้นเมืองของชวา) อย่างไรก็ดี ภาษาชวาไม่สามารถเข้าใจกันกับภาษามลายูได้.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาชวา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชอง

ษาชอง (ชอง: พะซาช์อง) เป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร สาขาย่อยเปียริก ใกล้เคียงกับภาษาสมราย ใช้พูดในหมู่ชาวชองในจังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด (ในอดีตมีในจังหวัดฉะเชิงเทรา เรียกว่า ภาษาป่า) มีผู้พูดทั้งหมด 5,500 คน ในกัมพูชามี 5,000 คน ตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชาระหว่างจังหวัดจันทบุรีของไทยกับจังหวัดโพธิสัตว์ของกัมพูชา ในไทยมีผู้พูดจำนวน 500 คนในจังหวัดจันทบุรีและตร.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาชอง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาลูจิ

ษาบาลูจิ (Balochi language) เป็นภาษาที่พูดทางตะวันตกเฉียงเหนือในอิหร่าน เป็นภาษาหลักของชาวบาลูจิในบาลูจิสถานซึ่งอยู่ในปากีสถานตะวันตก อิหร่านตะวันออก และอัฟกานิสถานตอนใต้ เป็นภาษาราชการ 1 ใน 9 ภาษาของปากีสถาน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาบาลูจิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาลี

ษาบาลี (ปาลิ; पाऴि); (Pali) เป็นภาษาที่เก่าแก่ภาษาหนึ่ง ในตระกูลอินเดีย-ยุโรป (อินโด-ยูโรเปียน) ในสาขาย่อย อินเดีย-อิหร่าน (อินโด-อิเรเนียน) ซึ่งจัดเป็นภาษาปรากฤตภาษาหนึ่ง เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นภาษาที่ใช้บันทึกคัมภีร์ในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท (มี พระไตรปิฎก เป็นต้น) โดยมีลักษณะทางไวยากรณ์ และคำศัพท์ที่คล้ายคลึงกับภาษาสันสกฤต ไม่มีอักษรชนิดใดสำหรับใช้เขียนภาษาบาลีโดยเฉพาะ มีหลักฐานจารึกภาษาบาลีด้วยอักษรต่าง ๆ มากมายในตระกูลอักษรอินเดีย เช่น อักษรพราหมี อักษรเทวนาครี จนถึง อักษรล้านนา อักษรขอม อักษรไทย อักษรมอญ แม้กระทั่งอักษรโรมัน (โดยมีการเพิ่มเครื่องหมายเล็กน้อย) ก็สามารถใช้เขียนภาษาบาลีได้ อนึ่ง บางตำราสะกด “บาลี” ว่า “ปาฬิ” หรือ “ปาฬี” ก็มี.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาบาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาสก์

ก์ (Basque) เป็นภาษาที่พูดโดยชาวบาสก์ซึ่งอาศัยอยู่แถบเทือกเขาพีเรนีสในตอนกลางของภาคเหนือของประเทศสเปน รวมทั้งในบริเวณภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศสที่มีอาณาเขตติดต่อกัน หรือลึกลงไปกว่านั้นคือ ชาวบาสก์ได้ครอบครองแคว้นปกครองตนเองที่มีชื่อว่าแคว้นประเทศบาสก์ (Basque Country autonomous community) ซึ่งมีวัฒนธรรมและอิสระในการปกครองตนเองทางการเมือง นอกจากนี้ก็ยังมีชาวบาสก์ที่อยู่ในเขตนอร์เทิร์นบาสก์ในฝรั่งเศสและแคว้นปกครองตนเองนาวาร์ในสเปนอีกด้วย ชื่อเรียกภาษาบาสก์อย่างเป็นทางการ (ในภาษาตนเอง) คือ เออุสการา (euskara) ส่วนในรูปภาษาถิ่นอื่น ๆ ได้แก่ เออุสเกรา (euskera) เอสกูอารา (eskuara) และ อุสการา (üskara) แม้ว่าในทางภูมิศาสตร์จะถูกล้อมรอบด้วยภาษาในตระกูลอินโด-ยูโรเปียน แต่ภาษาบาสก์กลับจัดเป็นภาษาโดดเดี่ยว (language isolate) ไม่ใช่ภาษาในตระกูลดังกล่าว.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาบาสก์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาหลี

ษาบาหลี เป็นภาษาท้องถิ่นของเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ใช้พูดในเกาะชวา เกาะบาหลีและเกาะลอมบอก มีผู้พูด 3.8 ล้านคน คิดเป็น 2.1 % ของประชากรอินโดนีเซียทั้งประเทศ โดยที่ชาวบาหลีส่วนใหญ่จะพูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง เขียนด้วยอักษรบาหลีและอักษรละติน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาษาซาซักและภาษากัมเบอราในเกาะซุมบาวา มีการแบ่งระดับชั้นภายในภาษ.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาเลนเซีย

ษาบาเลนเซีย (valenciano) หรือ ภาษาวาเล็นซิอา (valencià) เป็นภาษาหนึ่งที่ใช้สื่อสารกันในแคว้นบาเลนเซีย และในบริเวณเอลการ์เชของแคว้นภูมิภาคมูร์เซีย ประเทศสเปน ในแคว้นบาเลนเซีย ภาษานี้มีฐานะเป็นภาษาราชการร่วมกับภาษาสเปนตามธรรมนูญการปกครองตนเองของแคว้นและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสเปน พ.ศ. 2521 ภาษาบาเลนเซียจัดอยู่ในกลุ่มภาษากาตาลาตะวันตก จากการสำรวจความคิดเห็นครั้งหนึ่งพบว่า ชาวแคว้นบาเลนเซียส่วนใหญ่ (เกือบร้อยละ 65) มองว่าภาษานี้เป็นภาษาแยกต่างหากจากภาษากาตาลา แต่มุมมองดังกล่าวขัดแย้งกับมุมมองทางวิชาการโดยทั่วไปซึ่งถือว่าภาษานี้เป็นภาษาย่อยของภาษากาตาลา ภายใต้ธรรมนูญการปกครองตนเองแห่งแคว้นบาเลนเซีย บัณฑิตยสถานภาษาแห่งบาเลนเซีย (Acadèmia Valenciana de la Llengua) ได้รับการจัดตั้งขึ้นเพื่อให้เป็นผู้วางระเบียบเกี่ยวการใช้ภาษา หน่วยงานนี้ถือว่า กาตาลา และ บาเลนเซีย เป็นเพียงชื่อเรียกที่ต่างกันของภาษาเดียวกัน อย่างไรก็ดี ภาษาบาเลนเซียก็มีวิธภาษามาตรฐานเป็นของตนเองซึ่งมีพื้นฐานมาจากภาษาถิ่นที่ใช้ในพื้นที่คาบเกี่ยวระหว่างจังหวัดบาเลนเซียตอนใต้กับจังหวัดอาลิกันเตตอนเหนือ ผลงานที่สำคัญที่สุดบางชิ้นของวงวรรณกรรมบาเลนเซียดำรงอยู่ในยุคทองซึ่งกินเวลาตั้งแต่ยุคกลางตอนปลายไปจนถึงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ผลงานเหล่านั้นรวมถึงนิยายวีรคติเรื่อง ติรันต์โลบลังก์ ของจูอาน็อต มาร์โตเร็ลย์ และกวีนิพนธ์ของเอาซิอัส มาร์ก หนังสือเล่มแรกในคาบสมุทรไอบีเรียที่ผลิตด้วยวิธีการพิมพ์แบบตัวเรียงนั้นพิมพ์เป็นภาษาบาเลนเซีย เกมหมากรุกเกมแรกที่มีการบันทึกไว้พร้อมด้วยกติกาการเดินหมากควีนและบิชอปอยู่ในบทกวีเรื่อง สกักส์ดาโมร์ ซึ่งแต่งเป็นภาษาบาเลนเซียและได้รับการตีพิมพ์เมื่อประมาณ..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาบาเลนเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชินบอน

ษาชินบอน (Chinbon language) หรือภาษาชินด์วิน มีผู้พูดในพม่าทั้งสิ้น 19,600 คน (พ.ศ. 2526) ในเขตเมืองกับเปตเลต ยอว์ ปาเลตวา จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น เขียนด้วยอักษรละติน รากศัพท์ใกล้เคียงกับภาษาอาโซถึง 50%.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาชินบอน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบูกิส

ษาบูกิส เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรราว 4 ล้านคน ในภาคใต้ของเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซีย คำว่า บูกิส มาจากภาษามลายู ส่วนชาวบูกิสเรียกภาษาของตนว่า บาซา อูกิ แปลว่ากษัตริย์องค์แรก ซึ่งหมายถึง กษัตริย์ในอาณาจักรบุกิสโบราณ แต่เรื่องราวไม่ชัดเจนเพราะไม่มีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐานลายลักษณ์อักษรครั้งแรกที่พบคือ อี ลา กาลิโก ซึ่งเป็นภาพวงกลม เล่าถึงกำเนิดชีวิต พบในซูลาเวซีใต้.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาบูกิส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบูร์ยัต

ษาบูร์ยัต (Буряад) เป็นกลุ่มมองโกลิก มีผู้พูดราว 400,000 คน ในสาธารณรัฐบูร์ตาเตียในรัสเซียรวมทั้งในภาคเหนือของมองโกเลียและภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีน เขียนด้วยอักษรซีริลลิกที่กำหนดขึ้นหลังจากการปฏิวัติรัสเซียเมื่อ..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาบูร์ยัต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบูเดะห์ สเตียง

ษาบูเดะห์ สเตียง (Budeh Stieng) หรือภาษาสเตียงต่ำ ภาษาสเตียงใต้ มีผู้พูดในภาคใต้ของเวียดนาม จำนวนไม่แน่นอน จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยบะห์นาริก เขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาบูเดะห์ สเตียง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบ้าบ๋า

ษาบ้าบ๋า (Baba Malay) หรือ ภาษามลายูบ้าบ๋า ภาษามลายูจีน ภาษามลายูช่องแคบ มีผู้พูดในสิงคโปร์ 10,000 คน (พ.ศ. 2529) ส่วนใหญ่อยู่ทางชายฝั่งตะวันออก และในรัฐมะละกา ประเทศมาเลเซียราว 5,000 คน เป็นภาษาลูกผสมที่มีพื้นฐานจากภาษามลายู พัฒนาขึ้นตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 20 ระหว่างภาษามลายูกับภาษาจีนฮกเกี้ยน ผู้พูดอยู่ที่บริเวณมะละกากับสิงคโปร์ เข้าใจกันได้บางส่วนกับภาษามลายูกลาง ผู้พูดภาษานี้จะเรียนภาษามลายูกลางและภาษาอังกฤษในโรงเรียน ต่างจากภาษาอินโดนีเซียเปอรานากัน ส่วนใหญ่ใช้ในบ้าน และเป็นผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่เติบโตในกลุ่มเพื่อนบ้านที่รู้ภาษาจีนฮกเกี้ยน และภาษาจีนกวางตุ้ง เด็ก ๆ ในปัจจุบันจะหันไปเรียนภาษาจีนกลางในโรงเรียน เขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาบ้าบ๋า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟาลัม

ษาฟาลัม (Falam language) มีผู้พูดทั้งหมด 121,000 คน พบในพม่า 100,000 คน (พ.ศ. 2534) ในตำบลฟาลัม หุบเขาฉิ่น พบในอินเดีย 21,000 คน (พ.ศ. 2550) ในรัฐอัสสัม รัฐตรีปุระ รัฐไมโซรัม รัฐเบงกอลตะวันตก พบผู้พูดในบังกลาเทศจำนวนหนึ่ง จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น –นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น ในอินเดียเขียนด้วยอักษรละติน เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กร.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาฟาลัม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟิลิปีโน

ษาฟิลิปปินส์ หรือ ภาษาฟิลิปีโน (Filipino) เป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการภาษาหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์คู่กับภาษาอังกฤษ กำหนดเมื่อ พ.ศ. 2530 ภาษานี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาตากาล็อก เมื่อ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 สถาบันภาษาแห่งชาติเลือกภาษาตากาล็อกซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นที่มีการใช้เป็นภาษาเขียนมากที่สุดมาเป็นพื้นฐานของภาษาประจำชาติภาษาใหม่ใน พ.ศ. 2504 ภาษานี้เป็นที่รู้จักในชื่อ ปิลิปีโน และเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาฟิลิปปินส์เมื่อ พ.ศ. 2515.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาฟิลิปีโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟินิเชีย

ษาฟินิเชีย เป็นภาษาที่มีจุดกำเนิดในชายฝั่งที่เรียก "Pūt" ในภาษาอียิปต์โบราณ "คานาอัน" ในภาษาฟินิเชีย ภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก และเรียก "ฟินิเชีย"ในภาษากรีกและภาษาละติน เป็นภาษากลุ่มเซมิติกสาขาคานาอัน ใกล้เคียงกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก บริเวณดังกล่าวปัจจุบันอยู่ในเลบานอนและซีเรีย และอิสราเอลทางตอนเหนือ เป็นที่รู้จักจากจารึกต่างๆในไบบลอสและหนังสือที่เขียนด้วยภาษาต่างๆ จารึกภาษาฟินิเชียเก่าสุดพบในไบบลอส อายุราว 457 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งพบทั้งใน เลบานอน ซีเรีย อิสราเอล ไซปรัส เกาะซิซิลี ตูนีเซีย โมร็อกโก แอลจีเรีย มอลตา และที่อื่นๆในคาบสมุทรไอบีเรีย การถอดความภาษาฟินิเชียใช้ความรู้ภาษาฮีบรูเป็นพื้นฐาน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาฟินิเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟีจี

ษาฟีจี อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ภาษากลุ่มมลาโย-โพลินีเซียน พูดในประเทศฟีจี ประมาณ 320,000 คน และมีผู้ใช้ภาษาฟีจีในประเทศนิวซีแลนด์อีกเกือบพันคน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาฟีจี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพัชโต

ษาพัชโต (Pashto, Pashtoe, Pushto, Pukhto; پښتو, pax̌tō) หรือ ภาษาปุกโต หรือเรียกในเชิงประวัติศาสตร์ว่า ภาษาอัฟกัน (Afghani; افغاني, afğānī) และ ภาษาปาทาน (Pathani) เป็นภาษาแม่ของชาวปาทาน (Pashtun) ซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศอัฟกานิสถานและแคว้นทางตะวันตกของประเทศปากีสถาน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาพัชโต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพังคัว

ษาพังคัว (Pangkhua language) หรือภาษาพังคู มีผู้พูดทั้งหมด 2,730 คน พบในบังกลาเทศ 2,500 คน (พ.ศ. 2550) พบในอินเดีย 230 คน (พ.ศ. 2514) ในรัฐไมโซรัม พบในรัฐฉิ่น ประเทศพม่าแต่ไมทราบจำนวนที่แน่นอน จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น เขียนด้วยอักษรเทวนาครีและอักษรละติน ผู้พูดภาษานี้ในบังกลาเทศจะใช้ภาษาเบงกาลีเป็นภาษาทางการศึกษา ผู้พูดภาษานี้ในอินเดียจะพูดภาษาไมโซ ภาษาฉิ่นสำเนียงเบาม์ หรือภาษาอังกฤษได้.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาพังคัว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพาววาแทน

ษาพาววาแทน หรือ ภาษาพาวแฮทัน (Powhatan language; หรือ) เป็นภาษาสูญแล้วจัดอยู่ในกลุ่มภาษาแอลกองคินตะวันออก อดีตเป็นภาษาของชาวพาววาแทนซึ่งเป็นคนพื้นที่ที่อาศัยอยู่บริเวณรัฐเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกาในปัจจุบัน ช่วงราวปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาพาววาแทน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพทคะ

ษาพทคะ (Badaga language: ภาษาพทคะ: படக பாக்ஷே,ภาษาทมิฬ: படுகு மொழி, ภาษากันนาดา: ಬಡಗ ಭಾಷೆ) เป็นภาษากลุ่มดราวิเดียนใต้ (ในภาษากลุ่มทมิฬ-กันนาดา) มีผู้พูดประมาณ 400,000 คนในหุบเขานิลคีรีในอินเดียใต้ ภาษาพทคะมีสระห้าเสียง /i e a o u/ มีความพยายามที่จะเขียนภาษาพทคะด้วยระบบการออกเสียงของภาษาทมิฬ และภาษากันนาดา ซึ่งเป็นภาษาที่ใกล้เคียง รวมทั้งภาษาอังกฤษที่มีการเรียนในโรงเรียนด้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาพทคะ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากรีนแลนด์

ษากะลาลลิซุต หรือ ภาษากรีนแลนด์ เป็นภาษาหนึ่งในจำนวนภาษาทางการ 2 ภาษาของกรีนแลนด์(อีกภาษาหนึ่งคือภาษาเดนมาร์ก).

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษากรีนแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากอกบอรอก

ษากอกบอรอก หรือ ภาษาตรีปุรี เป็นภาษาพื้นเมืองของชาวตรีปุระ ในรัฐตรีปุระ และบริเวณใกล้เคียงในบังกลาเทศ เป็นภาษาตระกูลทิเบต-พม่า คำว่า กอกบอรอก มาจาก “kok” แปลว่า “ภาษา” และ “borok” ที่แปลว่าผู้ชาย ซึ่งใช้แทนชาวตรีปุระทั้งหมดด้วย ดังนั้น กอกบอรอก จึงหมายถึง “ภาษาของชาวตรีปุระ”.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษากอกบอรอก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากะยัน

ษากะยัน (Kayan) หรือภาษาปะด่อง มีผู้พูดภาษานี้ในพม่า 40,900 คน (พ.ศ. 2526) ในรัฐกะยา และพบในประเทศไทยด้วย จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขากะเหรี่ยง สาขาย่อยสะกอ-บไค เขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษากะยัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากะยาตะวันตก

ษากะยาตะวันตก (Western Kayah) หรือภาษากะเหรี่ยงแดง ภาษากะเรนนี มีผู้พูดในพม่า 100,000 คน (พ.ศ. 2550) พบในรัฐกะยาและรัฐกะเหรี่ยง แต่เป็นผู้อพยพในประเทศไทยราว 2,000 คน ใกล้เคียงกับภาษากะเหรี่ยงโปว์ จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขากะเหรี่ยง สาขาย่อยสะกอ-บไค เขียนด้วยอักษรกะยา อักษรละตินหรืออักษรพม.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษากะยาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากะดู

ษากะดู (Kadu language) หรือภาษากะโด มีผู้พูดในพม่าทั้งหมด 37,000 คน (พ.ศ. 2550) ในมัณฑะเลย์และรัฐยะไข่ จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขาจิงผ่อ-กอนยัก-โบโด สาขาย่อยจิงผ่อ-ลูอิช ส่วนใหญ่พูดภาษาพม่าได้ด้วย เขียนด้วยอักษรละตินและอักษรพอลลาร์ด แม้ว ภาษานี้เป็นคนละภาษากับภาษากะตูที่เป็นภาษากลุ่มมอญ-เขมร.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษากะดู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากะตูตะวันออก

ษากะตูตะวันออก (Eastern Katu) มีผู้พูดทั้งหมด 50,500 คน (พ.ศ. 2542) ในจังหวัดกวางนาม ทางภาคใต้ของเวียดนาม เป็นสำเนียงที่ต่างไปจากภาษากะตูในลาว จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยกะตู เขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษากะตูตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากะเหรี่ยง

ษากะเหรี่ยงเป็นภาษาในตระกูลจีน-ทิเบต สาขาทิเบต-พม่า มีผู้พูดภาษากะเหรี่ยงอยู่ในไทยและพม่า แบ่งเป็นภาษาย่อยได้ 8 ภาษา คือ.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษากะเหรี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากะเหรี่ยงสะกอ

ษากะเหรี่ยงสะกอ(S'gaw Karen) หรือ ภาษากะเหรี่ยงขาว หรือ ภาษาปกาเกอะญอ เป็นภาษาของชาวกะเหรี่ยงสะกอ มีผู้พูดทั้งหมด 1,584,700 คน พบในพม่า 1,284,700 คน (พ.ศ. 2526) ในลุ่มแม่น้ำอิระวดี ในไทยพบ 300,000 คน (พ.ศ. 2530) ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ และเชียงราย ใกล้แนวชายแดนพม่า ผู้พูดส่วนใหญ่นับถือความเชื่อดั้งเดิมหรือศาสนาคริสต์จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขากะเหรี่ยง สาขาย่อยสะกอ-บไฆ เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษากะเหรี่ยงสะกอ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากะเหรี่ยงเฆโก

ษากะเหรี่ยงเฆโก (Geko Karen) มีผู้พูดในพม่าทั้งหมด 9,500 คน (พ.ศ. 2526) ในมัณฑะเลย์ พะโค ตอนเหนือของรัฐกะเหรี่ยง และตอนใต้ของรัฐฉาน จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขากะเหรี่ยง สาขาย่อยสะกอ-บไค เขียนด้วยอักษรละตินและอักษรพม.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษากะเหรี่ยงเฆโก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากังเต

ษากังเต (Gangte language) มีผู้พูดในอินเดีย 15,100 คน (พ.ศ. 2544) ในรัฐมณีปุระ รัฐเมฆาลัย รัฐอัสสัม มีผู้พูดในพม่าแต่ไม่ทราบจำนวน จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น ใกล้เคียงกับภาษาฉิ่นสำเนียงทาโด แตกต่างจากภาษาไปเต และภาษาซัวเพียงเล็กน้อย ผู้พดภาษานี้จะพูดภาษามณีปุระและภาษาอังกฤษได้ด้วย เขียนด้วยอักษรละติน มีวารสารและหนังสือพิมพ์ที่ตีพิมพ์ด้วยภาษากังเต.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษากังเต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากากาอุซ

ษากากาอุซ (Gagauz dili) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่พูดโดยชาวกากาอุซ เป็นภาษาราชการของกากาอุเซีย ในสาธารณรัฐมอลโดวา มีผู้พูดราว 150,000 คน เริ่มแรกเขียนด้วยอักษรกรีก เปลี่ยนมาใช้อักษรซีริลลิกใน..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษากากาอุซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาการากัลปัก

ษาการากัลปักเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก พูดโดยชาวการากัลปักที่อยู่ในการากัลปักสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ใกล้เคียงกับภาษาคาซัคและภาษาโนไก คำศัพท์และไวยากรณ์ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากภาษาอุซเบก เป็นภาษารูปคำติดต่อที่มีการเปลี่ยนเสียงสระเช่นเดียวกับภาษาฮังการีและภาษาตุรกี ไม่มีการแบ่งเพศทางไวยากรณ์ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา เริ่มแรกภาษานี้เขียนด้วยอักษรอาหรับจนถึง..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาการากัลปัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากาสี

ษากาสีเป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติกใช้พูดในรัฐเมฆาลัย ประเทศอินเดีย อยู่ในสาขามอญ-เขมร และใกล้เคียงกับภาษากลุ่มมุนดาที่เป็นภาษาตระกูลออสโตรเชียติกที่มีผู้พูดในอินเดียกลาง มีผู้พูด 865,000 คน ในรัฐเมฆาลัย มีผู้พูดบางส่วนในหุบเขาตามแนวชายแดนด้านรัฐอัสสัมและในบังกลาเทศตามแนวชายแดนอินเดีย ภาษากาสีมีเรื่องเล่าพื้นบ้านมากมักเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับที่มาของชื่อต่างๆของภูเขา แม่น้ำ สัตว์และอื่น.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษากาสี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากิมมุน

ษากิมมุน (Kim Mun) มีผู้พูดทั้งหมด 374,500 คน พบในจีน 200,000 คน (พ.ศ. 2538) ซึ่งรวมในเกาะไหหลำ 61,000 คน (พ.ศ. 2544) แล้ว พบในยูนนาน กวางสี และเกาะไหหลำ พบในลาว 4,500 คน (พ.ศ. 2538) ในแขวงหลวงน้ำทา แขวงห้วยไซ แขวงบ่อแก้ว พบในเวียดนาม 170,000 คน (พ.ศ. 2542) จัดอยู่ในตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน ภาษากลุ่มเมี่ยน สาขาเมี่ยน-ยิน เขียนด้วยอักษรโรมันในจีน ส่วนใหญ่จัดเป็นชนเผ่าเย้า ยกเว้นผู้พูดภาษานี้ในเกาะไหหลำ จัดเป็นชนเผ่าแม้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษากิมมุน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากงกณี

ษากงกณี(อักษรเทวนาครี: कोंकणी; อักษรกันนาดา:ಕೊಂಕಣಿ; อักษรมาลายาลัม:കൊംകണീ; อักษรโรมัน: Konknni) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน โดยมีคำศัพท์จากภาษาดราวิเดียนปนอยู่ด้วย ได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่นหลายภาษา ทั้งภาษาโปรตุเกส ภาษากันนาดา ภาษามราฐี ภาษาเปอร์เซีย และภาษาอาหรับ มีผู้พูดประมาณ 7.6 ล้านคน http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษากงกณี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามรู

วมรู ชาวมรูอาศัยในบริเวณตอนล่างทางขวามือของแผนที่บังกลาเทศ ภาษามรู (Mru language) หรือภาษามารู ภาษามูรุง มีผู้พูดทั้งหมด 51,230 คน พบในบังกลาเทศ 30,000 คน (พ.ศ. 2550) ในตำบลบันดัรบัน พบในอินเดีย 1,230 คน (พ.ศ. 2524) ในรัฐเบงกอลตะวันตก พบในพม่า 20,000 คน (พ.ศ. 2542) ในรัฐยะไข่ จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขามรู รากศัพท์ใกล้เคียงกับภาษาฉิ่นสำเนียงมโร 13% เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม เขียนด้วยอักษรละติน เป็นภาษาที่มีความเสี่ยงที่จะเป็นภาษาตาย ภาษานี้เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มทิเบต-พม่าที่จัดจำแนกได้ยาก เป็นภาษาที่อยู่ระหว่างภาษาพม่า ภาษาเมยเทยในอินเดีย และยังใกล้เคียงกับภาษาฉิ่น แม้ว่าจะเคยจัดจำแนกเป็นส่วนหนึ่งของภาษาฉิ่น แต่ภาษามรูก็มีความใกล้ชิดกับกลุ่มภาษาพม่า-โลโลในระดับหนึ่ง.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษามรู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายู

ษามลายู (Bahasa Melayu) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย มีผู้พูดประมาณ 200–250 ล้านคน (ณ ปี พ.ศ. 2552) โดยเป็นภาษาแม่ของผู้คนตลอดสองฟากช่องแคบมะละกา ซึ่งได้แก่ ชายฝั่งคาบสมุทรมลายูของมาเลเซียและชายฝั่งตะวันออกของเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย และได้รับการยอมรับเป็นภาษาแม่ในชายฝั่งตะวันตกของซาราวะก์และกาลีมันตันตะวันตกในเกาะบอร์เนียว นอกจากนี้ยังใช้เป็นภาษาการค้าในภาคใต้ของฟิลิปปินส์ ซึ่งได้แก่ ตอนใต้ของคาบสมุทรซัมบวงกา, กลุ่มเกาะซูลู และเมืองบาตาราซาและบาลาบัก (ซึ่งมีชาวมุสลิมอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะปาลาวัน ในฐานะที่เป็นภาษาประจำชาติ (Bahasa Kebangsaan หรือ Bahasa Nasional) ของรัฐเอกราชหลายรัฐ ภาษามลายูมาตรฐานมีชื่อทางการแตกต่างกันไป ในบรูไนและสิงคโปร์เรียกว่า "ภาษามลายู" (Bahasa Melayu) ในมาเลเซียเรียกว่า "ภาษามาเลเซีย" (Bahasa Malaysia) และในอินโดนีเซียเรียกว่า "ภาษาอินโดนีเซีย" (Bahasa Indonesia) อย่างไรก็ตาม ในหลายพื้นที่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะสุมาตราที่ซึ่งภาษามลายูเป็นภาษาพื้นเมือง ชาวอินโดนีเซียจะเรียกภาษานี้ว่า "ภาษามลายู" และมองว่าเป็นภาษาหนึ่งในบรรดาภาษาประจำภูมิภาคของตน ภาษามลายูมาตรฐาน (หรือที่เรียกว่าภาษามลายูราชสำนัก) เคยเป็นวิธภาษามาตรฐานในวรรณกรรมของรัฐสุลต่านมะละกาและยะโฮร์สมัยก่อนอาณานิคม ดังนั้น บางครั้งจึงเรียกว่าภาษานี้ว่าภาษามลายูมะละกา, ภาษามลายูยะโฮร์ หรือภาษามลายูเรียว (หรือชื่ออื่น ๆ ที่ใช้ชื่อเหล่านี้ประกอบกัน) เพื่อแยกให้แตกต่างกับภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาในกลุ่มภาษามลายู จากข้อมูลของเอ็ทนอล็อก (Ethnologue) วิธภาษามลายูต่าง ๆ ซึ่งในปัจจุบันมีรายชื่อเป็นภาษาแยกต่างหาก (รวมถึงวิธภาษาโอรังอัซลีในมาเลเซียตะวันตก) มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับภาษามลายูมาตรฐานมากจนอาจพิสูจน์ได้ว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีภาษามลายูการค้าและภาษาครีโอล (creole) จากภาษามลายูอีกจำนวนมากซึ่งมีพื้นฐานจากภาษากลางที่พัฒนามาจากภาษามลายูตามแบบแผนดั้งเดิม เช่นเดียวกับภาษามลายูมากัสซาร์ซึ่งปรากฏว่าเป็นภาษาผสม.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษามลายู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายูบรูไน

ษามลายูบรูไน (Bahasa Melayu Brunei) เป็นภาษาประจำชาติของประเทศบรูไนและเป็นภาษากลางในพื้นที่บางส่วนของมาเลเซียตะวันออก ภาษานี้ไม่ใช่ภาษาราชการของบรูไน (ซึ่งใช้ภาษามลายูมาตรฐานเป็นภาษาราชการ) แต่มีบทบาทสำคัญในสังคมและกำลังแทนที่ภาษาของชนกลุ่มน้อยภาษาอื่น ๆ ภาษามลายูบรูไนมีผู้พูดประมาณ 266,000 คนhttp://www.ethnologue.com/show_language.asp?code.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษามลายูบรูไน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายูบ้าบ๋า

ษามลายูบ้าบ๋า (Bahasa Melayu Baba) หรืออาจเรียกว่า ภาษาจีนช่องแคบ (Straits Chinese) ถือเป็นภาษาถิ่นหนึ่งของภาษามลายู โดยมีการยืมคำในภาษาฮกเกี้ยนค่อนข้างมาก แต่ปัจจุบันเป็นภาษาที่ใกล้ตาย และใช้กันในกลุ่มชาวเปอรานากันรุ่นเก่า ในขณะที่คนรุ่นใหม่หันไปพูดภาษาอังกฤษกัน โดยชาวเปอรานากันในประเทศมาเลเซีย ส่วนใหญ่จะอาศัยในรัฐมะละกาและรัฐปีนัง ส่วนในสิงคโปร์มีผู้พูดภาษานี้ในเขตกาตง เขตกีย์แลนด์ และเขตเจาเฉียต และในอินโดนีเซีย มีผู้พูดภาษานี้แถบชวาตะวันออกโดยเฉพาะเมืองซูราบายา ปัจจุบันมีผู้ใช้ภาษามลายูบ้าบ๋าน้อยลงจนเป็นภาษาใกล้สูญ ในประเทศอินโดนีเซีย ชาวเปอรานากันในแถบชวากลางหันมาพูดภาษาชวามากขึ้น ส่วนในแถบชวาตะวันตกก็หันมาพูดภาษาซุนดา และแถบซูราบายาเอง เด็กเชื้อสายจีนรุ่นใหม่ก็หันมาพูดภาษาชวาถิ่นซูราบายาแทน และหลายคนเลือกที่จะเรียนรู้ภาษาจีนกลางมากกว่าภาษามลายูบ้าบ๋า จนเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ภาษามลายูบ้าบ๋าลดความสำคัญลงไป ส่วนคนรุ่นใหม่ยังสามารถใช้ภาษาผสมนี้ได้ แต่ใช้ได้อย่างจำกัด จึงได้นำคำใหม่เข้ามาใช้ (และเสียคำเก่าไป) จนกลายเป็นศัพท์สแลง จึงกลายเป็นช่องว่างของภาษาระหว่างคนเปอรานากันรุ่นเก่ากับรุ่นใหม.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษามลายูบ้าบ๋า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายูปัตตานี

ษามลายูปัตตานี หรือ ภาษามลายูปาตานี (มลายูปัตตานี: บาซอ 'นายู 'ตานิง; Bahasa Melayu Patani, อักษรยาวี: بهاس ملاي ڤطاني) หรือนิยมเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า ภาษายาวี (อักษรยาวี: بهاس جاوي) เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียนที่พูดโดยชาวไทยเชื้อสายมลายูในจังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา รวมทั้งในอำเภอนาทวี อำเภอจะนะ อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย ทางทิศตะวันออกของจังหวัดสงขลา (ไม่รวมจังหวัดสตูล) ในประเทศไทยมีประชากรที่พูดภาษานี้มากกว่า 1 ล้านคน ภาษานี้ใกล้เคียงมากกับภาษามลายูถิ่นในรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็นภาษาถิ่นที่แตกต่างจากส่วนที่เหลือของประเทศมาเลเซีย บางครั้งก็มีการเรียกรวมเป็นภาษาเดียวกันว่า "ภาษามลายูกลันตัน-ปัตตานี".

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษามลายูปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามอลตา

ษามอลตา (Maltese; มอลตา: Malti) เป็นภาษาประจำชาติของประเทศมอลตา และเป็นภาษาราชการของประเทศนี้ร่วมกับภาษาอังกฤษ ภาษามอลตามีต้นกำเนิดจากภาษาซิคูโล-อาหรับ (ภาษาถิ่นของภาษาอาหรับที่มีวิวัฒนาการขึ้นในเกาะซิซิลี เกาะมอลตา และภาคใต้ของประเทศอิตาลี) แต่ก็มีคำยืมจากภาษาอิตาลี ภาษาซิซิลี และภาษาอังกฤษในสัดส่วนสูงเช่นกัน ปัจจุบันภาษามอลตายังเป็นภาษาในกลุ่มเซมิติกเพียงภาษาเดียวที่เป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรปและใช้อักษรละตินในภาษาเขียนมาตรฐาน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษามอลตา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามอคชา

ษามอคชา (ภาษามอคชา; mokshanj kälj) เป็นภาษาที่ใช้พูดทางตะวันตกของสาธารณรัฐมอร์โดเวียและบริเวณใกล้เคียง คือ แคว้นเปนซา แคว้นรีซาน แคว้นตัมบอฟ แคว้นซาราตอฟ แคว้นซามารา แคว้นโอเรนบุร์ก สาธารณรัฐตาตาร์สถาน สาธารณรัฐบัชคอร์โตสถาน ไซบีเรีย และภาคตะวันออกไกลของประเทศรัสเซีย และยังพบในประเทศอาร์มีเนียและสหรัฐอเมริกาด้วย มีผู้พูดราว 500,000 คน ภาษามอคชาเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาเออร์เซียและภาษารัสเซียในสาธารณรัฐมอร์โดเวีย จัดอยู่ในภาษากลุ่มฟินโน-ยูกริก สาขาฟินโน-วอลกาอิก มีความใกล้เคียงกับเออร์เซีย แต่มีความแตกต่างกันบ้างในด้านหน่วยเสียง คำศัพท์ และไวยากรณ.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษามอคชา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามากัสซาร์

ภาษามากัสซาร์ หรือ ภาษามากาซาร์ เป็นทั้งชื่อของภาษาและระบบการเขียนในเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซีย อยู่ในตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาษาบูกิส ในอดีตเขียนด้วยอักษรลนตารา/มากาซาร์ ซึ่งเคยใช้เขียนภาษาบูกิสและภาษามันดาร์ด้วย ปัจจุบันนิยมเขียนด้วยอักษรละตินมากกว่า หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอินโดนีเซีย.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษามากัสซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามารา

ษามารา (Mara language) มีผู้พูดทั้งหมด 42,000 คน พบในอินเดีย 22,000 ตน (พ.ศ. 2540) ในรัฐไมโซรัม มีผู้พูดในพม่า 20,000 คน (พ.ศ. 2537)ในหุบเขาลูไช จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น –นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น ผู้พูดภาษานี้ในอินเดียจะพูดภาษาไมโซหรือภาษาอังกฤษได้ และมีการสอนในโรงเรียนประถมศึกษาตั้งแต..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษามารา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาลายาลัม

ษามาลายาลัมเป็นภาษาราชการของรัฐเกราลาทางภาคใต้ของอินเดีย มีผู้พูดประมาณ 36 ล้านคน และมีผู้พูดในเกาะลักษทวีปด้วย จัดอยู่ในภาษาตระกูลดราวิเดียน ใกล้เคียงกับภาษาทมิฬ เขียนด้วยอักษรมาลายาลัม ภาษามาลายาลัมจัดอยู่ในกลุ่มดราวิเดียนใต้ คาดว่ามีกำเนิดร่วมกับภาษาทมิฬเมื่อราว..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษามาลายาลัม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาดูรา

ษามาดูราเขียนด้วยอักษรชวา ภาษามาดูรา (Madura language) เป็นที่ใช้พูดบนเกาะมาดูรา ในประเทศอินโดนีเซีย และเกาะอื่นๆ เช่นเกาะกาเงียน เกาะซาปูดี และทางตะวันออกของชวาตะวันออก พบในสิงคโปร์ด้วย อยู่ในกลุ่มย่อยซุนดา ของภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตก ตระกูลอสสโตรนีเซียน เคยเขียนด้วยอักษรชวา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน มีผู้พูด 13,600,000 คนในอินโดนีเซีย (พ.ศ. 2543) ภาษานี้มีรากศัพท์เหมือนกับภาษากาเงียน 75% และเข้าใจกันได้ยาก ภาษานี้มีหลายสำเนียง สำเนียงซูเมเนบ จัดเป็นสำเนียงมาตรฐาน สำเนียงบังกาลนที่พูดในสุราบายา เป็นสำเนียงที่ใช้ทางการค้ามากที่สุด เป็นสำเนียงที่ใช้ในเมืองและได้รับอิทธิพลจากภาษาอินโดนีเซียมาก และผู้พูดภาษานี้ใช้ภาษาอินโดนีเซียด้วย แปลไบเบิลเป็นภาษานี้ใน..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษามาดูรา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาเลเซีย

ษามาเลเซีย (มาเลเซีย: Bahasa Malaysia; Malaysian language) หรือ ภาษามลายูมาตรฐาน (มาเลเซีย: Bahasa Melayu Baku; Standard Malay language) เป็นภาษาราชการของประเทศมาเลเซียและเป็นทำเนียบภาษาที่ได้รับการปรับปรุงให้เป็นมาตรฐานจากภาษามลายูถิ่นมะละกา มีความใกล้เคียงกับภาษาอินโดนีเซียกว่าร้อยละ 95 มีผู้พูดภาษานี้เป็นภาษาแม่เป็นจำนวนกว่า 10 ล้านคน และมีผู้พูดเป็นภาษาที่สองประมาณ 18 ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นชาวมาเลเซียจากกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มอื่น ๆ นอกเหนือจากชาวมลายู ภาษามาเลเซียยังเป็นหนึ่งในวิชาบังคับในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาของมาเลเซียอีกด้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษามาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามึน

ษามึน (Mün language) หรือภาษามินดัต มีผู้พูดในพม่าทั้งสิ้น 30,000 คน (พ.ศ. 2534) ทางตะวันตกของเทือกเขาฉิ่น จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น เขียนด้วยอักษรละติน เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กร.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษามึน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามนองกลาง

ษามนองกลาง (Central Mnong) หรือภาษาบูดัง มีผู้พูด ทั้งหมด 52,500 คน พบในเวียดนาม32,500 คน (พ.ศ. 2545) พบในกัมพูชา 20,000 คน (พ.ศ. 2545) ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดมณฑลคีรี ส่วนน้อยที่พูดภาษาเขมรได้ด้วย จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยบะห์นาริก เขียนด้วยอักษรเขมรและอักษรโรมัน มีรายการวิทยุที่ออกอากาศด้วยภาษานี้ในเวียดนาม.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษามนองกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามนองตะวันออก

ษามนองตะวันออก (Mnong, EasternISO 639-3) มีผู้พูดในเวียดนาม 30,000 คน (พ.ศ. 2545) จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยบะห์นาริก เขียนด้วยอักษรโรมัน มีการแปลไบเบิลเป็นภาษานี้เมื่อ..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษามนองตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาม้ง

ษาม้งอยู่ในตระกูลแม้ว-เย้า หรือม้ง-เมี่ยน ใช้กันในชาวม้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ บางส่วนของจีนจัดเป็นภาษาคำโดด โดยหนึ่งคำมีเสียงพยัญชนะต้น สระ และวรรณยุกต์ ไม่มีเสียงตัวสะกด มีวรรณยุกต์สนธิหรือการผสมกันของเสียงวรรณยุกต์เมื่อนำคำมาเรียงต่อกันเป็นประโยค ในประเทศไทยแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาม้ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายูการิติก

ษายูการิติก เป็นภาษาที่พบหลักฐานในจารึกที่พบในบริเวณนครรัฐยูการิต ที่ขุดค้นพบในประเทศซีเรีย เป็นภาษาที่มีความสัมพันธ์กับภาษาฮีบรู และมีความเกี่ยวข้องกับศาสนายูดายและศาสนาโบราณอื่นๆในบริเวณนั้น เป็นภาษากลุ่มเซมิติก เขียนด้วยอักษรรูปลิ่มที่ต่างจากอักษรรูปลิ่มอื่นเพราะใช้แทนเสียงพยัญชนะ โดยมีพยัญชนะ 22 ตัว พบจารึกอักษรนี้ในช่วง 857 – 657 ปีก่อนพุทธศักราช นครรัฐยูการิตถูกทำลายเมื่อราว 637 – 627 ปีก่อนพุทธศักร.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษายูการิติก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายูฮูรี

ษายูฮูรี(Juhuri) หรือภาษาตัตของชาวยิว (Judæo-Tat) หรือ ภาษายูวูรี (Juwuri; çuhuri / жугьури / ז'אוּהאוּראִ) เป็นรูปแบบหนึ่งของภาษาตัต และเป็นภาษาพื้นเมืองในบริเวณตะวันออกของเทือกเขาคอเคซัสโดยเฉพาะอาเซอร์ไบจานและดาเกสถาน รวมทั้งในอิสราเอล ภาษานี้ใกล้เคียงกับภาษาเปอร์เซีย อยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้ ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาที่ใกล้เคียงกันคือภาษาตัตของชาวมุสลิมในอาเซอร์ไบจาน คำว่ายูฮูรีและยูฮูโรแปลตรงตัวหมายถึงของยิว และชาวยิว ภาษายูฮูรีนี้มีลักษณะของกลุ่มภาษาเซมิติกปนอยู่มาก มีเสียง "ayin" (ע) ซึ่งภาษาในบริเวณนั้นไม่มีเสียงนี้.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษายูฮูรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาระแด

ษาระแด (Rade) บ้างเรียก ภาษาแด, อีแด, ระแดว์, เรอแดว และเรอเดว มีผู้พูดในเวียดนาม 270,000 คน (พ.ศ. 2542) ทางภาคใต้ของเวียดนาม อาจจะมีในกัมพูชาด้วย จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย สาขามาลาโย-ซุมบาวัน สาขาย่อยจาม เขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาระแด · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาราวาง

ษาราวาง (Rawang language) หรือภาษากนุง-ราวางมีผู้พูดทั้งหมด 122,600 คน พบในพม่า 62,100 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐกะฉิ่น ทางเหนือของมยิตจีนา พบในอินเดีย 60,500 คน (พ.ศ. 2543)ในรัฐอรุณาจัลประเทศใกล้กับชายแดนพม่า และชายแดนจีนด้านที่ติดกับทิเบต จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขานุง ผู้พูดภาษานี้ในพม่าพูดภาษาพม่า ภาษาหลี่ซูหรือภาษาจิงผ่อได้ด้วย เขียนด้วยอักษรละติน มีหนังสือพิมพ์ตีพิมพ์ด้วยภาษานี้ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กร.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาราวาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาละติน

ษาละติน (Latin) เป็นภาษาโบราณในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุงโรม และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาภาษาละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของเจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน ภาษาละตินเป็นภาษามีวิภัติปัจจัย (การผันคำ) มีการก 7 การก (case), มีเพศ 3 เพศ, และมีพจน์ 2 พจน์ ภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน พัฒนาสืบต่อมาจากภาษาละตินพื้นบ้าน ซึ่งจะเรียกกลุ่มภาษาเหล่านี้ว่า ภาษากลุ่มโรมานซ์ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์ที่สำคัญได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมาเนีย ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน ภาษาส่วนใหญ่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนก็มีความสัมพันธ์บางอย่างกับภาษาละติน แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็นภาษาสูญแล้ว แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้อักษรละติน (ที่พัฒนามาจากอักษรกรีก) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาละติน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลัก

ษาลัก (лакку маз, lakku maz) เป็นภาษาที่พูดในสาธารณรัฐดาเกสตัน ที่อยู่ในประเทศรัสเซีย มีผู้พูดประมาณ 120,000 คน ก่อนปี พ.ศ. 2471 ภาษาลักใช้อักษรอาหรับในการเขียน ต่อมาได้เปลี่ยนมาใช้อักษรละตินเป็นเวลาประมาณ 10 ปี และหลังจาก พ.ศ. 2481 ได้ใช้อักษรซีริลลิกในการเขียน คำในภาษาลักจำนวนมากเป็นคำยืมมาจากภาษาตุรกี ภาษาเปอร์เซีย และภาษารัสเซี.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาลัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลัมกัง

ษาลัมกัง (Lamkang language) มีผู้พูดในอินเดีย 10,000 คน (พ.ศ. 2542) ในรัฐมณีปุระทางตะวันออกเฉียงใต้ และมีในพม่าตามแนวชายแดนอินเดียแต่ไม่ทราบจำนวน จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น ผู้พูดภาษานี้ในอินเดียจะพูดภาษาฮินดีหรือภาษาอังกฤษได้ และเข้าใจภาษามณีปุระได้ ในอินเดียเขียนด้วยอักษรละติน ในพม่าเขียนด้วยอักษรพม่า เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา ใช้ปรบท คำคุณศัพท์ตามหลังคำนาม.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาลัมกัง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาฮู

ษาลาฮู (Lahu) หรือภาษาลาหู่ หรือภาษามูเซออยู่ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยโลโล มีผู้พูดทั้งหมด 577,178 คน พบในจีน 411,476 คน (พ.ศ. 2533) ในเขตปกครองตัวเองลานชาง ลาฮู ทางตะวันตกเฉียงใต้ของยูนนาน เป็นภาษาที่มีผู้พูดมากในจีน ชนบางกลุ่มใช้ภาษาลาฮูเป็นภาษาที่สอง ส่วนใหญ่เข้าใจภาษาจีน บางส่วนใช้ภาษาไทลื้อ ภาษาอาข่า ภาษาบลัง ภาษาว้า หรือภาษายิเป็นภาษาที่สอง พบในลาว 8,702 คน (พ.ศ. 2538) ในบ่อแก้ว พบในพม่า 125,000 คน (พ.ศ. 2536) ในรัฐฉาน พบในไทย 32,000 คน (พ.ศ. 2544) ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำปาง ตาก มีหลายสำเนียงคือ ภาษามูเซอดำ มูเซอแดง มูเซอดำเบเล มูเซอเหลืองบาเกียว มูเซอเหลืองบ้านลาน ชาวมูเซอไม่นิยมเรียนภาษาอื่น ในคณะที่คนพูดภาษาอื่นหลายเผ่าเรียนภาษามูเซอ ทำให้ภาษามูเซอเป็นภาษากลางในเขตภูเขาของจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย พบในเวียดนาม 6,874 คน (พ.ศ. 2542) ตามแนวชายแดนลาวทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาลาฮู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาดัก

ษาลาดัก (ภาษาทิเบต: ལ་དྭགས་སྐད་; La-dwags skad) หรือภาษาโภติหรือที่นักภาษาศาสตร์เรียกว่าภาษาทิเบตโบราณตะวันตก เป็นภาษาหลักของชาวลาดักในรัฐชัมมูและกัษมีระ และใช้พูดในบัลติสถาน ภาษาลาดักใกล้เคียงกับภาษาทิเบต ชาวลาดักเองก็มีวัฒนธรรมหลายอย่างใกล้ชิดกับชาวทิเบต รวมทั้งนับถือศาสนาพุทธแบบทิเบตด้วย อย่างไรก็ตาม ภาษาลาดักกับภาษาทิเบตกลางไม่สามารถเข้าใจกันได้ แม้ว่าจะมีการเขียนที่ถ่ายทอดมาจากภาษาทิเบตโบราณ มีผู้พูดภาษาลาดักในอินเดีย 200,000 คน และอาจจะมีอีกราว 12,000 คนในทิเบตที่อยู่ภายใต้การปกครองของจีน สำเนียงย่อยหลายสำเนียง ส่วนใหญ่ไม่มีวรรณยุกต์ ยกเว้นสำเนียงสโตตสกัตและสำเนียงลาดักบนที่มีวรรณยุกต์เหมือนภาษาทิเบตกลาง.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาลาดัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาดิโน

ษาลาดิโน (Ladino) เป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ ได้รับอิทธิพลจากภาษาสเปนมาก โดยเฉพาะภาษาสเปนโบราณ (คัสติลเลียน) ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาลาดิโนกับภาษาสเปน เทียบได้กับภาษายิดดิชกับภาษาเยอรมัน ผู้พูดส่วนใหญ่เป็นชาวยิวเซฟาร์ดิก ตัวอย่างเช่น ชาวยิวในเทสซาโลนิกี อิสตันบูล และอิสมีร์ โครงสร้างของภาษาใกล้เคียงกับภาษาสเปน โดยมีบางส่วนมาจากภาษาฮีบรู ภาษาโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศส ภาษาตุรกี ภาษากรีก และภาษาสลาฟใต้ ขึ้นกับว่าผู้พูดอาศัยอยู่ที่ใด ภาษาลาดิโนมีเสียงที่มาจากภาษาสเปนโบราณที่กลายเป็นเสียงจากเพดานอ่อน /x/ ในภาษาสเปนสมัยใหม่ ภาษาลาดิโนมีหน่วยเสียง /x/ ที่ได้จากภาษาฮีบรู ในบางบริเวณมีการสร้างคำที่มีลักษณะเฉพาะ เช่น muestro จาก nuestro (ของเรา) โครงสร้างทางไวยากรณ์ใกล้เคียงกับภาษาสเปน โดยมีการเพิ่มส่วนจากภาษาฮีบรู ภาษาโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศส ภาษาตุรกี ภาษากรีก และภาษากลุ่มสลาฟใต้ ขึ้นกับบริเวณที่ใช้พูด ภาษาลาดิโนเป็นภาษาที่ใกล้ตายเนื่องจากผู้พูดเป็นภาษาแม่มีอายุมากและไม่ถ่ายทอดภาษาให้รุ่นต่อไป ชุมชนชาวยิวเซฟาร์ดิกในประเทศต่างๆมีความพยายามฟื้นฟูภาษานี้โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับดนตรี สาเหตุที่ทำให้เป็นภาษาที่ใกล้ตายอีกอย่างหนึ่งคือการกลมกลืนไปกับภาษาสเปนสมัยใหม.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาลาดิโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาซ

ษาลาซ (lazuri, ภาษาลาซ:ლაზური or lazuri nena, ლაზური ნენა; ภาษาจอร์เจีย: ლაზური, lazuri, or ჭანური, chanuri) เป็นภาษาที่พูดโดยชาวลาซในบริเวณชายฝั่งทางตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลดำ มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 50,000 - 500,000 คนในตุรกี โดยเฉพาะในบริเวณรอยต่อกับจอร์เจีย และราว 30,000 คน ในจอร์เจี.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาลาซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลิทัวเนีย

ษาลิทัวเนีย (lietuvių kalba) เป็นภาษาทางการของประเทศลิทัวเนีย และเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่งของสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลีสู่

ษาลีซอ หรือ ลีสู่ (Lisu)หรือภาษาโยบิน ภาษาเยายิน มีผู้พูดทั้งหมด 723,000 คน พบในจีน 580,000 คน (พ.ศ. 2542) ในจำนวนนี้พูดได้ภาษาเดียว 467,869 คน ในยูนนานตะวันตก พบในอินเดีย 1,000 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐอรุณาจัลประเทศ พบในพม่า 126,000 (พ.ศ. 2530) ในรัฐว้า ชายแดนติดกับรัฐอัสสัมของอินเดียหรือในรัฐฉาน พบในไทย 16,000 คน (พ.ศ. 2536) ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ตาก สุโขทัย กำแพงเพชร บางส่วนอพยพมาจากพม่า จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยโลโล มีหลายสำเนียงแต่ความแตกต่างระหว่างสำเนียงมีไม่มาก ในจีนเป็นภาษาที่ใช้ในทางศาสนาคริสต์ การปกครองและในโรงเรียน ส่วนใหญ่พูดภาษาจีนได้ด้วย ในจำนวนนี้มี 150,000 คนสามารถพูดภาษาไป๋ ภาษาทิเบต ภาษาน่าซี ภาษาไทลื้อ หรือภาษาจิงผ่อได้ด้วย เขียนด้วยอักษรโรมัน หรืออักษรฟราเซอร์ เป็นภาษาพูดของชาวลีซอ มีสามสำเนียงคือ หัว ไป่ และลู ใกล้เคียงกับภาษาลาฮูและภาษาอาข่า และมีความสัมพันธ์กับภาษาพม่า ภาษาจิงผ่อ และภาษ.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาลีสู่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาวาคี

ษาวาคี เป็นภาษากลุ่มอิหร่าน กลุ่มย่อยอิหร่านตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาวาคี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาวาไร

ษาวาไร (Waray), ซามาร์-เลเต หรือ ซามาร์ เป็นภาษาที่ใช้พูดในจังหวัดซามาร์, นอร์เทิร์นซามาร์, อีสเทิร์นซามาร์, เลเต และบีลีรันในฟิลิปปินส์ จัดอยู่ในภาษาตระกูลวิซายัน มีความเกี่ยวข้องกับภาษาเซบูและใกล้เคียงกับภาษาฮีลีไกโนน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาวาไร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสวีเดน

แผนที่แสดงบริเวณที่มีผู้พูดภาษาสวีเดน ภาษาสวีเดน (svenska) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ (หรือภาษาสแกนดิเนเวีย) ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก สาขาของภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ภาษาสวีเดนเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของสวีเดน เป็นภาษาราชการหนึ่งในสองภาษาของฟินแลนด์ (อีกภาษาหนึ่งคือภาษาฟินแลนด์) และเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของหมู่เกาะโอลันด์ ซึ่งเป็นเขตการปกครองตนเองของฟินแลนด์ ภาษาสวีเดนสามารถใช้แทนกันกับภาษาสแกนดิเนเวียอีก 2 ภาษาคือ ภาษาเดนมาร์ก และภาษานอร์เวย์ ภาษาสวีเดนมาตรฐาน เป็นภาษาประจำชาติที่วิวัฒนาการมาจากภาษาย่อยของสวีเดนกลางในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และมีความมั่นคงในช่วงตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในขณะที่ภาษาย่อยตามภูมิภาคที่สืบมาจากภาษาพื้นเมืองในชนบทยังคงมีอยู่ ภาษาพูดและ ภาษาเขียน มีมาตรฐาน และมีอัตราความสามารถในการอ่านและเขียน 99% ในกลุ่มผู้ใหญ่ ภาษาพื้นเมืองบางภาษาต่างจากภาษามาตรฐานทั้งเรื่องไวยากรณ์และคำศัพท์ และไม่สามารถเข้าใจกับภาษาสวีเดนมาตรฐานได้เสมอไป ภาษาพื้นเมืองเหล่านี้จะจำกัดเฉพาะพื้นที่ชนบทและส่วนใหญ่คนพูดเป็นคนกลุ่มน้อยที่มีความเคลื่อนไหวทางสังคมต่ำ ถึงแม้ว่าจะไม่สูญพันธุ์ในเร็ว ๆ นี้ ภาษาพื้นเมืองเหล่านี้ได้ถดถอยในช่วงศตวรรษที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าจะมีการวิจัยเป้นอย่างดี และเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นส่งเสริมการใช้ ภาษาสวีเดนมีลักษณะเด่นในเรื่องฉันทลักษณ์ ซึ่งจะแตกต่างกันตามชนิดต่าง ๆ มีทั้งเสียงเน้นที่ต่างกันตามแต่ละคำ และ เสียงวรรณยุกต์ ภาษาสวีเดนมีเสียงสระค่อนข้างมาก โดยที่มีเสียงสระถึง 9 เสียงที่ต่างกันด้วยความยาว และลักษณะเสียง ทำให้มีหน่วยเสียงสระ (vowel phoneme) ถึง 17 หน่วย นอกจากนี้ ภาษาสวีเดนยังมีเสียง voiceless dorso-palatal velar fricative ซึ่งสามารถพบได้ในภาษาพื้นเมืองหลายภาษา รวมถึงภาษามาตรฐานชั้นสูง และไม่ปรากฏในภาษาอื่น.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสันสกฤต

ษาสันสกฤต เป็นภาษาที่รับอิทธิพลมาจากอินเดียและส่งผลมาถึงอาณาจักรในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (संस्कृता वाक्, สํสฺกฺฤตา วากฺ; Sanskrit) เป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน (หรืออินเดีย-ยุโรป) สาขาย่อยอินโด-อิเรเนียน (อินเดีย-อิหร่าน) และอยู่ในกลุ่มย่อยอินโด-อารยัน (อินเดีย-อารยะ) โดยมีระดับวิวัฒนาการในระดับใกล้เคียงกับภาษาละตินและภาษากรีก เป็นต้น โดยทั่วไปถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว ทว่ายังมีผู้ใช้ภาษาสันสกฤตอยู่บ้างในแวดวงที่จำกัดในประเทศอินเดีย เช่น หมู่บ้านมัททูร์ ในรัฐกรณาฏกะ โดยมีการคิดคำศัพท์ใหม่ๆ ขึ้นมาด้วย ในศาสนาฮินดูเชื่อว่า ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาสื่อที่เทพเจ้าใช้สื่อสารกับมวลมนุษย์ เพื่อถ่ายทอดความรู้แจ้งและปัญญาญาณแก่เหล่าฤๅษีทั้งหลายแต่ครั้งดึกดำบรร.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาสันสกฤต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสันถาลี

ภาษาสันถาลี เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มมุนดา ใกล้เคียงกับภาษาโฮและภาษามุนดารี มีผู้พูด 6 ล้านคนในอินเดีย บังกลาเทศ เนปาล และภูฏาน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในอินเดีย กระจายอยู่ตามรัฐฌารขัณฑ์ อัสสัม พิหาร โอริศา ตรีปุระ และเบงกอลตะวันตก มีอักษรเป็นของตนเองเรียกอักษรสันถาลี อัตราการรู้หนังสือต่ำอยู่ระหว่าง 10 - 30% สันถาลี สันถาลี สันถาลี สันถาลี.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาสันถาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสโลวีเนีย

ษาสโลวีเนีย (Slovenian language) หรือ ภาษาสโลวีน (Slovene language; slovenski jezik หรือ slovenščina) เป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาสลาวิกใต้ มีผู้พูดอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคนทั่วโลก เป็นภาษาราชการของประเทศสโลวีเนีย และยังเป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรปอีกด้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาสโลวีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสเปนเก่า

ษาสเปนเก่า (Old Spanish), ภาษากัสตียาเก่า (castellano antiguo) หรือ ภาษาสเปนยุคกลาง (español medieval) เป็นภาษาสเปนรูปแบบแรกเริ่ม ใช้สื่อสารกันในคาบสมุทรไอบีเรียยุคกลางตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 10 จนถึงช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ก่อนที่การเปลี่ยนแปลงในระบบเสียงพยัญชนะจะก่อให้เกิดวิวัฒนาการมาเป็นภาษาสเปนยุคใหม่ วรรณคดีภาษาสเปนเก่าที่มีชื่อเสียงและมีเนื้อหามากที่สุดคือ เพลงขับวีรกรรมเรื่อง กันตาร์เดมิโอซิด (Cantar de Mio Cid, "บทเพลงแห่งซิดของข้า") ซึ่งแต่งขึ้นในราวปี ค.ศ. 1200.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาสเปนเก่า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาหมิ่นใต้

ษาหมิ่นใต้, ภาษาหมิ่นหนาน เป็นสำเนียงของภาษาจีน ใช้พูดทางใต้ ของมณฑลฝูเจี้ยน และบริเวณใกล้เคียง และโดยลูกหลานของผู้อพยพจากบริเวณนี้เข้าไปยังบริเวณอื่นๆทั่วโลก โดยทั่วไปภาษาหมิ่นใต้เป็นชื่อเรียกโดยชาวจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำเนียงหนึ่งในภาษานี้เรียกภาษาไต้หวัน อยู่ในกลุ่มภาษาหมิ่น ของภาษาจีน โดยปกติไม่สามารถเข้าใจกันได้กับภาษาหมิ่นตะวันออก ภาษาจีนกวางตุ้ง และภาษาจีนกลาง.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาหมิ่นใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอบาซา

ษาอบาซา เป็นภาษาในเทือกเขาคอเคซัส พูดโดยชาวอบาซิน ในสาธารณรัฐการาเชย์-เชอร์เคสเซียในรัสเซีย มีผู้พูด 35,000 คน เป็นภาษารูปคำติดต่อที่มีการต่อรูปคำมาก.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอบาซา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอะชาง

ษาอะชาง (Achang language) หรือภาษาโงชาง ภาษาไมง์ถา มีผู้พูดทั้งหมด 62,700 คน พบในจีน 27,700 คน (พ.ศ. 2533) ในเขตปกครองตนเองไต-จิ่งโป่ทางตะวันตกของยูนนาน ตามแนวชายแดนจีน-พม่า มีผู้พูดในพม่า 35,000 คน (พ.ศ. 2550) ในรัฐกะฉิ่น ทางตะวันออกของแม่น้ำอิรวดี ใกล้แนวชายแดน และบางส่วนในภาคเหนือของรัฐฉาน จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยพม่า ผู้พูดบางสำเนียงในจีนเปลี่ยนไปใช้ภาษาจีน ผู้พูดภาษานี้ส่วนมากเป็นผู้ใหญ่ พูดภาษาจีนและภาษาไทเหนือได้ด้วย เขียนด้วยอักษรละติน เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา มีเสียงวรรณยุกต์สี่เสียง.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอะชาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอะดีเกยา

ภาษาอะดืยเก (адыгэбзэ adygebze, adəgăbză; Adyghe language) เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐอะดืยเกียในรัสเซีย มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ในรัสเซีย 125,000 คน และอีก 300,000 คนในตุรกี จัดอยู่ในภาษากลุ่มคอเคซัสตะวันออกเฉียงเหนือ เคยเขียนด้วยอักษรอาหรับและอักษรละติน ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรซีริลลิก การเรียงประโยคเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา และใช้รูปประโยคสัมพันธการก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศรัสเซีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศจอร์แดน หมวดหมู่:ภาษาในประเทศซีเรีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอิสราเอล หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอิรัก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศตุรกี หมวดหมู่:ภาษาในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอะดีเกยา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอักลัน

ษาอักลัน (ฟิลิปีโนและAklanon, Akeanon) เป็นภาษากลุ่มวิซายันมีความคล้ายคลึงภาษาฮีลีไกโนนในด้านรากศัพท์ราวร้อยละ 65–68.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอักลัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอัลไต

ษาอัลไต เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใช้พูดในสาธารณรัฐอัลไตในรัสเซีย ก่อน..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอัลไต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอัสตูเรียส

ภาษาอัสตูเรียส เป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ พูดในแคว้นอัสตูเรียส ในประเทศสเปน มีผู้พูดประมาณ 450,000 คน อัสตูเรียส หมวดหมู่:แคว้นอัสตูเรียส.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอัสตูเรียส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาบุย

ษาอาบุย (Abui language) มีผู้พูด 16,000 คน ในจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันออกทางด้านตะวันตกของจังหวัด รวมถึงเกาะอาลอร์ อยู่ในตระกูลภาษาปาปัว กลุ่มภาษาทรานส์นิวกินี สาขาทรานส์นิวกินีตะวันตก สาขาย่อยติมอร์-ปันตาร์-อาลอร์ มีการสร้างพจนานุกรมภาษานี้ขึ้นแล้ว ชื่อท้องถิ่นของภาษานี้แปลตรงตัวว่าภาษาภู.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอาบุย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาบีโนม

ษาอาบีโนม (Abinomn language) มีผู้พูด 300 คน (พ.ศ. 2545) ในจังหวัดปาปัว เป็นภาษาโดดเดี่ยว เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา เขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอาบีโนม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับเลบานอน

ษาอาหรับเลบานอน (Lebanese Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในเลบานอนและเป็นสำเนียงย่อยของภาษาอาหรับเลอวานต์ ชาวมาโรไนต์ในบริเวณนั้นถือว่าภาษาอาหรับเลบานอนเป็นภาษาเอกเท.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอาหรับเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาเซอร์ไบจาน

thumbnail ภาษาอาเซอรี หรือ ภาษาอาเซอร์ไบจาน เป็นภาษาราชการของประเทศอาเซอร์ไบจาน มีชื่อเรียกในภาษาของตนว่า Azərbaycan dili บางสำเนียงของภาษานี้ใช้พูดในอิหร่าน ซึ่งใช้เป็นภาษากลางระหว่างภาษาส่วนน้อยอื่นๆคือ ภาษาเคิร์ด ภาษาอาร์มีเนียและภาษาตาเลชิ มีผู้พูดภาษานี้ในสาธารณรัฐดาเกสถานในรัสเซีย จอร์เจียตะวันตกเฉียงใต้ อิหร่านภาคเหนือ และภาคตะวันออกของตุรกี เป็นภาษาในกลุ่มภาษาอัลไตอิก มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 23 – 30 ล้านคน โดยมีราว 16- 23 ล้านคนในอิหร่านและ 7 ล้านคนในอาเซอร์ไบจาน และ 800,000 ในที่อื่นๆ เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใกล้เคียงกับภาษาตุรกี ได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ ผู้พูดภาษานี้พอจะเข้าใจกันได้กับผู้พูดภาษากลุ่มเตอร์กิก สาขาโอคุซอื่นๆ เช่น ภาษาตุรกี ที่ใช้พูดในตุรกี ไซปรัสและแหลมบอลข่าน รวมทั้งภาษาเติร์กเมนด้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอิดอ

ษาอิดอ (Ido) เป็นภาษาประดิษฐ์ สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นภาษาสากลในการช่วยสื่อสารระหว่างผู้คนเชื้อชาติต่าง ๆ โดยได้สร้างให้มีรูปแบบไวยากรณ์ที่ง่ายและเป็นไปตามกฎโดยไม่มีข้อยกเว้น ซึ่งแตกต่างจากภาษาอื่น ๆ และไม่ให้คล้ายกับภาษาธรรมชาติภาษาใดมากเกินไปเพื่อไม่ให้เกิดความได้เปรียบในการเรียนรู้ภาษาอิดอ ภาษาอิดอได้เริ่มมีการพัฒนาในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 ดัดแปลงมาจากภาษาเอสเปรันโต โดยมีการปรับปรุงข้อบกพร่องต่าง ๆ ของภาษาเอสเปรันโตให้ดีขึ้น และได้นำออกมาใช้งานใน พ.ศ. 2450 โดยองค์การภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ และได้รับการสนับสนุนจากผู้พูดภาษาเอสเปรันโตราว 20% ภาษาอิดอใช้อักษรละติน 26 ตัวเช่นเดียวกับภาษาอังกฤษ ให้สังเกตว่าตัวอักษร q จะต้องตามหลังด้วยตัวอักษร u เสมอ.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอิดอ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอิตาลี

ษาอิตาลี (Italiano หรือ lingua italiana; Italian) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์,โดยส่วนใหญ่ภาษาอิตาลีเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาละตินมากที่สุดในภาษากลุ่มโรมานซ์ด้วยกัน, ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการในอิตาลี, สวิตเซอร์แลนด์, ซานมารีโน, นครรัฐวาติกัน และอิสเตรียตะวันตก (ในสโลวีเนียและโครเอเชีย), เคยมีสถานะเป็นภาษาทางการของแอลเบเนีย, มอลตา และ โมนาโก ซึ่งมีการพูดภาษานี้กันอย่างกว้างขวางรวมทั้งอดีตแอฟริกาตะวันออกของอิตาลีและแอฟริกาเหนือของอิตาลี (ปัจจุบันคือประเทศลิเบีย), มีการพูดภาษาอิตาลีในกลุ่มผู้อพยพชาวอิตาเลียนขนาดใหญ่ในอเมริกาและออสเตรเลีย, มีสถานะเป็นภาษาทางการของชนกลุ่มน้อยในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, สโลวีเนีย, โครเอเชีย และ โรมาเนีย left.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอินโดนีเซีย

ษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia; Indonesian language) เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตในหลายด้าน เริ่มต้นด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่พูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วนน้อยที่พูดเป็นภาษาแม่ในบางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2488 และเป็นภาษาที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากเกิดคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น ๆ อยู่ตลอด ชื่อท้องถิ่นของภาษาอินโดนีเซียคือ บาฮาซาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) และชื่อนี้ก็นำมาใช้ในภาษาอังกฤษในบางโอก.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอินเทอร์ลิงกวา

ภาษาอินเทอร์ลิงกวา (Interlingua) เป็นภาษาประดิษฐ์ ใช้ในการช่วยสื่อสารระหว่างผู้คนเชื้อชาติต่างๆ คิดค้นโดยองค์การภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ ในปี พ.ศ. 2494 หมวดหมู่:ภาษาประดิษฐ์ หมวดหมู่:ภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอินเทอร์ลิงกวา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอุยกูร์

ษาอุยกูร์ เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก พูดโดยชาวอุยกูร์ในเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ประเทศจีน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอุยกูร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอุซเบก

ษาอุซเบก (อักษรละติน: O'zbek tili ออซเบก ติลี; อักษรซีริลลิก: Ўзбек) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่พูดโดยชาว อุซเบกในประเทศอุซเบกิสถานและพื้นที่อื่น ๆ ในเอเชียกลาง ภาษาที่ใกล้เคียงที่สุดในเชิงคำและไวยากรณ์คือภาษาอุยกูร์ ภาษาเปอร์เซียและภาษารัสเซียได้มีอิทธิพลสำคัญต่อภาษาอุซเบก ภาษาอุซเบกเป็นภาษาราชการของประเทศอุซเบกิสถาน และมีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 18.5 ล้านคน ภาษาอุซเบกก่อนปีพ.ศ. 2535 เขียนด้วยอักษรซีริลลิก แต่ในปัจจุบีนมีการใช้อักษรละตินเขียนในประเทศอุซเบกิสถาน ส่วนชาวจีนที่พูดภาษาอุซเบกใช้อักษรอาหรับเขียน อิทธิพลของศาสนาอิสลามรวมถึงภาษาอาหรับแสดงชัดเจนในภาษาอุซเบก รวมถึงอิทธิพลของภาษารัสเซียในช่วงที่ประเทศอุซเบกิสถานอยู่ภายใต้การยึดครองของจักรวรรดิรัสเซีย และ โซเวียต คำภาษาอาหรับส่วนใหญ่ผ่านเข้ามายังภาษาอุซเบกผ่านทางภาษาเปอร์เซีย ภาษาอุซเบกแบ่งเป็นภาษาย่อย ๆ จำนวนมาก ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมากระหว่างภูมิภาค อย่างไรก็ดี มีภาษาย่อยที่เข้าใจกันทั่วไป ซึ่งใช้ในสื่อมวลชนและในสิ่งตีพิมพ์ส่วนใหญ่ นักภาษาศาสตร์บางคนถือว่าภาษาที่พูดในประเทศอัฟกานิสถานตอนเหนือโดยชาวอุซเบกพื้นเมือง เป็นภาษาย่อยของภาษาอุซเบก.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอูรดู

ษาอูรดู (اردو) เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ซึ่งพัฒนามาจากหลายภาษารวมกันคือ ภาษาเปอร์เซีย ตุรกี อาหรับ ฮินดี และ สันสกฤต นิยมใช้กันมากในช่วงสมัยรัฐสุลต่านเดลฮี และจักรวรรดิโมกุล (ค.ศ.๑๒๐๐ - ๑๘๐๐) ภาษาอูรดู อยู่ในอันดับที่ ๒๐ ของภาษาที่มีคนใช้เป็นภาษาแม่ และเป็นภาษาราชการของประเทศปากีสถาน นอกจากนี้ยังเป็นภาษาหนึ่งในภาษาราชการ ๒๓ ภาษา ของประเทศอินเดี.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอูรดู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอีบัน

ษาอีบัน (Iban language) มีผู้พูดทั้งหมด 694,400 คน พบในรัฐซาราวะก์ ประเทศมาเลเซีย 658,000 คน พบในบรูไน 21,400 คน พบในกาลีมันตัน ประเทศอินโดนีเซีย 15,000 คน (พ.ศ. 2546) ทางตะวันตกของกาลิมันตัน ใกล้กับชายแดนติดกับรัฐซาราวะก์ จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย สาขามาลาโย-ซุมบาวัน สาขาย่อยมาลาโย-ซุมบาวันเหนือและตะวันออก ใกล้เคียงกับภาษามลายูซาราวะก์ ในมาเลเซียมีการสอนภาษาอีบันในโรงเรียนประถมศึกษา มีรายการวิทยุเป็นภาษาอีบัน เขียนด้วยอักษรละติน เรียงประโยคแบบประธาน กริยา กรรม ในอินโดนีเซีย เป็นภาษาที่ใช้ในโบสถ์คาทอลิกสำหรับผู้พูดภาษาอื่น ๆ ที่อยู่ในบริเวณแม่น้ำเรยัง.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอีบัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอีบาไฮ

ภาษาอีบาไฮ (Ibajaynon) เป็นกลุ่มภาษาวิซายัน มีผู้พูดราว 39,643 คน ใน 36 หมู่บ้าน ในบริเวณแผ่นดินใหญ่ของเมืองอีบาไฮ จังหวัดอักลัน มีรากศัพท์ใกล้เคียงกับภาษาอักลันร้อยละ 93% มีทั้งการจัดจำแนกให้เป็นภาษาพี่น้องที่ใกล้ชิดมากหรือเป็นภาษาถิ่นของภาษาอกลานอน จุดแตกต่างที่สำคัญคือภาษาอีบาไฮมีคำที่เป็นรูปแบบสั้นของคำในภาษาอักลัน อีบาไฮ.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอีบาไฮ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอีโลกาโน

ษาอีโลกาโนเป็นภาษาที่มีผู้พูดมากเป็นลำดับสามในฟิลิปปินส์ เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนซึ่งใกล้เคียงกับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮิติ ภาษาชาร์โมโร ภาษาเตตุมและภาษาไปวัน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอีโลกาโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอตายัล

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอตายัล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอนัล

ษาอนัล (Anal language) หรือภาษานามฟัว มีผู้พูดในอินเดีย 13,900 คน (พ.ศ. 2544) ทางตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐมณีปุระ อาจจะมีผู้พูดภาษานี้ในพม่าและบังกลาเทศ จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น เขียนด้วยอักษรละติน ผู้พูดภาษานี้พูดภาษามณีปุระได้ด้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาอนัล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮมาร์

ภาษาฮมาร์ เป็นภาษาในกลุ่มทิเบต-พม่า กลุ่มย่อยกูกี-ฉิ่น-นาคา ผู้พูดภาษานี้อยู่ในรัฐมิโซรัม รัฐมณีปุระ เทือกเขานาคาและตำบลจาจัรในรัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย เป็นภาษาที่ใช้สอนในโรงเรียนในรัฐอัสสัม รัฐไมโซรัม และรัฐมณีปุระ จัดเป็นภาษาในอินเดียสมัยใหม่ที่มีสอนในมหาวิทยาลัยมณีปุระ มีผู้พูด 65,204 คน ฮมาร์.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาฮมาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮังการี

ษาฮังการี (Magyar nyelv: มอดยอร นแยลฟ) เป็นภาษากลุ่มฟินโน-อูกริคมีผู้พูดในประเทศฮังการีและในประเทศเพื่อนบ้าน มีผู้พูดภาษาฮังการีประมาณ 14.7ล้านคน จำนวน 10ล้านคนอาศัยอยู่ในประเทศฮังการี ในประเทศฮังการีและประเทศเพื่อนบ้าน ภาษาฮังการีเป็นภาษาทางการหนึ่งใน 24ภาษาของสหภาพยุโรป ภายนอกประเทศฮังการี มีผู้พูดภาษานี้ในกลุ่มชนชาวฮังการี (Magyarok: มอดยอโร็ค) ในประเทศสโลวาเกีย แถบตะวันตกของประเทศยูเครน ประเทศสโลวีเนียตอนเหนือ อาณาเขตตะวันตกและตอนกลางของประเทศโรมาเนีย (ทรานซิลเวเนีย) ประเทศเซอร์เบียตอนเหนือในเขตวอยโวดีนา และประเทศโครเอเชียตอนเหนือในเขตวอยโวดีนา เนื่องจากการถูกแยกประเทศราชอาณาจักรฮังการี ภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮากา

ษาฮากา (Haka language) มีผู้พูดทั้งหมด 131,260 คน พบในพม่า 100,000 คน (พ.ศ. 2534) ในหุบเขาฉิ่น พบในบังกลาเทศ 1,260 คน พบในอินเดีย 30,000 คน (พ.ศ. 2540) ในรัฐไมโซรัมและรัฐอัสสัม จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น –นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น เขียนด้วยอักษรละตินในอินเดียมีการสอนในโรงเรียนประถมศึกษา ผู้พูดภาษานี้ในอินเดียเรียกตนเองว่าไล.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาฮากา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮารอย

ษาฮารอย มีผู้พูดทั้งหมด 35,000 คน (พ.ศ. 2541) ในภาคใต้ของเวียดนาม จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย สาขามาลาโย-ซุมบาวัน สาขาย่อยจามเหนือและตะวันออก เขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาฮารอย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮาวาย

ษาฮาวาย (Hawaiian: Ōlelo Hawaii) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโพลินีเซียซึ่งได้ชื่อภาษามาจากเกาะฮาวาย เกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิกเขตร้อนตอนเหนือ ภาษาฮาวายและภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของมลรัฐฮาวาย พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3ได้สถาปนารัฐธรรมนูญที่เขียนขึ้นเป็นภาษาฮาวายครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮินดีฟีจี

ษาฮินดีฟีจี เป็นภาษาในกลุ่มภาษาอินโด-อารยัน ซึ่งเป็นภาษาแม่ของชาวฟีจีเชื้อสายอินเดียกว่า 380,000 คนในประเทศฟีจี (ข้อมูล พ.ศ. 2534) ภาษานี้แตกต่างจากภาษาฮินดีมาตรฐานที่พูดในประเทศอินเดีย ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาฮินดีกับภาษาฮินดีฟีจีเปรียบได้กับความสัมพันธ์ระหว่างภาษาดัตช์กับภาษาแอฟริคานส์ ภาษาฮินดีฟีจีประกอบด้วยภาษาฮินดีถิ่นตะวันออกเป็นหลัก (ภาษาอวธีและภาษาโภชปุรี) และคำยืมภาษาอังกฤษและภาษาฟีจีจำนวนมาก เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งใหญ่ในประเทศฟีจีที่ผ่านมา ชาวฟีจีเชื้อสายอินเดียส่วนหนึ่งอพยพไปยังออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา และแคนาดา ภาษาฮินดีฟีจีจึงติดไปกับพวกเขาด้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาฮินดีฟีจี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรู

ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮเร

ษาฮเร (Hre) มีผู้พูดทั้งหมด 113,000 คน (พ.ศ. 2542) ในเวียดนามทางภาคใต้ จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยบะห์นาริก เขียนด้วยอักษรละติน ผู้พูดภาษานี้ส่วนใหญ่เป็นชาวคริสต.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาฮเร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจามตะวันตก

ษาจามตะวันตก (Western Cham) หรือภาษาจามกัมพูชา ภาษาจามใหม่ มีผู้พูดทั้งหมด 253,100 คน พบในกัมพูชา 220,000 คน (พ.ศ. 2535) ในเมืองใกล้กับแม่น้ำโขง พบในไทย 4,000 คน ในกรุงเทพฯ และอาจมีตามค่ายผู้อพยพ ส่วนใหญ่เปลี่ยนมาพูดภาษาไทย สำเนียงที่ใช้พูดในไทยได้รับอิทธิพลจากตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติกมาก พบในเวียดนาม 25,000 คน โดยอยู่ในไซ่ง่อน 4,000 คน มีผู้พูดภาษานี้ในออสเตรเลีย ฝรั่งเศส อินโดนีเซีย ลิเบีย มาเลเซีย ซาอุดิอาระเบีย สหรัฐและเยเมน ภาษานี้มีความแตกต่างจากภาษาจามตะวันออกที่ใช้พูดทางภาคกลางของเวียดนาม จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย สาขามาเลย์อิก สาขาย่อยอาเจะห์-จาม เขียนด้วยอักษรจามและอักษรโรมัน ผู้พูดภาษานี้นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนี.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาจามตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจาราย

ษาจารายเป็นภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย พูดโดยชาวจารายในเวียดนามและกัมพูชา มีผู้พูดราว 332,557 คน ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยกลุ่มใหญ่ในเวียดนาม อยู่ในกลุ่มย่อยจาม ใกล้เคียงกับภาษาจามที่ใช้พูดในเวียดนามตอนกลาง มีผู้พูดภาษานี้บางส่วนอยู่ในสหรัฐ ซึ่งอพยพไปเมื่อครั้งสงครามเวียดนาม.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาจาราย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจิตตะกอง

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาจิตตะกอง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนหมิ่น

แผนที่แสดงสำเนียงหลักของภาษาจีนหมิ่น ภาษาหมิ่น เป็นหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน พูดทางตะวันออกเฉียงใต้ ของมณฑลฝูเจี้ยน และผู้ที่อพยพไปมณฑลกวางตุ้ง หูหนาน และไต้หวัน แบ่งย่อยได้เป็น ภาษาหมิ่นเหนือ (Min Bei) ภาษาหมิ่นใต้หรือภาษาจีนฮกเกี้ยน(Min nan) และสำเนียงอื่นๆ เป็นภาษาหลักของชาวจีน ในฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซี.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาจีนหมิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจ้วง

ษาจ้วง (จ้วง: Vahcuengh) เป็นภาษาของชาวจ้วงในเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง ประเทศจีน เป็นภาษาตระกูลไท-กะได มีวรรณยุกต์ 6 เสียง ระบบการเขียนมีทั้งแบบที่ยืมมาจากอักษรจีน คล้ายกับอักษรจื๋อโนมของเวียดนาม เรียก สือดิบผู้จ่อง และแบบที่เขียนด้วยอักษรละติน ซึ่งเริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2500 และปรับปรุงอีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2529 ภาษาจ้วงแบ่งเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาจ้วง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทัวเร็ก

ริเวณที่มีผู้พูดภาษาทัวเร็ก ภาษาทัวเร็ก (Tuareg) หรือภาษาทามาเช็ก (Tamasheq,, Tamajaq, ⵜⴰⵎⴰⵌⴰⵆ Tamahaq) เป็นภาษาใน กลุ่มภาษาเบอร์เบอร์ พูดโดยชาวทัวเร็กใน มาลี ไนเจอร์ แอลจีเรีย ลิเบีย และ บูร์กินาฟาโซ และมีผู้พูดเล็กน้อยใน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาทัวเร็ก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทาจิก

ษาทาจิก (Tajik Persian หรือ Tajik language หรือ Tajiki;Tadjik หรือ Tadzhik;,อักษรอาหรับเปอร์เซีย تاجیکی‎, tojikī โทจิกิ),тоҷикӣ) เป็นรูปแบบสมัยใหม่แบบหนึ่งของภาษาเปอร์เซีย ที่พูดในเอเชียกลาง เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ใน กลุ่มภาษาอิเรเนียน คนที่พูดภาษาทาจิกส่วนใหญ่อาศัยในประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน และตะวันตกของปากีสถาน แต่ผู้พูดภาษาทาจิกประมาณ 30,000 คน ใกล้ชายแดนประเทศทาจิกิสถานในประเทศจีน) เป็นภาษาราชการของประเทศทาจิกิสถาน ภาษาทาจิก ที่เป็นภาษาราชการของทาจิกิสถาน ต่างจากภาษาเปอร์เซียที่ใช้พูดในอิหร่านและอัฟกานิสถาน ซึ่งเป็นผลมาจากการแบ่งแยกดินแดนทางการเมือง การแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์และการจัดมาตรฐานทางภาษา รวมทั้งอิทธิพลของภาษารัสเซียและภาษากลุ่มเตอร์กิกที่อยู่รอบๆ มาตรฐานของภาษานี้ยึดตามสำเนียงตะวันตกเฉียงเหนือของทาจิกิสถานซึ่งเป็นเมืองเก่าของซามาร์คันฑ์ และได้รับอิทธิพลจากภาษาอุซเบกด้วย ภาษาทาจิกมีหน่วยคำในคำศัพท์ การออกเสียงและไวยากรณ์ซึ่งไม่มีในภาษาเปอร์เซียที่พูดในที่อื่น ซึ่งน่าจะเป็นมาจากการที่ถูกแบ่งแยกโดยภูมิศาสตร์เขตเทือกเขาของเอเชียกลาง.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาทาจิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทาโด

ษาทาโด (Thado language) มีผู้พูดทั้งหมด 231,200 คน พบในอินเดีย 205,000 คน ในรัฐมณีปุระ รัฐอัสสัม รัฐไมโซรัม รัฐนาคาแลนด์ รัฐตรีปุระพบในพม่า 26,200 คน (พ.ศ. 2526) ในเขตสะกายและทางเหนือของรัฐฉิ่น จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น ผู้พูดภาษานี้ในอินเดียจะพูดภาษามณีปุรีหรือภาษาเนปาลได้ด้วย มีรายการวิทยุออกอากาศด้วยภาษานี้ เขียนด้วยอักษรละติน เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กร.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาทาโด · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาของชาวยิว

งานเขียนอายุราวพุทธศตวรรษที่ 21 ของ Elia Levita แสดงจากซ้ายไปขวา ภาษายิดดิช - ภาษาฮีบรู - ภาษาละติน - ภาษาเยอรมัน ภาษาของชาวยิว (Jewish languages) เป็นกลุ่มของภาษาและสำเนียงที่พัฒนาในชุมชนชาวยิวทั่วโลกทั้งในยุโรป เอเชียและแอฟริกาเหนือ พัฒนาการของภาษาเหล่านี้เกิดขึ้นโดยการเพิ่มศัพท์ภาษาฮีบรูเพื่อใช้อธิบายแนวคิดเฉพาะของชาวยิวเข้าสู่ภาษาท้องถิ่น ส่วนใหญ่เขียนด้วยอักษรฮีบรู การอยู่เป็นกลุ่มก้อนอย่างเป็นเอกเทศของชาวยิว ทำให้ภาษาเหล่านี้รักษาคำศัพท์และลักษณะดั้งเดิมของภาษาที่เป็นภาษาต้นกำเนิดได้ภาษาของชาวยิวที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษายิดดิช ซึ่งเคยมีผู้พูดมากที่สุดในอดีต ภาษาลาดิโนที่เป็นภาษาของชาวยิวเซฟาร์ดีมากว่า 5 ศตวรรษและภาษาอาหรับของชาวยิวที่ใช้พูดในบริเวณที่มีผู้พูดภาษาอาหรับมากว่าพันปี ภาษาฮีบรูเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนายูดาย และเคยใช้เป็นภาษาพูดมาก่อน จนราว..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาของชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาดาไอ

ษาดาไอ (Daai language) หรือภาษาได มีผู้พูดในพม่าทั้งสิ้น 30,000 คน (พ.ศ. 2537) ในเมืองมาตูปี ปาเลตวา และกันเปตเลต จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น เขียนด้วยอักษรละติน เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา ภาษานี้ที่ใช้พูดในเมืองมาตูปีค่อนข้างมีลักษณะต่างจากภาษาในเมืองอื่น บางครั้งเรียกกลุ่มชนที่พูดภาษานี้ว่ามึนหรืออึตบือ แต่ภาษาที่ใช้มีความแตกต่างจากภาษามึน ในอดีต พวกเขาเรียกตัวเองว่ามึนหรืออึตบือหรือคโย เพื่อให้มีสถานะที่สูงขึ้น.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาดาไอ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาดุงกาน

ษาดุงกาน (ดุงกาน: Хуэйзў йүян Xuejzw jyian, Дунганский Язык Dunganskij jazyk) เป็นภาษาตระกูลจีน-ทิเบต ใช้พูดโดยชาวดุงกานหรือชาวหุยในเอเชียกลาง.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาดุงกาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาครี

ษาครี (Nēhiyawēwin / Ininīmōwin / Ililīmōwin / Īyiyō Ayāmōn) อยู่ในตระกูลภาษาอันกอนเควียน มีผู้พูด 60,000 คน ในแคนาดา โดยเฉพาะในออนตาริโอ มันนิโตบา แชสเก็ทชีวาน และอัลเบอร์ตา มีหลายสำเนียงได้แก.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาครี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคลิงงอน

ษาคลิงงอน (Klingon language; คลิงงอน: tlhIngan Hol, ออกเสียง) เป็นภาษาประดิษฐ์ซึ่งพูดโดยชาวคลิงงอนในจักรวาลของสตาร์ เทรค ได้รับการประดิษฐ์โดยมาร์ก โอแครนด์ นักภาษาศาสตร์ชาวอเมริกัน ก่อนที่ภาษาคลิงงอนจะถูกประดิษฐ์ขึ้นมา ชาวคลิงงอนในภาพยนตร์เรื่องสตาร์ เทรค จะสื่อสารกันโดยใช้ภาษาอังกฤษ แต่เมื่อภาษาคลิงงอนถูกประดิษฐ์แล้ว ชาวคลิงงอนก็ได้เปลี่ยนไปสื่อสารโดยใช้ภาษาคลิงงอนแทน มีผู้คนจำนวนน้อยมากที่สามารถใช้ภาษาคลิงงอนได้เป็นอย่างดี เนื่องจากคำศัพท์ในภาษาคลิงงอนส่วนใหญ่มีจุดศูนย์กลางมาจากแนวคิดเกี่ยวกับยานอวกาศและการทำสงคราม ทำให้ภาษาคลิงงอนเป็นภาษาที่ยากต่อการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาคลิงงอน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคอร์นวอลล์

ษาคอร์นวอลล์ (Kernowek หรือ Kernewek; Cornish) เป็นภาษาเคลต์บริตตันที่จัดอยู่ในกลุ่มภาษาบริตตันตะวันตกเฉียงใต้ ในอดีตผู้พูดคือชาวคอร์นวอลล์ ภาษาคอร์นวอลล์ได้รับการฟื้นคืนชีพจากการที่เป็นภาษาที่สูญพันธุ์ไปแล้วมาเป็นภาษาพูดอีกครั้ง ภาษาคอร์นวอลล์มีความสำคัญต่อชาวคอร์นวอลล์มาก เป็นภาษาที่รัฐบาลสหราชอาณาจักรระบุให้ใช้เป็นหนึ่งในภาษาทางการของคอร์นวอลล์ ปกป้องโดยกฎบัตรยุโรปของภาษาชนกลุ่มน้อยหรือภาษาท้องถิ่น (European Charter for Regional or Minority Languages) โดยทำให้ภาษาคอร์นวอลล์มีผู้พูดเพิ่มขึ้นเรื่อ.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาคอร์นวอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคากัส

ษาคาดัสเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกและเป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐคากัสเซียในรัสเซีย ที่อยู่ทางภาคกลางตอนใต้ของไซบีเรียใช้พูดโดยชาวคากัสที่ส่วนใหญ่อยู่ทางใต้ของสาธารณรัฐคากัส ไซบีเรีย หรือคากัสเซียในรัสเซีย มีชาวคากัสที่พูดภาษานี้ราว 60,168 คน ส่วนใหญ่พูดภาษารัสเซียได้ด้วย ภาษาคากัสแบ่งได้เป็นหลายสำเนียงตามเผ่าย่อยต่างๆ หลักฐานการศึกษาภาษาคากัสเริ่มเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 24 โดยนักภาษาศาสตร์ชาวฟินแลนด์ Matthias Castren ผู้ที่เดินทางไปในเอเชียตอนเหนือและตอนกลางระหว่าง..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาคากัส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาราไช-บัลคาร์

ษาคาราไช-บัลคาร์ (Karachay-Balkar language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใช้พูดโดยชาวคาราไชและชาวบัลคาร์ มีภาษาถิ่นสองแบบคือสำเนียงคาราไชและสำเนียงบัลคาร์ ซึ่งมีหน่วยเสียงพยัญชนะบางตัวต่างกัน เช่น เสียง ของสำเนียงคาราไช เป็นเสียง ในสำเนียงบัลคาร.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาคาราไช-บัลคาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาซัค

ษาคาซัค (Kazakh, Kazak, Qazaq, Қазақ тілі, Qazaq tili: คาซัค ติลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ที่มีรหัส ISO 639 ว่า kaz และ kk ภาษาคาซัคเป็นหนึ่งในภาษาราชการของประเทศคาซัคสถาน และนอกจากนี้ยังมีคนพูดภาษานี้ในอัฟกานิสถาน จีน อิหร่าน คีร์กีซสถาน มองโกเลีย รัสเซีย ทาจิกิสถาน ตุรกี เติร์กเมนิสถาน ยูเครน และอุซเบกิสถาน ในเยอรมนีมีคนที่พูดภาษาคาซัคตั้งแต่ครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ทั่วโลกมีคนพูดภาษาคาซัคเป็นภาษาแม่ประมาณ 6.5 ล้านคน เขียนโดยใช้อักษรซีริลลิก อักษรละติน (ในตุรกี) และอักษรอาหรับที่มีการดัดแปลง (ในประเทศจีน อิหร่าน และอัฟกานิสถาน).

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาคาซัค · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาซาร์

ษาคาซาร์ เป็นภาษาที่พูดโดยเผ่าคาร์ซาร์ในเอเชียกลางในยุคกลาง อยู่ในภาษากลุ่มเตอร์กิก ใกล้เคียงกับภาษาฮั่น มีข้อโต้แย้งกันมากว่าภาษาคาซาร์ควรอยู่ในสาขาใดของภาษากลุ่มเตอร์กิกถ้าจะจัดให้อยู่ในกลุ่มนี้ บางคนเสนอว่าน่าจะจัดให้อยู่ในภาษากลุ่มอิหร่านหรือภาษากลุ่มคอเคเซียน อาจได้รับอิทธิพลจากภาษาเตอร์กิกโบราณและภาษาอุยกูร์ นักวิชาการอาหรับในยุคกลางจำแนกให้ภาษาคาซาร์คล้ายกับภาษาของชาวเติร์กเช่น ภาษาโอคุซ นอกจากนั้นภาษาคาซาร์และภาษากลุ่มโอคุซมีความใกล้เคียงกับภาษาอื่น เพราะภาษาบัลการ์อาจได้รับอิทธิพลจากภาษาเตอร์กิกโบราณและภาษาอุยกูร์ นักวิชาการปัจจุบันได้ตั้งสมมติฐานโอคุซโดยสันนิษฐานว่าภาษาคาซาร์มีจุดกำเนิดจากยุคของกอกเติร์ก ซึ่งเป็นไปได้ว่าภาษาเตอร์กิกโบราณแบบของกอกเติร์กมีการใช้เป็นภาษาทางการในช่วงต้นของประวัติภาษาคาซาร์แต่ไม่มีหลักฐานเหลืออยู่ จารึกอักษรออร์คอน ที่ใช้เขียนภาษาคาซาร์ ตัวอย่างของภาษาคาซาร์ที่เหลืออยู่ในปัจจุบันมีน้อยมาก ส่วนใหญ่เป็นชื่อที่ยังเหลืออยู่ในเอกสารทางประวัติศาสตร์ที่เหลืออยู่ในภาษาฮีบรู ภาษาคาซาร์ที่เหลืออยู่เป็นข้อความที่เขียนด้วยอักษรรูนส์แบบเตอร์กิก แต่ก็ยังพบภาษาคาซาร์ที่เขียนด้วยอักษรซีริลลิก อักษรกรีก อักษรฮีบรู อักษรละติน อักษรอาหรับหรืออักษรจอร์เจียในชุมชนที่ต่างกัน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาคาซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคูมี

ษาคูมี (Khumi language) มีผู้พูดทั้งหมด 62,090 คน พบในพม่า 60,000 คน (พ.ศ. 2549) ในรัฐยะไข่ พบในบังกลาเทศ 2,090 คน ในตำบลบันดาร์บัน และมีในรัฐอัสสัม ประเทศอินเดียจำนวนหนึ่ง จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น –นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น ผู้พูดภาษานี้ในพม่าจะพูดภาษาพม่าได้ด้วย เขียนด้วยอักษรละตินในอินเดีย เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา คำขยายมาก่อนคำนาม.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาคูมี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคูมี อวา

ษาคูมี อวา (Khumi Awa language) มีผู้พูดในพม่าทั้งสิ้น 60,000 คน (พ.ศ. 2549) ในบริเวณรัฐยะไข่ตอนบน เทือกเขาอาระกันและตามแนวชายฝั่ง และในรัฐชิน จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น เขียนด้วยอักษรละติน เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา มีการแปลไบเบิลเป็นภาษานี้ใน..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาคูมี อวา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคีร์กีซ

ษาคีร์กีซ (Kyrgyz Language; Кыргыз тили, Kyrgyz tili; قىرعىز تىلى) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภาษาราชการของประเทศคีร์กีซสถานคู่กับภาษารัสเซีย มีผู้พูด 7 ล้านคน ในคีร์กีซสถาน จีน อัฟกานิสถาน คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน ตุรกี อุซเบกิสถาน ปากีสถานและรัสเซีย เขียนด้วยอักษรซีริลลิกดัดแปลงในคีร์กีซสถาน และอักษรอาหรับดัดแปลงในจีน เคยเขียนด้วยอักษรละตินในช่วง..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาคีร์กีซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษางายู

ษางายู (Ngaju language) หรือ ภาษางายา มีผู้พูด 890,000 คน (พ.ศ. 2546) ในกาลิมันตัน ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามลาโย-โพลีนีเซีย สาขาเกรทเตอร์ บาริโต สาขาย่อยบาริโตตะวันตก เป็นภาษาที่ใช้ทางการค้าในพื้นที่ส่วนใหญ่ของกาลิมันตัน แปลไบเบิลเป็นภาษานี้ตั้งแต..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษางายู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษางาลา

ษางาลา (Nga La) มีผู้พูดทั้งหมด 60,000 คน พบในพม่า 40,000 คน (พ.ศ. 2543) พบในอินเดีย 20,000 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐไมโซรัม จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น เขียนด้วยอักษรละติน ผู้พูดภาษานี้ในอินเดียและพม่าจะเข้าใจกันได้ยาก.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษางาลา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตอว์

ษาตอว์ (Tawr language) หรือภาษาตอร์ มีผู้พูดในพม่าทั้งสิ้น 700 คน ใน..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาตอว์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตังซา

ษาตาเซหรือภาษาตังซา (Tase language) มีผู้พูดทั้งหมด 100,400 คน พบในพม่า 55,400 คน (พ.ศ. 2543) พบทางตะวันตกเฉียงเหนือของพม่า พบในอินเดีย 45,000 คน (พ.ศ. 2544) ทางตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐอรุณาจัลประเทศ และในรัฐอัสสัม จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขาจิงผ่อ-กอนยัก-โบโด สาขาย่อยกอนยัก-โบโด-กาโร มีรายการวิทยุออกอากาศด้วยภาษานี้ ในอินเดียเขียนด้วยอักษรละติน เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา คำปรบท แสดงความเป็นเจ้าของและคำนำหน้ามาก่อนคำนาม คำแสดงจำนวนและคุณศัพท์มาทีหลังคำนามที่ขยาย คำแสดงคำถามอยู่ท้ายประโยค มีเสียงวรรณยุกต์ 2 เสียง ผู้พูดภาษานี้บางส่วนจะพูดภาษาฮินดี ภาษาอัสสัม ภาษาพม่า ภาษาอังกฤษ หรือภาษาสิงผ่อได้.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาตังซา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตั่ย

ษาตั่ย (Tày language) มีผู้พูดทั้งหมด 1,480,000 คน (พ.ศ. 2542) ในประเทศเวียดนามทางตอนเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือใกล้กับชายแดนประเทศจีน อาจจะมีผู้พูดภาษานี้ในประเทศลาว ฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา ส่วนใหญ่พูดภาษาเวียดนามได้ด้วย จัดอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มภาษากัม-ไท เขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาตั่ย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตากาล็อก

ษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีตี ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาษากลางภายในประเทศ มีผู้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากกว.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาตากาล็อก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตาตาร์

ษาตาตาร์ เป็นภาษากลุ่มเติร์ก ตระกูลยูราล-อัลไตอิก พูดโดยชาวตาตาร์ จัดเป็นภาษารูปคำติดต่อ มีผู้พูดในบางส่วนของยุโรป รัสเซีย ไซบีเรีย จีน ตุรกี โปแลนด์ ยูเครน ฟินแลนด์ และเอเชียกลาง เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐตาตาร์สถาน เขียนด้วยอักษรซีริลลิกโดยมีอักษรเฉพาะที่ไม่ได้ใช่ในภาษากลุ่มสลาวิก.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาตาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตาตาร์ไครเมีย

ษาตาตาร์ ไครเมีย หรือภาษาไครเมีย ภาษาตุรกีไครเมีย เป็นภาษาของชาวตาตาร์ไครเมีย ใช้พูดในไครเมีย เอเชียกลาง โดยเฉพาะในอุซเบกิสถาน และผู้อพยพชาวตาตาร์ ไครเมียในตุรกี โรมาเนีย บัลแกเรีย เป็นคนละภาษากับภาษากวาซัน ตาตาร.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาตาตาร์ไครเมีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกี

ษาตุรกี (Türkçe ตืร์กเช หรือ Türk dili ตืร์ก ดิลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก เป็นภาษาที่มีผู้พูด 65 – 73 ล้านคนทั่วโลกซึ่งถือเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากที่สุด ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกี และมีกระจายอยู่ในไซปรัส บัลแกเรีย กรีซ และยุโรปตะวันออก และมีผู้พูดอีกหลายสิบล้านคนที่อพยพไปอยู่ในยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะเยอรมัน ต้นกำเนิดของภาษาพบในเอเชียกลางซึ่งมีการเขียนครั้งแรกเมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว ภาษาตุรกีออตโตมันได้แพร่ขยายไปทางตะวันตกซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวของจักรวรรดิออตโตมัน พ.ศ. 2471 หลังการปฏิรูปของอตาเตริ์กซึ่งเป็นปีแรกๆของยุคสาธารณรัฐใหม่ มีการปรับปรุงภาษาโดยแทนที่อักษรอาหรับในยุคออตโตมันด้วยอักษรละตินที่เพิ่มเครื่องหมายการออกเสียง มีการตั้งสมาคมภาษาตุรกีเพื่อลดการใช้คำยืมจากภาษาเปอร์เซียกับภาษาอาหรับ หันมาใช้คำดั้งเดิมของภาษากลุ่มเตอร์กิกแทน ลักษณะเด่นของภาษาตุรกีคือมีการเปลี่ยนเสียงสระและการเชื่อมคำแบบรูปคำติดต่อ การเรียงคำโดยทั่วไปเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา ไม่มีการแบ่งเพศของคำนาม.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกีออตโตมัน

ษาตุรกีออตโตมัน (ภาษาอังกฤษ: Ottoman Turkish; ภาษาตุรกี: Osmanlıca หรือ Osmanlı Türkçesi; ภาษาตุรกีออตโตมัน: لسان عثمانی‎ lisân-ı Osmânî) เป็นรูปแบบหนึ่งของภาษาตุรกีที่เคยเป็นภาษาในการปกครองและภาษาเขียนในจักรวรรดิออตโตมัน เป็นภาษาที่มีคำยืมจากภาษาอาหรับและภาษาเปอร์เซียมาก เขียนด้วยอักษรอาหรับ ภาษานี้ไม่เป็นที่เข้าใจในหมู่ชาวตุรกีที่มีการศึกษาต่ำ อย่างไรก็ตาม ภาษาตุรกีที่ใช้พูดในทุกวันนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาตุรกีออตโตมันเช่นกัน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาตุรกีออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตูโรโย

ษาตูโรโย เป็นภาษาซีเรียคใหม่หรือภาษาอราเมอิกใหม่ ใช้พูดในตุรกีตะวันออกและซีเรียตะวันออกเฉียงเหนือ โดยผู้นับถือศาสนาคริสต์นิกายซีเรียคออร์ธอดอกซ์ คำว่าตูโร (ṭuro), หมายถึงภูเขา ตูโรโย (Ṭuroyo) จึงหมายถึงสำเนียงภูเขาทงตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี ชื่อเก่าของภาษานี้คือซูรายต์ (Ṣurayt) ซึ่งอาจจะเกี่ยวข้องกับคำว่าซีเรียค ผู้พูดภาษานี้ใช้ภาษาซีเรียคคลาสสิกเป็นภาษาทางศาสนาและวรรณคดี และมีความพยายามที่จะนำกลับมาใช้เป็นภาษาพูด ไม่มีการใช้ภาษาตูโรโยเป็นภาษาเขียนแต่เขียนด้วยภาษาซีเรียคคลาสสิกแทน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาตูโรโย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตงเซียง

ษาซานตา (Santa language) หรือภาษาตงเซียง (Dongxiang;ภาษาจีน: 东乡语) เป็นภาษากลุ่มมองโกลที่ใช้พูดโดยชาวตงเซียงในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีน ภาษาตงเซียงไม่มีการเปลี่ยนเสียงสระและไม่มีความต่างของความยาวเสียงสร.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาตงเซียง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาต้ง

ษาต้ง หรือเรียกชื่อในภาษาของชาวต้งว่า ลิ๊กก๊ำ (leec Gaeml) เป็นภาษาตระกูลไท-กะได พูดโดยชาวต้งในประเทศจีน แต่เดิมเคยเขียนด้วยอักษรจีน ต่อมาได้มีการพัฒนาการเขียนด้วยอักษรละตินเมื่อ พ.ศ. 2501 แต่ไม่แพร่หลายมากนัก ภาษาต้งสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มภาษาต้งเหนือ และภาษาต้งใต้.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาต้ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซาริโกลี

ษาซาริโกลีเป็นภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออกเฉียงใต้ กลุ่มย่อยปามีร์ พูดโดยชาวทาจิกในจีน ชื่อเป็นทางการในประเทศจีนคือภาษาทาจิก (塔吉克语/Tǎjíkèyǔ) แต่ถือว่าอยุ่ในกลุ่มย่อยที่ต่างจากภาษาทาจิกที่เป็นภาษาราชการของประเทศทาจิกิสถาน มีผู้พูดราว 10,000 คน ส่วนใหญ่อยู่ในเขตปกครองตนเองทักโกรคัน ทาจิกในมณฑลซินเจียง ผุ้พูดภาษานี้ใช้ภาษาอุยกูร์หรือภาษาจีนติดต่อกับผู้พุดภาษาอื่นๆในบริเวณนั้น โดยทั่วไปสามารถเข้าใจกันได้กับผู้พูดภาษาวาคี ซึ่งเป็นภาษาของชนกลุ่มน้อยชาวทาจิกจีนด้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาซาริโกลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซุกนี

ษาซุกนี เป็นภาษากลุ่มปามีร์ในภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออกเฉียงใต้ ใช้ในจังหวัดปกครองตนเองโคร์โน บาดักสถานในทาจิกิสถานและจังหวัดบาดักสถานในอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาซุกนี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซุนดา

ษาซุนดาเป็นภาษาที่ใช้พูดในหมู่ชาวซุนดา ประเทศอินโดนีเซียในเขตชวาตะวันตก อยู่ในตระกูลออโตรนีเซียน สาขามลาโย-โพลีนีเซียน สำเนียงปรีงาอันเป็นสำเนียงที่มีการสอนในระดับประถมศึกษา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาซุนดา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาปังกาซีนัน

ษาปังกาซีนัน (ฟิลิปีโนและPangasinan) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน สาขามาเลโย-พอลินีเชียน มีผู้พูดราว 1.5 ล้านคนในจังหวัดปังกาซีนัน ทางภาคตะวันตกของเกาะลูซอน คำว่าปังกาซีนันแปลว่าแผ่นดินเกลือหรือแหล่งบรรจุเกลือ เรียงประโยคแบบกริยา-ประธาน-กรรม.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาปังกาซีนัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษานอร์สโบราณ

ภาษานอร์สโบราณ (Norrœnt mál) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกเหนือ พูดในสแกนดิเนเวียและอาณานิคมโพ้นทะเลของชาวสแกนดิเนเวียในยุคไวกิงจนถึงประมาณค.ศ. 1300 ภาษานอร์สโบราณพัฒนามาจากภาษานอร์สดั้งเดิมในคริสต์ศตวรรษที่ 8 และพัฒนาไปเป็นภาษาเจอร์แมนิกเหนือหลายภาษาหลังยุคไวกิง ภาษาในปัจจุบันที่มาจากภาษานอร์สโบราณได้แก่ภาษาไอซ์แลนด์ แฟโร นอร์เวย์ เดนมาร์ก และสวีเดน นอร์สโบราณ นอร์สโบราณ นอร์สโบราณ หมวดหมู่:ประเทศกลุ่มนอร์ดิก.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษานอร์สโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาน่าซี

ษาน่าซีเป็นภาษากลุ่มจีน-ทิเบต มีผู้พูดราว 300,000 คน ในลี่เจียง มณฑลยูนนาน ใน..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาน่าซี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแบชเคียร์

ษาแบชเคียร์ (Bashkir language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ในรัสเซียมากกว่า 1,047,000 คน เมื่อ..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาแบชเคียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแฟโร

ษาแฟโร (føroyskt) เป็นภาษากลุ่มสแกนดิเนเวียตะวันตก มีความคล้ายคลึงกับภาษาไอซ์แลนด์ มีผู้พูดภาษาแฟโรเป็นภาษาแม่ทั่วโลกประมาณ 80,000 คน แบ่งเป็นผู้พูดในหมู่เกาะแฟโรประมาณ 48,000 คน ผู้พูดในเดนมาร์กประมาณ 25,000 คน นอกจากนี้ยังมีผู้พูดภาษาแฟโรกลุ่มเล็ก ๆ (ประมาณ 5,000 คน) ในไอซ์แลนด์ด้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาแฟโร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอราเมอิก

ษาแอราเมอิก (Aramaic language) เป็นภาษาตระกูลเซมิติกที่มีความเป็นมายาวนานกว่า 3,000 ปืเป็นภาษากลางของบริเวณตะวันออกใกล้ในช่วง 157 ปีก่อนพุทธศักราชถึง..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาแอราเมอิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย

ษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย เป็นรูปแบบใหม่ของภาษาแอราเมอิกตะวันออกหรือภาษาซีรีแอก แต่ไม่เกี่ยวข้องกับภาษาอัคคาเดียที่ใช้พูดในจักรวรรดิอัสซีเรีย หรือภาษาแอราเมอิกที่เป็นภาษากลางในจักรวรรดิอัสซีเรีย ในช่วง 257 ปีก่อนพุทธศักราช เริ่มแรกภาษานี้ ใช้พูดนบริเวณทะเลสาบอูร์เมีย ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอิหร่านและซิอิต ตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี ปัจจุบันมีผู้พูดกระจายไปทั่วโลก ผู้พูดส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายอัสซีเรียแห่งตะวันออก มีผู้พูดราว 200,000 คน ในอิรัก ซีเรีย อิหร่าน อาร์มีเนีย จอร์เจีย และตุรกี เขียนด้วย อักษรซีรีแอก อักษรละติน และอักษรฮีบรู.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอลเบเนีย

ษาแอลเบเนีย (Shqip; Albanian language) เป็นภาษาที่พูดโดยมากกว่า 6 ล้านคน ส่วนใหญ่ในประเทศแอลเบเนีย รวมถึงประเทศอื่น ๆ ใน ภูมิภาคบอลข่านด้วย โดยพวกผู้อพยพในประเทศอิตาลีและประเทศตุรกี เป็นสาขาของตัวเองในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโบโด

ษาโบโด(बोडो)จัดอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า พูดโดยชาวโบโดที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียและเนปาล เคยเขียนด้วยอักษรละติน ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรเทวนาครี.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาโบโด · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโกโฮ

ษาโกโฮ (Koho) หรือภาษากะโฮ ภาษาโกฮอร์ มีผู้พูดทั้งหมด 129,000 คน (พ.ศ. 2542) ทางภาคใต้ของเวียดนาม จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยบะห์นาริก เขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาโกโฮ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโรกลายเหนือ

ษาโรกลายเหนือ (Northern Roglai) หรือภาษาแอดลาย ภาษารากลาย ภาษารังกลาย มีผู้พูดทั้งสิ้น 52,900 คน (พ.ศ. 2545) ทางภาคใต้ของประเทศเวียดนาม จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย สาขามาลาโย-ซุมบาวัน สาขาย่อยจาม เขียนด้วยอักษรละติน มีรายการวิทยุออกอากาศด้วยภาษานี้.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาโรกลายเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโรฮีนจา

ษาโรฮีนจา (โรฮีนจา: Ruáingga) เป็นภาษาที่พูดโดยชาวมุสลิมโรฮีนจา มีผู้พูดทั้งหมด 1,500,000 คน พบในพม่า 1,000,000 คน (พ.ศ. 2549) ในรัฐยะไข่ ประเทศพม่า พบในบังกลาเทศ 200,000 คน (พ.ศ. 2549) และอาจจะมีในมาเลเซีย ซาอุดีอาระเบีย และไทย จัดอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน สาขาอินโด-อารยันตะวันออก สาขาย่อยเบงกาลี-อัสสัม ใกล้เคียงกับภาษาจิตตะกองในบังกลาเทศ มีคำยืมจากภาษาอูรดู ภาษาเบงกาลี ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอาหรับ ภาษาพม่า และภาษาอังกฤษมาก เดิมชาวโรฮีนจาอพยพจากบังกลาเทศเข้าไปอยู่ในพม่า และปัจจุบันมีผู้อพยพส่วนหนึ่งอพยพกลับไปสู่บังกลาเทศ แต่ถูกผลักดันให้กลับไปสู่พม.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาโรฮีนจา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโลทา

ภาษาโลทา มีผู้พูดราว 80,000 คนในรัฐนาคาแลนด์ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย ส่วนใหญ่อยู่ทางตอนกลางของรัฐ อยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ใกล้เคียงกับภาษาเอา ที่ใช้พูดทางตอนเหนือ และภาษามณีปุรีในรัฐมณีปุระ เขียนด้วยอักษรละติน ที่ประดิษฐ์โดยมิชชันนารีชาวตะวันตก คำศัพท์ได้รับอิทธิพลจากภาษาอัสสัมและภาษาฮินดี มีการแปลคัมภีร์ไบเบิลเป็นภาษาโลทาด้วย ลโทา.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาโลทา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโวลอฟ

ษาโวลอฟ (โวลอฟ: Wolof làkk) เป็นภาษาของชาวโวลอฟ ใช้ในเซเนกัล, แกมเบีย และมอริเตเนีย ภาษาที่ใกล้ชิดคือ Serer และภาษาฟูลา ภาษาโวลอฟอยู่ในตระกูลภาษาไนเจอร์-คองโก.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาโวลอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโวลาปุก

ษาโวลาปุก (Volapük) เป็นภาษาประดิษฐ์ คิดค้นโดย โจฮานน์ มาร์ติน เชลเยอร์ ในปี พ.ศ. 2422 – 2423 โดยนำคำศัพท์บางส่วนมาจากภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน และภาษาฝรั่งเศส โดยเชลเยอร์ได้ฝันไปว่าเทพเจ้าสั่งให้เขาสร้างภาษาประดิษฐ์สากล ถึงแม้ว่าในปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาโวลาปุก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโสรา

ษาโสรา หรือภาษาเสารา ภาษาเสาห์รา ภาษาศาพารี ภาษาสพัร ภาษาสัวรา ภาษาสวระ ภาษาสาวาเรีย ภาษาสวเรา หรือภาษาสาพารา เป็นภาษากลุ่มมุนดาในอินเดีย มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ 288,000 คน (2540) ในทางใต้ของรัฐโอริศา ที่อยู่ทางตะวันออกของอินเดีย แต่ก็มีที่รัฐอันธรประเทศ มัธยประเทศ พิหาร ทมิฬนาฑู เบงกอลตะวันตก และบางส่วนของรัฐอัสสัม เขียนด้วยอักษรเตลุกุ อักษรละติน และอักษรโสรัง สมเป็งที่ประดิษฐ์เมื่อ..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาโสรา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโท

ษาโท (Tho) มีผู้พูดทั้งหมด 68,400 คน (พ.ศ. 2542) ในเขตที่สูงทางเหนือของจังหวัดเหง่อัน ภาคเหนือของประเทศเวียดนาม จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร สาขาเหวียด-เหมื่อง สาขาย่อยกูออย เขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาโท · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโคมิ

ษาโคมิ เป็นภาษาของชาวโคมิทางตะวันตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรปในสหพันธรัฐรัสเซีย จัดอยู่ในตระกูลฟินโน-ยูกริก สาขาฟินโน-เปอร์มิก ภาษาโคมิมีสำเนียงต่างๆมากมาย ที่เป็นที่รู้จักกันดีมีสองสำเนียงคือ สำเนียงโคมิ-ไซเรียน ซึ่งเป็นกลุ่มใหญ่ที่สุด ใช้เป็นภาษาเขียนในสาธารณรัฐโคมิ และสำเนียงโคมิ-ยัซวา ซึ่งมีผู้พูดน้อยกว่า อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเขตเปิร์มและทางใต้ของสาธารณรัฐโคมิ สำเนียง เปอร์มืกหรือโคมิ-เปอร์มืก ใช้พูดในเขตโคมิ-เปอร์มืกซึ่งใช้เป็นภาษาเขียนด้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาโคมิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโครยอ-มาร์

ษาโครยอ-มาร์ (ฮันกึล: 고려말; Корё маль; ภาษาเกาหลีมาตรฐาน: 중앙아시아 한국어, ความหมาย ภาษาเกาหลีเอเชียกลาง) เป็นภาษาถิ่นหนึ่งของภาษาเกาหลีที่ใช้พูดโดยชาวโครยอ-ซารัม กลุ่มชาติพันธุ์เกาหลีที่อาศัยอยู่ในพื้นที่อดีตสหภาพโซเวียต ซึ่งชาวเกาหลีกลุ่มนี้มีบรรพบุรุษอาศัยในเขตฮัมกยอง ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศเกาหลีเหนือ แต่ภาษานี้เข้าใจได้ยากเมื่อใช้พูดคุยกับภาษาเกาหลีมาตรฐาน ซึ่งอาจเป็นเพราะภาษาโครยอ-มาร์รับคำยืมจากภาษารัสเซีย และชาวโครยอ-ซารัมก็นิยมที่ใช้ภาษารัสเซียเป็นภาษาแม่ มากกว่าใช้ภาษาโครยอ-มาร์เอง.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาโครยอ-มาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโซ

ษาโซ (Zou language) หรือภาษาโซมี ภาษาโซเม มีผู้พูดทั้งหมด 50,600 คน พบในพม่า 30,000 คน ในรัฐฉิ่น พบในอินเดีย 20,600 คน ในรัฐมณีปุระและรัฐอัสสัม จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น ใกล้เคียงกับภาษาฉิ่นสำเนียงไปเตหรือสำเนียงซิมเต ในอินเดียเขียนด้วยอักษรละติน มีการแปลไบเบิลเป็นภาษาโซ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กร.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาโซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโปรตุเกส

ษาโปรตุเกส (português ปุรตุเกฌ) เป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ที่พูดในประเทศต่าง ๆ เช่น ประเทศโปรตุเกส ประเทศบราซิล ประเทศแองโกลา ประเทศโมซัมบิก และประเทศติมอร์-เลสเต ภาษาโปรตุเกสมีคนพูดเป็นภาษาแม่มากกว่า 200 ล้านคน ทำให้เป็นหนึ่งในไม่กี่ภาษาที่พูดทั่วโลก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากเป็นอันดับ 5 หรือ 6 ของโลกปัจจุบัน ภาษาโปรตุเกสถูกขนานนามว่า A língua de Camões อาลิงกวาดึกามอยช์ ("ภาษาของกามอยช์" ตามชื่อลูอิช ดึ กามอยช์ ผู้ประพันธ์ The Lusiad: ลูเซียด) และ A última flor do Lácio อาอุลตีมาโฟลร์ดูลาซีอู ("ดอกไม้ดอกสุดท้ายของละติอุม") คนที่พูดภาษาโปรตุเกสเรียกว่า ลูซิตานิก: Lusitanic หรือ ลูโซโฟน: Lusophones.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโนไก

ษาโนไก หรือภาษาตาตาร์ โนไก เป็นภาษาที่ใช้พูดทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัสเซีย แบ่งได้เป็นสำเนียงหลักสามสำเนียงคือ Qara-Nogay (โนไกเหนือหรือโนไกดำ), ใช้พูดในดาเกสถาน Nogai Proper, ใช้พูดใน Stavropol; และ Aqnogay (โนไกตะวันตกหรือโนไกขาว), ใช้พูดในบริเวณแม่น้ำกูบัน Qara-Nogay และNogai Proper มีลักษณะทางภาษาศาสตร์ใกล้เคียงกันแต่ Aqnogay มีลักษณะที่ต่างออกไป จัดอยู่ในภาษากลุ่มเคียปชัก-โนไก ของภาษากลุ่มเตอร์กิก สาขาเคียปชัก เช่นเดียวกับภาษาตาตาร์ ไครเมีย ภาษาการากัลปัก และภาษาคีร์กีซ.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาโนไก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไมโซ

ษาไมโซ เป็นภาษาที่ใช้ในรัฐมิโซรัม ซึ่งอยู่ระหว่างเทือกเขาจิตตะกองและเทือกเขาชิน คำว่าไมโซแปลว่า “คนบนที่สูง” ภาษาไมโซทุกสำเนียง มีผู้พูดในอินเดีย 529,000 คน (2540) ในบังกลาเทศ 1,041 คน (2524) ในพม่า 12,500 คน (2526) รวมทั้งหมด 542,541 คน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาไมโซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไอริช

ษาไอริช หรือ ภาษาไอร์แลนด์ (Gaeilge) เป็นภาษากอยเดลภาษาหนึ่งที่จัดอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน มีรากฐานจากประเทศไอร์แลนด์ ซึ่งในอดีตมีการพูดโดยคนเชื้อสายไอริช ผู้ปัจจุบันมักพูดภาษาอังกฤษ ภาษาไอริชมีฐานะเป็นภาษาทางการในประเทศไอร์แลนด์ กำหนดโดยรัฐธรรมนูญของไอร์แลนด์ นอกจากนี้ยังเป็นภาษาที่ใช้อย่างเป็นทางการของสหภาพยุโรป และ ในไอร์แลนด์เหนือของสหราชอาณาจักรอีกด้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาไอริช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไอซ์แลนด์

ษาไอซ์แลนด์ (íslenska อีสฺแลนฺสฺกา) เป็นภาษาเจอร์แมนิกเหนือ ภาษาราชการของประเทศไอซ์แลนด์ มีผู้พูดประมาณ 300 000 คน ภาษาไอซ์แลนด์เป็นภาษาเจอร์แมนิกเหนือที่ใกล้เคียงกับภาษานอร์สโบราณมากที่สุด ภาษาไอซ์แลนด์ยังคงรูปแบบทางไวยากรณ์หลายอย่างของภาษาเจอร์แมนิกแบบโบราณ โดยยังคงการผันคำที่ซับซ้อน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไอนุ

ษาไอนุ หรือ ไอนู (ไอนุ: アイヌ イタク ไอนู อีตัก; アイヌ語 ไอนุโงะ) เป็นภาษาของชาวไอนุ ชนกลุ่มน้อยในเกาะฮกไกโด ครั้งหนึ่งเคยใช้พูดในหมู่เกาะคูริล ทางภาคเหนือของเกาะฮนชูและภาคใต้ของเกาะซาฮาลิน คำหลายคำของภาษาไอนุก็ได้กลายเป็นคำในภาษาญี่ปุ่นเลยด้วย เช่นเมืองซัปโปะโระบนเกาะฮกไกโด และคำว่ารักโกะ ที่แปลว่าแมวน้ำ.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาไอนุ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไตโด

ษาไตโด (Tai Do) หรือภาษาไตโย เป็นภาษาที่มีผู้พูดทางภาคเหนือของเวียดนามราว 300 คน เมื่อ..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาไตโด · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไซเฟ

ษาไซเฟ (Zyphe language) หรือภาษาโซเฟย ภาษาโซบเตย มีผู้พูดทั้งหมด 20,000 คน พบในพม่า 17,000 คน (พ.ศ. 2537) ในรัฐฉิ่น พบในอินเดีย 3,000 คน (พ.ศ. 2543) ในตำบลลาเคอ รัฐไมโซรัม จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น ใกล้เคียงกับภาษาฉิ่นสำเนียงมารา เขียนด้วยอักษรละติน ผู้พูดภาษานี้จะพูดภาษาฉิ่นสำเนียงฮากา ภาษาไมโซ หรือภาษาฉิ่นสำเนียงมาราได้ ขึ้นกับบริเวณที่อยู่อาศัย มีผู้พูดภาษานี้ในพม่าบางส่วนอพยพไปทำงานในมาเลเซี.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาไซเฟ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไปเต

ษาไปเต (Paite language) มีผู้พูดทั้งหมด 91,800 คน พบในอินเดีย 78,800 คน (พ.ศ. 2548) ในรัฐอัสสัม มณีปุระ ตรีปุระ ไมโซรัม พบในพม่า 13,000 คน (พ.ศ. 2550) ในเทือกเขาฉิ่น จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขา กูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น ผู้พูดภาษานี้ในอินเดียจะพูดภาษาไมโซได้ด้วย เขียนด้วยอักษรละติน เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กร.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาไปเต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเชอโรกี

ษาเชอโรกี (ᏣᎳᎩ tsalagi) เป็นภาษาในตระกูลภาษาอิโรควอยอันเขียนด้วยอักษรเชอโรกี พูดโดยชาวเชอโรกี ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองในสหรัฐอเมริกา ภาษาเชอโรกีเป็นภาษาเดียวในสาขาใต้ของตระกูลภาษาอิโรควอยอันที่ยังมีผู้พูดอยู.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเชอโรกี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเบาม์

ษาเบาม์ (Bawm language) หรือภาษาบอง ภาษาบอม มีผู้พูดทั้งหมด 21,520 คน พบในอินเดีย 4,440 คน (พ.ศ. 2547) ในรัฐไมโซรัม ตรีปุระ อัสสัม พบในบังกลาเทศ 13,500 คน (พ.ศ. 2534) ในบริเวณเทือกเขาจิตตะกอง พบในพม่า 3,580 คน (พ.ศ. 2543) ในบริเวณเทือกเขาฉิ่นตอนใต้ จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น ผู้พูดภาษานี้ในอินเดียจะพูดภาษาไมโซได้ด้วย เขียนด้วยอักษรละติน มีการแปลไบเบิลเป็นภาษานี้ใน..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเบาม์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเชเชน

ษาเชเชน เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐเชเชน (เชชเนีย) ในรัสเซีย มีผู้พูดราว 1.2 ล้านคน คำศัพท์ส่วนมากเป็นคำยืมจากภาษารัสเซีย ภาษาตุรกี ภาษาคาลมึกซ์ ภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอลานิกหรือภาษาออสเซติกอยู่ในภาษากลุ่มคอเคซัส จัดอยู่ในภาษากลุ่มนัขร่วมกับภาษาอิงกุซและภาษาบัตส์ ทั้งหมดนี้อยู่ในภาษากลุ่มคอเคเซียนตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีเพียงภาษาอิงกุซและภาษาเชเชนที่เข้าใจกันได้.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเชเชน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเกชัว

ภาษาเกชัว (Quechua) เป็นภาษาท้องถิ่นที่ใช้ในทวีปอเมริกาใต้ ซึ่งถูกใช้อย่างแพร่หลายในแถบแอนดีสตอนกลางมาตั้งแต่ยุคก่อนอาณาจักรอินคา และกลายเป็นภาษาราชการในอาณาจักรอินคา ปัจจุบัน มีคนพูดภาษาเกชัวสำเนียงต่าง ๆ ประมาณ 10 ล้านคนในประเทศเปรู โบลิเวีย โคลอมเบีย เอกวาดอร์ อาร์เจนตินา และชิลี ภาษาเกชัวเป็นภาษาที่ถูกใช้มากที่สุดในกลุ่มอเมริกันอินเดียน กเชัว กเชัว กเชัว กเชัว กเชัว กเชัว หมวดหมู่:จักรวรรดิอินคา.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเกชัว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเมโมนี

ษาเมโมนี เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ใช้พูดโดยชาวเมโมนน พัฒนามาจากภาษาสันสกฤต ใกล้เคียงกับภาษากัจฉิและภาษาคุชราต มีผู้พูดทั้งในอินเดียและปากีสถาน ชาวเมโมน กาถิวาทีพูดภาษาที่ไม่มีระบบการเขียนซึ่งเรียกว่าภาษาเมโมนีซึ่งเป็นภาษาผสมระหว่างภาษาสินธีและภาษากัจฉิ จัดอยู่ในกลุ่มภาษาอินโด-อารยันในเขตเหนือ-ตะวันตก ภาษาสินธีและภาษากัจฉินั้นใช้พูดทั้งผู้ที่เป็นและไม่เป็นมุสลิม แต่ภาษาเมโมนีใช้พูดเฉพาะชาวเมโมน กาถิวาทีที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่ที่อพยพจากสินธ์มาสู่พื้นที่ใกล้เคียง คือที่กุตส์และกาเกียวาร์ในคุชราต เมื่อหลายร้อยปีที่ผ่านมา ภาษาที่ใช้ในปัจจุบันมีความใกล้เคียงกับภาษาสินธี แต่มีคำยืมจากภาษาคุชราต ภาษาฮินดูสตานและภาษาอังกฤษ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา ในปากีสถาน ภาษาเมโมนีมีการใช้คำและวลีจากภาษาอูรดูมาก.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเมโมนี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเรียง

ษาเรียง (Riang language) มีผู้พูดทั้งหมด 15,500 คน พบในพม่า 12,500 คน (พ.ศ. 2551) ในรัฐฉาน พบในจีน 3,000 คน (พ.ศ. 2538) ในมณฑลยูนนาน จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรเหนือ สาขาย่อยปะหล่อง ผู้พูดภาษานี้ในพม่าส่วนใหญ่พูดภาษาไทใหญ่ได้ด้วย เขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเรียง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเรเงา

ษาเรเงา (Rengao)หรือภาษาโรเงามีผู้พูดทางภาคกลาง และภาคใต้ของเวียดนาม มีผู้พูดในประเทศเวียดนาม 16,000 คน (พ.ศ. 2545)จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยบะห์นาริก โดยอยู่ในกลุ่มย่อยบะห์นาริกเหนือ เขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเรเงา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเลอเวือะ

ษาเลอเวือะ หรือ ภาษาละว้า เป็นภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร สาขาย่อยปะหล่อง-ว้า ในประเทศไทยมีผู้พูดภาษานี้ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน เคยมีผู้พูดในจังหวัดลำปาง เชียงรายและแพร่ตามรายงานของ E.W. Hutchinson เมื่อ..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเลอเวือะ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเลาโว

ษาเลาโว (Lhao Vo language) มีผู้พูดทั้งหมด 103,500 คน พบในพม่า 100,000 คน (พ.ศ. 2540) ในรัฐกะฉิ่น ตามแนวชายแดนด้านตะวันออก และภาคเหนือของพม่า พบในจีน 3,500 คน (พ.ศ. 2543)ทางตะวันตกของมณฑลยูนนาน จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยพม่า เขียนด้วยอักษรละติน มีคำยืมจากภาษาจิงผ่อและ ภาษ.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเลาโว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเลปชา

ษาเลปชา(อักษรเลปชา: ไฟล์:ᰛᰩᰵ་ᰛᰧᰶᰵ.SVG; Róng ríng)เป็นภาษาที่พูดโดยชาวเลปชา ในรัฐสิกขิม อินเดีย รวมทั้งบางส่วนของเนปาลและภูฏาน เขียนด้วยอักษรเลปชา ต้นกำเนิดของอักษรนี้ยังคลุมเครือ เริ่มแรกเขียนในแนวตั้งแบบเดียวกับอักษรจีน จัดเป็นภาษาท้องถิ่นในบริเวณที่ใช้พูด มีผู้พูดราว 50,000 คน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเลปชา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเวลส์

ษาเวลส์ (Cymraeg หรือ y Gymraeg, ออกเสียง, Welsh) เป็นสมาชิกของกลุ่มภาษาบริตตัน ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มภาษาเคลต์ เป็นภาษาที่มีการพูดในเวลส์แห่งสหราชอาณาจักร และในเมือง Y Wladfa (อาณานิคมเวลส์ในชูบุตของอาร์เจนตินา) ในอดีตมีหลายชื่อในภาษาอังกฤษ ได้แก่ "ภาษาบริเตน" ("the British tongue") "Cambrian" "Cambric" และ "Cymric".

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเวียดนาม

ษาเวียดนาม (tiếng Việt เตี๊ยงเหฺวียด, tiếng Việt Nam, Việt ngữ) เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์และเป็นภาษาทางการของประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึงร้อยละ 87 รวมถึงผู้อพยพจากเวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนาม-อเมริกันเป็นจำนวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาษาจีนและเดิมใช้อักษรจีนเขียน แต่นักภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษาเวียดนามให้เป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติกซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผู้พูดมากที่สุด (10 เท่าของภาษาที่มีจำนวนคนพูดเป็นอันดับรองลงมา คือ ภาษาเขมร) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้น แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื๋อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนาม เรียกว่า "จื๋อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรโรมันที่พัฒนาขึ้นโดยมิชชันนารีชาวฝรั่งเศส โดยเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเสาราษฏร์

ษาเสาราษฏร์ เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ใช้พูดทางใต้ของรัฐทมิฬ นาดู มีผู้พูดภาษานี้ราว 310,000 คน (2540).

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเสาราษฏร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเอสเปรันโต

ษาเอสเปรันโต (Esperanto) เป็นภาษาประดิษฐ์ในกลุ่มภาษาช่วยในการสื่อสารระดับสากลที่ใช้กันมากที่สุดในโลก คิดค้นโดย แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ (L.L. Zamenhof) จักษุแพทย์ชาวโปแลนด์ (ในช่วงที่รัสเซียปกครองโปแลนด์ โดยมีพ่อแม่เป็นชาวยิว) เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2430 โดยต้องการให้ภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาที่เรียนง่าย และเป็นภาษาที่สองสำหรับการสื่อสารระดับนานาประเทศ ชื่อ เอสเปรันโต มาจากนามปากกา ดร.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเอสเปรันโต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเดนมาร์ก

ษาเดนมาร์ก (dansk แดนฺสฺก) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ(หรือภาษาสแกนดิเนเวีย) ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก สาขาของภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ภาษาเดนมาร์กเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของเดนมาร์ก และเป็นภาษาราชการหนึ่งในสองภาษาของเกาะกรีนแลนด์และหมู่เกาะแฟโร ซึ่งมีฐานะเป็นดินแดนปกครองตนเองของเดนมาร์ก นอกจากนี้ภาษาเดนมาร์กยังพูดกันในหมู่ชนกลุ่มน้อยทางตอนเหนือของประเทศเยอรมนี ในประเทศไอซ์แลนด์ ภาษาเดนมาร์กเป็นภาษาต่างประเทศภาษาที่สอง(ต่อจากภาษาอังกฤษ)ที่มีการเรียนการสอนกันในสถาบันการศึกษาแพร่หลายที.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเครียมชาก

ษาเครียมชาก (Krymchak language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ใช้พูดในไครเมียโดยชาวเครียมชาก บางครั้งจัดเป็นสำเนียงของภาษาตาตาร์ไครเมียเรียกภาษาตาตาร์ไครเมียของชาวยิว ภาษานี้มีคำยืมจากภาษาฮีบรูมาก ก่อนยุคสหภาพโซเวียต เคยเขียนด้วยอักษรฮีบรู จนถึงยุคของสหภาพโซเวียตเมื่อราว..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเครียมชาก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเคิร์ด

ษาเคิร์ด (کوردی‎ คูร์ดี) มีผู้พูดราว 31 ล้านคน ในอิรัก (รวมทั้งในเขตปกครองตนเองของชาวเคิร์ด) อิหร่าน ตุรกี ซีเรีย เลบานอน จัดอยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือ ตระกูลอินโด-ยุโรป ภาษาที่ใกล้เคียงคือ ภาษาบาโลชิ ภาษาคิเลกิ และภาษาตาเลียส ภาษาเปอร์เซียที่อยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้จัดเป็นภาษาใกล้เคียงด้วยแต่มีความแตกต่างมากกว่า 3 ภาษาข้างต้น.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเคิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเคิร์ดตอนกลาง

ษาเคิร์ดตอนกลางหรือภาษาโซรานี (Sorani language ภาษาเคิร์ด: سۆرانی) เป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาเคิร์ดที่ใช้พูดในอิหร่านและอิรัก อยู่ในภาษากลุ่มอิหร่าน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเคิร์ดตอนกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเคิร์ดเหนือ

ษาเคิร์ดเหนือ หรือ ภาษากุรมันชี (Kurmanji, ภาษากุรมันชี: Bahdînî) เป็นสำเนียงของภาษาเคิร์ดที่มีผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกีและซีเรีย รวมทั้งประเทศในอดีตสหภาพโซเวียตและเลบานอน มีในอิรักและอิหร่านเป็นส่วนน้อ.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเคิร์ดเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเงาน์

ษาเงาน์ (Ngawn language) หรือภาษางอน มีผู้พูดในพม่า 15,000 คน (พ.ศ. 2527) ในบริเวณเทือกเขาฉิ่นและเมืองฟาลัม จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น เขียนด้วยอักษรละติน เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กร.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเงาน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเตมวน

ษาเตมวน (Temuan) หรือภาษาเบนัว คาดว่ามีผู้พูดภาษานี้ประมาณ 22,162 คน (พ.ศ. 2546) ทางตอนใต้ของประเทศมาเลเซีย ได้แก่ รัฐเซอลาโงร์ ปะหัง ยะโฮร์ เนอเกอรีเซิมบีลัน จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซีย กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย สาขามาลาโย-ซุมบาวัน สาขาย่อยมาเลย์อิก บางครั้งจัดให้เป็นสำเนียงหนึ่งของภาษามลายู.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเตมวน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเติร์กเมน

ษาเติร์กเมน (Turkmen, Туркмен, ISO 639-1: tk, ISO 639-2: tuk) คือชื่อภาษาราชการของประเทศเติร์กเมนิสถาน.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเติร์กเมน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเตดิม

ษาเตดิม (Tedim languge)มีผู้พูดทั้งหมด 344,000 คน พบในพม่า 189,000 คน (พ.ศ. 2533) ในเขตเทือกเขาฉิ่น และเขตชินดวินตอนบน พบในอินเดีย 155,000 คน (พ.ศ. 2533) ทางเหนือของรัฐไมโซรัมและทางใต้ของรัฐมณีปุระ จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขา กูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น เขียนด้วยอักษรละติน เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กร.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเตดิม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเซอร์เบีย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเซอร์เบีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเซดัง

ษาเซดัง เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยบะห์นาริก มีผู้พูดทั้งหมด 101,790 คน พบในเวียดนาม 101,000 คน (พ.ศ. 2542)ใช้พูดในภาคตะวันออกของลาว จังหวัดกอนตูม จังหวัดกว๋างนาม และจังหวัดกว๋างหงายในเวียดนามภาคกลางตอนล่าง อยู่ในภาษากลุ่มบะห์นาริกเหนือ มีเสียงสระเดี่ยว 24 เสียง มีเสียงสระประสมมากถึง 33–55 เสียง จนดูเหมือนจะเป็นภาษาที่มีเสียงสระมากสุด ใกล้เคียงกับภาษาฮเร เขียนด้วยอักษรละติน มีรายการวิทยุเป็นภาษาเซดัง.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเซดัง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเซนทัง

ษาเซนทัง (Senthang language) หรือภาษาเซมทัง มีผู้พูดในพม่าทั้งสิ้น 32,000 คน ใน..

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเซนทัง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเซไม

ษาเซไม (Semai language) หรือภาษาซาไกกลาง ภาษาเซงอย ภาษาเซนอย มีผู้พูดประมาณ 43,900 คน (พ.ศ. 2546) มี 2,000 คนพูดได้ภาษาเดียว พบทางตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐปะหังและทางใต้ของรัฐเประก์ ในรัฐเซอลาโงร์ เนอเกอรีเซิมบีลัน และบริเวณเทือกเขาตอนกลางของประเทศมาเลเซีย จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร สาขาอัสเลียน สาขาย่อยเซนอยอิก ผู้พูดภาษานี้จะพูดภาษามลายูและภาษาเตเมียนได้ด้วย เขียนด้วยอักษรละติน ผู้พูดภาษานี้ในบริเวณตะวันตกจะได้รับอิทธิพลจากชาวมลายูมากกว่าในบริเวณตะวันออก.

ใหม่!!: อักษรละตินและภาษาเซไม · ดูเพิ่มเติม »

มะซะกิ ซะโต

มะซะกิ ซะโต (ญี่ปุ่น: 佐藤優樹;อักษรโรมัน: Satō Masaki;เกิด 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2542) เป็นนักร้องหญิงชาวญี่ปุ่นสังกัดค่าย" เฮลโล! โปรเจกต์" ปัจจุบันเธอคือหนึ่งในสมาชิกรุ่นสิบแห่งกลุ่มนักร้องหญิงเจ-ป็อป "มอร์นิง มุซุเมะ"และเป็นหนึ่งในศิลปินคู่ จูริน.

ใหม่!!: อักษรละตินและมะซะกิ ซะโต · ดูเพิ่มเติม »

มังกะยอชวา

มังกะยอชวา (พระนามภาษาพม่า: မင်းကြီးစွာ; อักษรโรมัน: Minyekyawswa, Minchit Sra; ออกเสียง: เมงเยจอสวา) หรือ มังสามเกียด (ตามที่พงศาวดารไทยและพงศาวดารมอญเรียก) เป็นพระราชโอรสในพระเจ้านันทบุเรง เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยโดยทรงนำทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาหลายครั้ง รวมถึงได้ทรงทำยุทธหัตถีกับสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ใหม่!!: อักษรละตินและมังกะยอชวา · ดูเพิ่มเติม »

มามามู

มามามู (마마무, โรมัน: MAMAMOO) เป็นกลุ่มนักร้องหญิงล้วนสัญชาติเกาหลีใต้ สังกัดเรนโบว์บริดจ์เวิลด์ มีเพลงเปิดตัวคือ "Mr.애매모호" (Mr.Ambiguous) มีสมาชิกทั้งหมด 4 คน ได้แก่ โซลาร์ มุนบยอล ฮวีอิน และ ฮวาซา และมีชื่อกลุ่มแฟนคลับอย่างเป็นทางการคือ มูมู (MOOMOO) ฉายาคือ มาม่าหมู.

ใหม่!!: อักษรละตินและมามามู · ดูเพิ่มเติม »

มิกิ โนะนะกะ

มิกิ โนะนะกะ (ญี่ปุ่น: 野中美希;อักษรโรมัน: Nonaka Miki;เกิด 7 ตุลาคม พ.ศ. 2542) เป็นนักร้องหญิงชาวญี่ปุ่นสังกัดค่าย" เฮลโล! โปรเจกต์" ปัจจุบันเธอคือหนึ่งในสมาชิกรุ่นสิบสองแห่งกลุ่มนักร้องหญิงเจ-ป็อป "มอร์นิง มุซุเมะ".

ใหม่!!: อักษรละตินและมิกิ โนะนะกะ · ดูเพิ่มเติม »

ยาคูลท์

ูลท์ ที่วางขายในประเทศไทย ยาคูลท์ (โรมัน: Yakult) เป็นเครื่องดื่มอย่างนมโปรไบโอติกส์ เกิดจากกระบวนการหมักของนมพร่องมันเนยกับน้ำตาลและแบคทีเรียแลคโตบาซิลลัส (Lactobacillus casei Shirota) ซึ่งเป็นแบคทีเรียที่พบในระบบดูดซึมอาหารของมนุษย์ ซึ่งส่งผลช่วยให้ระบบในร่างกายของมนุษย์ทำงานได้ดีขึ้น ชื่อของยาคูลท์มาจากภาษาเอสเปรันโต คำว่า jahurto รูปเก่าของ jogurto ซึ่งหมายถึงโยเกิร์ต ยาคูลท์นั้น ศาสตราจารย์ชิโระตะ มิโนะรุ อาจารย์จากมหาวิทยาลัยเกียวโต คิดค้นขึ้นใน พ.ศ. 2473 และต่อมาใน พ.ศ. 2478 เขาได้ก่อตั้งบริษัทยาคูลท์ (Yakult Honsha Co., Ltd.) ในเมืองมินะโตะ จังหวัดโตเกียว ปัจจุบันได้มีการผลิตและจำหน่ายยาคูลท์ไปทั่วโลก ทีมเบสบอลโตเกียวยาคูลท์สวอลโลวส์ (Tokyo Yakult Swallows) ได้รับการตั้งชื่อตามบริษัทยาคูลท์ภายหลังที่บริษัทยาคูลท์ได้ซื้อทีมในปี พ.ศ. 2513 พ.ศ. 2514 ยาคูลท์ เริ่มวางจำหน่ายในประเทศไท.

ใหม่!!: อักษรละตินและยาคูลท์ · ดูเพิ่มเติม »

ยาแก้ซึมเศร้า

แผงยาโปรแซ็ก (ฟลูอ๊อกซิติน) ซึ่งเป็นยาแก้ซึมเศร้ากลุ่ม selective serotonin reuptake inhibitor (SSRI) โครงสร้างทางเคมีของ venlafaxine ซึ่งเป็นยาแก้ซึมเศร้ากลุ่ม Serotonin-norepinephrine reuptake inhibitor (SNRI) ยาแก้ซึมเศร้า (Antidepressant) เป็นยาเพื่อรักษาโรคซึมเศร้าและโรคอื่น ๆ รวมทั้ง dysthymia, โรควิตกกังวล, โรคย้ำคิดย้ำทำ, ความผิดปกติในการรับประทาน (eating disorder), ความเจ็บปวดเรื้อรัง, ความเจ็บปวดเหตุประสาท (neuropathic pain), และในบางกรณี อาการปวดระดู การกรน โรคไมเกรน โรคสมาธิสั้น การติด การติดสารเสพติด และความผิดปกติในการนอน โดยสามารถใช้เดี่ยว ๆ หรือรวมกับยาชนิดอื่น ๆ ตามที่แพทย์สั่ง กลุ่มยาแก้ซึมเศร้าที่สำคัญที่สุดรวมทั้ง selective serotonin reuptake inhibitors (SSRIs), serotonin-norepinephrine reuptake inhibitors (SNRIs), tricyclic antidepressants (TCAs), monoamine oxidase inhibitors (MAOIs), reversible monoamine oxidase A inhibitors (rMAO-A inhibitors), tetracyclic antidepressants (TeCAs), และ noradrenergic and specific serotonergic antidepressant (NaSSAs) โดยมียาสมุนไพรจากพืช Hypericum perforatum (St John's wort) ที่ใช้รักษาโรคซึมเศร้าเหมือนกัน.

ใหม่!!: อักษรละตินและยาแก้ซึมเศร้า · ดูเพิ่มเติม »

ยูริ กาการิน

นาวาอากาศเอก ยูริ อะเลคเซเยวิช กาการิน (Юрий Алексеевич Гагарин; อักษรโรมัน: Yuri Alekseyevich Gagarin) ชาวโซเวียต เป็นนักบินอวกาศคนแรกของโลกที่สามารถเดินทางกลับโลกอย่างปลอดภัย เกิดเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2476 ในเมืองกชาทสค์ และเสียชีวิตวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2511 ใกล้กรุงมอสโก กาการินเป็นบุตรช่างไม้ในนารวม (เมื่อครั้งรัสเซียเป็นประเทศคอมมิวนิสต์) ได้เรียนเป็นช่างปั้นจากโรงเรียนการค้าใกล้กรุงมอสโก ปี พ.ศ. 2494 จากนั้นศึกษาต่อในวิทยาลัยอุตสาหกรรมที่เมืองซาราตอฟ และในเวลาเดียวกันก็เข้าอบรมการบินด้วย เมื่อสำเร็จหลักสูตรก็เข้าโรงเรียนนายเรืออากาศโซเวียต ในโอเรนบูร์ก และสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2500 ภารกิจของยูริกาการินครั้งนี้ไม่ได้ประกาศเป็นการล่วงหน้า ยานวอสตอค 1 (Vostok 1) ของกาการินมีน้ำหนัก 4 ¾ ตัน ปล่อยจากฐานยิงเมื่อเวลา 9.07 น. วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2504 และโคจรรอบโลก 1 รอบ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 48 นาที ที่ระดับความสูงมากที่สุด 187 ไมล์ (301 กิโลเมตร) และลงจอดเมื่อเวลา 10.55 นาฬิกา ตามเวลาในรัสเซีย ซึ่งการบินในอวกาศครั้งนี้ทำให้กาการินมีชื่อเสียงก้องไปทั่วโลก และได้รับเครื่องประดับเกียรติยศเลนิน และได้ตำแหน่งเป็นวีรบุรุษแห่งสหภาพโซเวียต นอกจากนี้ยังมีการสร้างอนุสรณ์สถานและตั้งชื่อถนนเพื่อเป็นเกียรติแต่กาการินในสถานที่หลายแห่งทั่วประเทศ ยูริ กาการินไม่ใช่มนุษย์คนแรกที่ขึ้นไปยังอวกาศ ก่อนหน้านั้น สหภาพโซเวียตได้พยายามส่งมนุษย์ขึ้นไปหลายครั้ง คนที่ได้รับการเปิดเผยคือ วลาดีมีร์ โคมารอฟ เพื่อนของกาการิน ที่เสียชีวิตในเที่ยวบินทดสอบในโครงการโซยูส เนื่องจากร่มไม่กางระหว่างเดินทางกลับโลก ทำให้ร่างเขาแหลกด้วยแรงกระแทกพื้นโลก.

ใหม่!!: อักษรละตินและยูริ กาการิน · ดูเพิ่มเติม »

ยูนิโคด

The Unicode Standard, Version 5.0 อักขระยูนิโคดทั้งหมดเมื่อพิมพ์ลงกระดาษ (รวมทั้งสองแผ่น) ยูนิโคด (Unicode) คือมาตรฐานอุตสาหกรรมที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์แสดงผลและจัดการข้อความธรรมดาที่ใช้ในระบบการเขียนของภาษาส่วนใหญ่ในโลกได้อย่างสอดคล้องกัน ยูนิโคดประกอบด้วยรายการอักขระที่แสดงผลได้มากกว่า 100,000 ตัว พัฒนาต่อยอดมาจากมาตรฐานชุดอักขระสากล (Universal Character Set: UCS) และมีการตีพิมพ์ลงในหนังสือ The Unicode Standard เป็นแผนผังรหัสเพื่อใช้เป็นรายการอ้างอิง นอกจากนั้นยังมีการอธิบายวิธีการที่ใช้เข้ารหัสและการนำเสนอมาตรฐานของการเข้ารหัสอักขระอีกจำนวนหนึ่ง การเรียงลำดับอักษร กฎเกณฑ์ของการรวมและการแยกอักขระ รวมไปถึงลำดับการแสดงผลของอักขระสองทิศทาง (เช่นอักษรอาหรับหรืออักษรฮีบรูที่เขียนจากขวาไปซ้าย) ยูนิโคดคอนซอร์เทียม (Unicode Consortium) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร เป็นผู้รับผิดชอบในการพัฒนายูนิโคด องค์กรนี้มีจุดมุ่งหมายเกี่ยวกับการแทนที่การเข้ารหัสอักขระที่มีอยู่ด้วยยูนิโคดและมาตรฐานรูปแบบการแปลงยูนิโคด (Unicode Transformation Format: UTF) แต่ก็เป็นที่ยุ่งยากเนื่องจากแผนการที่มีอยู่ถูกจำกัดไว้ด้วยขนาดและขอบเขต ซึ่งอาจไม่รองรับกับสภาพแวดล้อมหลายภาษาในคอมพิวเตอร์ ความสำเร็จของยูนิโคดคือการรวมรหัสอักขระหลายชนิดให้เป็นหนึ่งเดียว นำไปสู่การใช้งานอย่างกว้างขวางและมีอิทธิพลต่อการแปลภาษาของซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ นั่นคือโปรแกรมจะสามารถใช้ได้หลายภาษา มาตรฐานนี้มีการนำไปใช้เป็นเทคโนโลยีหลักหลายอย่าง อาทิ เอกซ์เอ็มแอล ภาษาจาวา ดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก และระบบปฏิบัติการสมัยใหม่ ยูนิโคดสามารถนำไปใช้งานได้ด้วยชุดอักขระแบบต่าง ๆ ชุดอักขระที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ UTF-8 (ใช้ 1 ไบต์สำหรับอักขระทุกตัวในรหัสแอสกีและมีค่ารหัสเหมือนกับมาตรฐานแอสกี หรือมากกว่านั้นจนถึง 4 ไบต์สำหรับอักขระแบบอื่น) UCS-2 ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้แล้ว (ใช้ 2 ไบต์สำหรับอักขระทุกตัว แต่ไม่ครอบคลุมอักขระทั้งหมดในยูนิโคด) และ UTF-16 (เป็นส่วนขยายจาก UCS-2 โดยใช้ 4 ไบต์ สำหรับแทนรหัสอักขระที่ขาดไปของ UCS-2).

ใหม่!!: อักษรละตินและยูนิโคด · ดูเพิ่มเติม »

ย้อด

ย้อด (Yod อาจสะกดเป็น Yud หรือ Yodh) เป็นอักษรตัวที่สิบของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู י‎, อักษรซีเรียค และอักษรอาหรับ ﻱ‎ (ยาอ์) แทนด้วยสัทอักษร อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก (Ι), อักษรละติน I, อักษรซีริลลิกสำหรับภาษายูเครนและภาษาเบลารุส І, (Ⲓ) และอักษรกอทิก eis (̹) เชื่อว่ามาจากอักษรภาพรูปมือ (จากภาษาอาหรับและภาษาฮีบรูสมัยใหม่, yad) หรืออาจจะมาจากอักษรไฮโรกลิฟรูปแขน หมวดหมู่:อักษรอาหรับ fa:ی ja:ي.

ใหม่!!: อักษรละตินและย้อด · ดูเพิ่มเติม »

รหัสท่าอากาศยาน IATA

รหัสท่าอากาศยาน IATA (IATA airport code) เป็นรหัสของสนามบินทั่วโลก เขียนแทนด้วยตัวอักษรละติน 3 ตัวอักษร โดยกำหนดโดย International Air Transport Association (IATA) โดยรหัสสนามบินนี้จะถูกใช้งานโดยทั่วไป รวมถึงปรากฏในตั๋วเครื่องบิน ป้ายติดประเป๋าเดินทาง นอกจากรหัสของ IATA แล้วในปัจจุบัน รหัสสนามบิน ICAO ได้เริ่มมีการนิยมใช้มากขึ้น โดยมีลักษณะเป็นรหัส 4 ตัวอักษร กำหนดโดย International Civil Aviation Organization (ICAO) ซึ่งมีการใช้ในฐานข้อมูลจีพีเอส และการติดตามข้อมูลต่างๆ ในสนามบิน สาเหตุที่ใช้รหัส 4 หลัก แทนแบบเดิมที่ใช้ 3 หลัก เพื่อหลีกเลี่ยงรหัสสามหลักที่ใช้ในระบบอื่น ในปัจจุบันเอกสารทางการบินในประเทศแคนาดา ได้ยกเลิกการใช้ รหัสของ IATA แล้ว หมวดหมู่:มาตรฐาน หมวดหมู่:ท่าอากาศยาน he:יאט"א#קוד יאט"א.

ใหม่!!: อักษรละตินและรหัสท่าอากาศยาน IATA · ดูเพิ่มเติม »

ระบบกระทรวงวัฒนธรรมเกาหลี 2000

ระบบกระทรวงวัฒนธรรมเกาหลี 2000 (Ministry of Culture 2000, MC 2000) หรือ การถอดภาษาเกาหลีด้วยอักษรโรมันฉบับปรับปรุง (Revised Romanization of Korean, RR) เป็น 1 ใน 2 ระบบการทับศัพท์ภาษาเกาหลีด้วยอักษรโรมัน ที่นิยมใช้ในภาษาเกาหลี และใช้อย่างเป็นทางการในประเทศเกาหลีใต้ ในปัจจุบัน โดยเริ่มใช้เมื่อ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ประกาศใช้แทนที่ระบบเก่า ระบบแมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์ ที่ใช้อย่างเป็นทางการในช่วง 2527-2543 โดยระบบกระทรวงวัฒนธรรมเกาหลี 2000 มีลักษณะคล้ายคลึงกับระบบก่อนหน้าที่ใช้ก่อนช่วง..

ใหม่!!: อักษรละตินและระบบกระทรวงวัฒนธรรมเกาหลี 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ระบบการเขียนภาษาบาลี

ระบบการเขียนภาษาบาลีมีความหลากหลายเนื่องจากภาษาบาลีเป็นภาษาที่ไม่มีระบบการเขียนเป็นของตนเอง แต่เขียนด้วยอักษรหลายชนิดตามแต่ประเทศของผู้ที่นับถือพุทธศาสนา เช่น ในศรีลังกาเขียนด้วยอักษรสิงหล ในพม่าใช้อักษรพม่า ในไทยและกัมพูชาใช้อักษรขอมหรืออักษรเขมรและเปลี่ยนมาใช้อักษรไทยในประเทศไทยเมื่อ..

ใหม่!!: อักษรละตินและระบบการเขียนภาษาบาลี · ดูเพิ่มเติม »

ระบบการเขียนในอเมริกากลาง

ระบบการเขียนในอเมริกากลาง (Mesoamerican Writing Systems)เป็นระบบการเขียนที่พบในอเมริกากลางซึ่งเป็นดินแดนตั้งแต่เขตทะเลทรายทางเหนือของเม็กซิโกไปจนถึงป่าดิบเขตร้อนทางตะวันตกเฉียงเหนือของคอสตาริกา เป็นดินแดนที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีทั้งศาสนา ศิลปะและภาษาเป็นเอกลักษณ์ร่วมกันของชนหลายกลุ่ม ได้แก่ เอซเทค มายา โอลเมค และกลุ่มเล็กๆเช่น ซาโปเทค ทีโอทิฮัวคานอส มิกซ์เทค และทาราสคัน กลุ่มวัฒนธรรมเหล่านี้มีระบบการเขียนเป็นของตนเองก่อนการเข้ามาของชาวยุโรป.

ใหม่!!: อักษรละตินและระบบการเขียนในอเมริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรหัสอัจฉริยะใน เกมจารชน คู่หูอันตราย

ในรายการเกมจารชน คู่หูอันตราย ที่ออกอากาศตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 ผู้แข่งขันที่ผ่านเข้ารอบ จะต้องไขรหัสอัจฉริยะ โดยคะแนนของผู้แข่งขันที่สะสมได้จะกลายเป็นจำนวนสิทธิ์ที่สามารถใช้ไขรหัสเปิดตู้เซฟที่ถูกล็อกด้วยรหัส 4 หลักของตัวเอง โดยจะมีคำใบ้รหัสอัจฉริยะซึ่งจะคล้ายกับ รหัสลับอัจฉริยะ ที่ถูกใช้ในรายการ อัจฉริยะข้ามคืน, อัจฉริยะยกบ้าน และ วิทยสัประยุทธ์ ผู้แข่งขันจะต้องไขรหัสให้เป็นตัวเลขออกมาภายในเวลา 3 นาที (เวลาจะหยุดชั่วคราวทุกครั้งที่ผู้เข้าแข่งขันท่านใดท่านหนึ่งพยายามไขตู้เซฟ) ซึ่งเมื่อผู้เข้าแข่งขันท่านใดลองไขรหัสออกมาแล้วยังไม่ใช่รหัสที่ถูกต้อง สิทธิ์ในการไขรหัสตู้เซฟของตัวเองจะถูกใช้ไปทีละ 1 ครั้ง แต่ถ้าผู้แข่งขันท่านใดที่สามารถไขรหัสออกมาแล้วเป็นรหัสที่ถูกต้องได้เป็นคนแรก ผู้เข้าแข่งขันท่านนั้นก็จะเป็นผู้ชนะ และได้รับตำแหน่งสุดยอดจารชนประจำสัปดาห์ทันที ส่วนผู้แข่งขันที่เหลือจะถูกลงโทษโดยการละเลงแป้งจากด้านบนและจะมีสัตว์ประหลาดที่น่ากลัวละเลงแถมมาด้วย แต่ถ้าไม่มีใครสามารถถอดรหัสอัจฉริยะได้ภายในเวลา 3 นาทีหรือภายในจำนวนสิทธิ์ที่มีอยู่ ผู้เข้าแข่งขันที่เข้ารอบทั้งหมดก็จะถูกทางรายการลงโทษและไม่มีสุดยอดจารชนในสัปดาห์นั้น.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อรหัสอัจฉริยะใน เกมจารชน คู่หูอันตราย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษร

อักษรในภาษาต่างๆ แบ่งตามชนิดอักษร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามทิศทางการเขียน

รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามทิศทางการเขียน.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามทิศทางการเขียน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศมอลตา

นื้อหาเบื้องล่างนี้แสดงภาพธงชนิดต่างๆ ไที่ใช้ในสาธารณรัฐมอลต.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อธงในประเทศมอลตา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศลัตเวีย

ื้องล่างต่อไปนี้แสดงภาพธงที่มีการใช้ใช้อยู่ในประเทศลัตเวี.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อธงในประเทศลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศออสเตรเลีย

งในหน้านี้ เป็นธงที่มีการใช้และเคยใช้ในประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อธงในประเทศออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอุซเบกิสถาน

ตารางข้างล่างนี้แสดงภาพธงต่างๆที่ใช้ในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อธงในประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศทาจิกิสถาน

ตารางข้างล่างนี้แสดงภาพธงต่างๆที่ใช้ในประเทศทาจิกิสถาน.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อธงในประเทศทาจิกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศแอฟริกาใต้

งต่าง ๆ ในหน้านี้ เป็นธงชาติ และธงอื่น ๆ ที่มีการใช้ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อธงในประเทศแอฟริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อและระยะทางของถนนในเขตกรุงเทพมหานคร เฉพาะถนนสาธารณะที่อยู่ในความดูแลของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร กรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบท รวมทั้งเส้นทางที่ตัดผ่านที่ดินของหน่วยงานราชการอื่นและเส้นทางของเอกชนที่ได้รับการกำหนดให้เป็น "ถนน" อย่างเป็นทางการจากกรุงเทพมหานครแล้ว ทั้งนี้ ไม่รวมเส้นทางที่ใช้สัญจรเฉพาะภายในพื้นที่หน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา บ้านจัดสรร และสถานที่เอกชนซึ่งมักมีการปิดกั้นหรือควบคุมทางเข้าออก.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อถนนในจังหวัดนนทบุรี

นี่คือ รายชื่อถนนในจังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อถนนในจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร ทางแยกต่างระดับ รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในจังหวัดอ่างทอง

หมวดหมู่:จราจร อ่างทอง.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในจังหวัดอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในจังหวัดนนทบุรี

รายชื่อทางแยกในจังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตบางบอน

รายชื่อทางแยกในเขตบางบอน เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตบางบอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตบางพลัด

รายชื่อทางแยกในเขตบางพลัด เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตบางพลัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตบางกอกน้อย

รายชื่อทางแยกในเขตบางกอกน้อย เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตบางกอกน้อย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตบางกอกใหญ่

รายชื่อทางแยกในเขตบางกอกใหญ่ เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตบางกอกใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตบางกะปิ

รายชื่อทางแยกในเขตบางกะปิ เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตบางกะปิ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตบางรัก

รายชื่อทางแยกในเขตบางรัก เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตบางรัก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตบางขุนเทียน

รายชื่อทางแยกในเขตบางขุนเทียน เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตบางขุนเทียน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตบางคอแหลม

รายชื่อทางแยกในเขตบางคอแหลม เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตบางคอแหลม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตบางซื่อ

รายชื่อทางแยกในเขตบางซื่อ เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตบางนา

รายชื่อทางแยกในเขตบางนา เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตบางนา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตบางแค

รายชื่อทางแยกในเขตบางแค เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตบางแค · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตบางเขน

รายชื่อทางแยกในเขตบางเขน เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตบางเขน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตบึงกุ่ม

รายชื่อทางแยกในเขตบึงกุ่ม เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตพญาไท

รายชื่อทางแยกในเขตพญาไท เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตพระนคร

รายชื่อทางแยกในเขตพระนคร เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตพระโขนง

รายชื่อทางแยกในเขตพระโขนง เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตพระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตภาษีเจริญ

รายชื่อทางแยกในเขตภาษีเจริญ เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตภาษีเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตมีนบุรี

รายชื่อทางแยกในเขตมีนบุรี เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตมีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตยานนาวา

รายชื่อทางแยกในเขตยานนาวา เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตยานนาวา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตราชเทวี

รายชื่อทางแยกในเขตราชเทวี เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตราษฎร์บูรณะ

รายชื่อทางแยกในเขตราษฎร์บูรณะ เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตราษฎร์บูรณะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตลาดพร้าว

รายชื่อทางแยกในเขตลาดพร้าว เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตลาดพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตลาดกระบัง

รายชื่อทางแยกในเขตลาดกระบัง เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตวัฒนา

รายชื่อทางแยกในเขตวัฒนา เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตวังทองหลาง

รายชื่อทางแยกในเขตวังทองหลาง เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตวังทองหลาง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตสวนหลวง

รายชื่อทางแยกในเขตสวนหลวง เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตสวนหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตสะพานสูง

รายชื่อทางแยกในเขตสะพานสูง เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตสะพานสูง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตสัมพันธวงศ์

รายชื่อทางแยกในเขตสัมพันธวงศ์ เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตสัมพันธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตสายไหม

รายชื่อทางแยกในเขตสายไหม เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตสายไหม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตสาทร

รายชื่อทางแยกในเขตสาทร เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตสาทร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตหลักสี่

รายชื่อทางแยกในเขตหลักสี่ เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตหลักสี่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตหนองจอก

รายชื่อทางแยกในเขตหนองจอก เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตหนองจอก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตหนองแขม

รายชื่อทางแยกในเขตหนองแขม เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตหนองแขม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตห้วยขวาง

รายชื่อทางแยกในเขตห้วยขวาง เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตห้วยขวาง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตจอมทอง

รายชื่อทางแยกในเขตจอมทอง เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตจอมทอง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตจตุจักร

รายชื่อทางแยกในเขตจตุจักร เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตจตุจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตธนบุรี

รายชื่อทางแยกในเขตธนบุรี เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตทวีวัฒนา

รายชื่อทางแยกในเขตทวีวัฒนา เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตทวีวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตทุ่งครุ

รายชื่อทางแยกในเขตทุ่งครุ เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตทุ่งครุ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตดอนเมือง

รายชื่อทางแยกในเขตดอนเมือง เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตดอนเมือง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตดินแดง

รายชื่อทางแยกในเขตดินแดง เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตดินแดง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตดุสิต

รายชื่อทางแยกในเขตดุสิต เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตคลองสามวา

รายชื่อทางแยกในเขตคลองสามวา เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตคลองสามวา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตคลองสาน

รายชื่อทางแยกในเขตคลองสาน เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตคลองสาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตคลองเตย

รายชื่อทางแยกในเขตคลองเตย เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตคลองเตย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตคันนายาว

รายชื่อทางแยกในเขตคันนายาว เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตคันนายาว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตตลิ่งชัน

รายชื่อทางแยกในเขตตลิ่งชัน เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตตลิ่งชัน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตประเวศ

รายชื่อทางแยกในเขตประเวศ เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตประเวศ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตปทุมวัน

รายชื่อทางแยกในเขตปทุมวัน เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:จราจร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

รายชื่อทางแยกในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อทางแยกในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อดาราบนฮอลลีวูดวอล์กออฟเฟม

รายชื่อดาราบนฮอลลีวูดวอล์กออฟเฟม เรียงตามลำดับอักษรภาษาอังกฤษ สำหรับชื่อบุคคลเรียงโดยใช้ชื่อสกุลเป็นหลัก.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อดาราบนฮอลลีวูดวอล์กออฟเฟม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักมวยสากลที่เป็นแชมป์ประเทศไทย

ตำแหน่งแชมป์มวยสากลในไทยมี 2 ตำแหน่ง คือแชมป์เวทีราชดำเนินและแชมป์สนามมวยเวทีลุมพินี แต่ที่ได้รับการยอมรับจากสถาบันมวยสากลระตับนานาชาติ ว่าเป็นแชมป์ประเทศไทยคือแชมป์เวทีราชดำเนิน.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อนักมวยสากลที่เป็นแชมป์ประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ทาจิกีสถาน

รื่องอิสริยาภรณ์ทาจิกิสถาน ได้รับการตราไว้ในกฎหมายรัฐบัญญัติ "เครื่องอิสริยาภรณ์แห่งสาธารณรัฐคีร์กีซสถาน." สืบทอดรูปแบบมาจากดวงตราเครื่องอิสริยาภรณ์สหภาพโซเวียต โดยประธานาธิบดีทาจิกีสถาน ในฐานะประธานแห่งอิสริยาภรณ์ เป็นผู้มอบให้กับผู้กระทำคุณความดีให้แก่ประเทศชาติ เนื่องในวันสำคัญของชาติ มีดังนี้.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ทาจิกีสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์คีร์กีซสถาน

รื่องอิสริยาภรณ์คีร์กีซสถาน ได้รับการตราไว้ในกฎหมายรัฐบัญญัติ "เครื่องอิสริยาภรณ์แห่งสาธารณรัฐคีร์กีซสถาน." สืบทอดรูปแบบมาจากดวงตราเครื่องอิสริยาภรณ์สหภาพโซเวียต โดยประธานาธิบดีคีร์กีซสถาน ในฐานะประธานแห่งอิสริยาภรณ์ เป็นผู้มอบให้กับผู้กระทำคุณความดีให้แก่ประเทศชาติ เนื่องในวันสำคัญของชาติ มีดังนี้.

ใหม่!!: อักษรละตินและรายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์คีร์กีซสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ราโบชายา มาร์เซลเยซา

ราโบชายา มาร์เซลเยซา (Рабочая Марсельеза, Rabochaya Marselyeza) หรือ มาร์แซแยซของกรรมกร เป็นเพลงชาติในสมัยของสาธารณรัฐรัสเซีย และใช้จนถึงสมัยของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงเป็นสหภาพโซเวียตอย่างเต็มตัว และเป็นเพลงที่ใช้ในช่วงของการปฏิวัติรัสเซีย เพลงชาตินี้เลิกใช้ไปในสมัยที่เปลี่ยนแปลงเป็นสหภาพโซเวียตอย่างเต็มตัว ในปี พ.ศ. 2461 และใช้เพลงแองเตอร์นาซิอองนาลแทน.

ใหม่!!: อักษรละตินและราโบชายา มาร์เซลเยซา · ดูเพิ่มเติม »

ละติน

ละติน หรือ ลาติน (Latin) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อักษรละตินและละติน · ดูเพิ่มเติม »

ลาเมด

ลาเมด (Lamed, Lamedh) เป็นอักษรตัวที่ 12 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ל และอักษรอาหรับ ل (ลาม لَامْ) ใช้แทนเสียง อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Λ อักษรละติน L และอักษรซีริลลิก Л เชื่อกันว่ามาจากไฮโรกลิฟรูปปฏักหรือต้นกก หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรละตินและลาเมด · ดูเพิ่มเติม »

ลูมินอล

ลูมินอล (อักษรละติน: Luminol) เป็นสารเคมีที่สามารถตรวจพบร่องรอยของเลือดได้ ซึ่งหน่วยงาน Crime Scene Investigation หรือ CSI จะใช้บ่อยเพื่อหาร่องรอยของเลือด ถึงแม้ว่าจะใช้ไม้ถูพื้นทำความสะอาดลบรอยเลือดก็ตาม แต่ถ้าไม่ใช้สารเคมีช่วย ล้างรอยเลือด รอยเลือดจะติดอยู่นานเป็นปีโดยที่คนเราไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า วิธีการคร่าวๆคือสารลูมินอลจะทำปฏิกิริยากับ ฮีโมโกลบิน ทำให้แสงเปล่งออกมา เป็นกระบวนการที่พลังงานของสารเริ่มต้นมากกว่าพลังงานของสารผลิตภัณฑ์ ทำให้โมเลกุลนำพลังงานที่เหลือออกมาในรูปแบบของโฟตอนแสง กระบวนการนี้เรียกว่า Chemiluminescence.

ใหม่!!: อักษรละตินและลูมินอล · ดูเพิ่มเติม »

วอยวอดีนา

วอยวอดีนา (สีแดง) ทางตอนเหนือของสาธารณรัฐเซอร์เบีย วอยวอดีนา หรือ จังหวัดปกครองตนเองวอยวอดีนา (Аутономна Покрајина Војводина, Autonomna Pokrajina Vojvodina, Vajdaság Autonóm Tartomány; Autonómna Pokrajina Vojvodina; Provincia Autonomă Voievodina; Autonomna Pokrajina Vojvodina; รูซิน: Автономна Покраїна Войводина; Autonomous Province of Vojvodina) เป็นหนึ่งในสองจังหวัดปกครองตนเองของสาธารณรัฐเซอร์เบีย ที่มีประชากรร้อยละ 27 ของจำนวนประชากรทั้งหมด (ค.ศ. 2002) วอยวอดีนาตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเซอร์เบียในที่ราบแพนโนเนียของยุโรปกลาง โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่นอวีซาด (Novi Sad) ที่มีประชากร 300,000 คน เมืองที่ใหญ่เป็นที่สองคือซูบอตีตซา (Subotica) วอยวอดีนามีภาษาราชการ 6 ภาษาและประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์กว่า 26 กลุ่ม กลุ่มที่มีประชากรมากที่สุดได้แก่ชาวเซิร์บและชาวฮังการี.

ใหม่!!: อักษรละตินและวอยวอดีนา · ดูเพิ่มเติม »

วาฟ

วาฟ (Waw, Vav) เป็นอักษรตัวที่ 6 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู อักษรซีเรียค ܘ และอักษรอาหรับ و (วาว) ใช้แทนเสียง หรือ อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Ϝ และ Υ อักษรอีทรัสคัน v และอักษรละติน F V, และ Y; V ต่อมาพัฒนาเป็น U และ W มาจากไฮโรกลิฟรูปห่วง และเป็นทฤษฎีของ ศรันย์ ซึ่งต้องการจะพิสูจน์ว่า เราสามารถเดินทางด้วยความเร็วแสงได้หรือไม่ หมวดหมู่:อักษรอาหรับ en:Waw (letter)#Arabic wāw.

ใหม่!!: อักษรละตินและวาฟ · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาคาซัค

วิกิพีเดียภาษาคาซัค เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาคาซัค เริ่มสร้างเมื่อมิถุนายน พ.ศ. 2545 วิกิพีเดียภาษาคาซัคมีอัตราการเติบโตที่สูงมาก คุณลักษณะเฉพาะของมันคือมันจะถูกเขียนในอักษรที่แตกต่างกันทั้งสามชนิด คือ อักษรซีริลลิก, อักษรละติน, และอักษรอาหรับ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2555 วิกิพีเดียภาษาคาซัคได้ผ่านการเกณฑ์ 200,000 บทความ.

ใหม่!!: อักษรละตินและวิกิพีเดียภาษาคาซัค · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการของมนุษย์

''Homo sapiens sapiens'' ชาวอาข่าในประเทศไทย วิวัฒนาการของมนุษย์ (Human evolution) เป็นกระบวนการวิวัฒนาการที่นำไปสู่การปรากฏขึ้นของ "มนุษย์ปัจจุบัน" (modern human มีนามตามอนุกรมวิธานว่า Homo sapiens หรือ Homo sapiens sapiens) ซึ่งแม้ว่าจริง ๆ แล้วจะเริ่มต้นตั้งแต่บรรพบุรุษแรกของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด แต่บทความนี้ครอบคลุมเพียงแค่ประวัติวิวัฒนาการของสัตว์อันดับวานร (primate) โดยเฉพาะของสกุล โฮโม (Homo) และการปรากฏขึ้นของมนุษย์สปีชีส์ Homo sapiens ที่จัดเป็นสัตว์วงศ์ลิงใหญ่เท่านั้น การศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการมนุษย์นั้นต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์หลายสาขา รวมทั้งมานุษยวิทยาเชิงกายภาพ (หรือ มานุษยวิทยาเชิงชีวภาพ), วานรวิทยา, โบราณคดี, บรรพชีวินวิทยา, พฤติกรรมวิทยา, ภาษาศาสตร์, จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary psychology), คัพภวิทยา และพันธุศาสตร์ กระบวนการวิวัฒนาการเป็นความเปลี่ยนแปลงของลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตผ่านหลายชั่วยุคชีวิต เป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดความหลายหลากกับสิ่งมีชีวิตในทุกระดับชั้น รวมทั้งระดับสปีชีส์ ระดับสิ่งมีชีวิตแต่ละชีวิต และแม้กระทั่งโครงสร้างระดับโมเลกุลเช่นดีเอ็นเอและโปรตีน สิ่งมีชีวิตทั้งหมดในโลกสืบสายมาจากบรรพบุรุษเดียวกันที่มีชีวิตประมาณ 3.8 พันล้านปีก่อน การเกิดสปีชีส์ใหม่ ๆ และการแยกสายพันธุ์ออกจากกันของสิ่งมีชีวิต สามารถอนุมานได้จากลักษณะสืบสายพันธุ์ทางสัณฐานและทางเคมีชีวภาพ หรือโดยลำดับดีเอ็นเอที่มีร่วมกัน คือ ลักษณะสืบสายพันธุ์และลำดับดีเอ็นเอที่มีกำเนิดเดียวกัน จะมีความคล้ายคลึงกันระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันเร็ว ๆ นี้มากกว่าระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันมานานแล้ว ดังนั้นความคล้ายคลึงกันและความแตกต่างกันจึงสามารถใช้สร้างแบบของต้นไม้สายพันธุ์สิ่งมีชีวิต ที่แสดงความสัมพันธ์เชิงญาติ โดยใช้สิ่งมีชีวิตที่ยังมีอยู่หรือใช้ซากดึกดำบรรพ์เป็นหลักฐานข้อมูล รูปแบบความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในโลกเปลี่ยนแปลงไปเพราะการเกิดขึ้นของสปีชีส์ใหม่ ๆ และการสูญพันธุ์ไปของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ งานวิจัยต่าง ๆ ทางพันธุศาสตร์แสดงว่า สัตว์อันดับวานรรวมทั้งมนุษย์แยกออกจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทอื่น ๆ เมื่อประมาณ โดยมีซากดึกดำบรรพ์ปรากฏเป็นครั้งแรกสุดเมื่อประมาณ ส่วนลิงวงศ์ชะนี (Hylobatidae) แยกสายพันธุ์ออกจากสายพันธุ์วงศ์ลิงใหญ่ (Hominidae) รวมทั้งมนุษย์ ซึ่งเป็นวงศ์หนึ่ง ๆ ของสัตว์อันดับวานรนั้น เมื่อ แล้วลิงวงศ์ Ponginae (ลิงอุรังอุตัง) ก็แยกออกจากสายพันธุ์เมื่อประมาณ จากนั้น การเดินด้วยสองเท้า (bipedalism) ซึ่งเป็นการปรับตัวพื้นฐานที่สุดของสัตว์เผ่า Hominini ซึ่งเป็นสายพันธุ์ของมนุษย์ที่ลิงชิมแปนซีได้แยกออกไปแล้ว ก็เริ่มปรากฏในสัตว์สองเท้าแรกสุดในสกุล Sahelanthropus หรือ Orrorin โดยมีสกุล Ardipithecus ซึ่งเป็นสัตว์สองเท้าที่มีหลักฐานชัดเจนกว่า ตามมาทีหลัง ส่วนลิงกอริลลาและลิงชิมแปนซีแยกออกจากสายพันธุ์ในช่วงเวลาใกล้ ๆ กัน คือลิงกอริลลาเมื่อ และลิงชิมแปนซีเมื่อ โดยอาจจะมี Sahelanthropus เป็นบรรพบุรุษสุดท้ายร่วมกันระหว่างชิมแปนซีและมนุษย์ สัตว์สองเท้ายุคเริ่มต้นเหล่านี้ในที่สุดก็วิวัฒนาการมาเป็นเผ่า hominini เผ่าย่อย Australopithecina (australopithecine ปกติรวมสกุล Australopithecus, Paranthropus, และในบางที่ Ardipithecus) ที่ และหลังจากนั้นจึงเป็นเผ่าย่อย Hominina ซึ่งรวมเอามนุษย์สกุล โฮโม เท่านั้น มนุษย์สกุลโฮโมที่มีหลักฐานยืนยันพวกแรกที่สุดเป็นสปีชีส์ Homo habilis ซึ่งเกิดขึ้นประมาณ โดยเชื่อกันว่า สืบสายพันธุ์มาจาก homonin ในสกุล Australopithecus เป็นสปีชีส์แรก ๆ ที่มีหลักฐานชัดเจนว่าใช้เครื่องมือหิน และการปรับตัวของสายพันธุ์มนุษย์อีกอย่างหนึ่งคือ การขยายขนาดของสมอง (encephalization) ก็ได้เริ่มขึ้นที่มนุษย์ยุคต้นนี้ ซึ่งมีขนาดสมองที่ประมาณ 610 ซม3 คือมีขนาดใหญ่กว่าของลิงชิมแปนซีเล็กน้อย (ระหว่าง 300-500 ซม3) มีนักวิทยาศาสตร์ที่เสนอว่า นี้อยู่ในช่วงเวลาที่ยีนมนุษย์ประเภท SRGAP2 มีจำนวนเป็นสองเท่าเทียบกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ซึ่งทำให้เกิดการพัฒนาของสมองกลีบหน้าได้รวดเร็วกว่าในสัตว์อื่น ๆ ต่อมา มนุษย์สปีชีส์ Homo erectus/ergaster ก็เกิดขึ้นในช่วงประมาณ ที่มีปริมาตรกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าของลิงชิมแปนซีคือ 850 ซม3 การขยายขนาดของสมองเช่นนี้เทียบเท่ากับมีเซลล์ประสาทเพิ่มขึ้น 125,000 เซลล์ทุกชั่วยุคคน สปีชีส์นี้เชื่อว่าเป็นพวกแรก ๆ ที่สามารถควบคุมไฟ และใช้เครื่องมือหินที่มีเทคโนโลยีที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น เป็นมนุษย์สกุล Homo พวกแรกที่อพยพออกไปตั้งถิ่นฐานทั่วทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย และทวีปยุโรป อาจเริ่มตั้งแต่ ดังนั้น การวิวัฒนาการของสายพันธุ์มนุษย์ก่อนหน้านี้ล้วนเป็นไปในแอฟริกาเท่านั้น ส่วนกลุ่มมนุษย์โบราณที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า Archaic humans ก็เกิดวิวัฒนาการขึ้นต่อมาประมาณ 600,000 ปีก่อน สืบสายพันธุ์มาจาก H. erectus/ergaster เป็นกลุ่มมนุษย์ที่อาจเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ปัจจุบัน โดยเฉพาะคือมนุษย์โบราณ H. heidelbergensis/rhodesiensis หลังจากนั้น มนุษย์สปีชีส์ ''Homo sapiens'' ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน (anatomically modern human) ก็เกิดขึ้นโดยมีวิวัฒนาการมาจากมนุษย์โบราณในยุคหินกลาง (แอฟริกา) คือประมาณ 300,000 ปีก่อน ตามทฤษฎี "กำเนิดมนุษย์ปัจจุบันเร็ว ๆ นี้จากแอฟริกา" มนุษย์ปัจจุบันได้วิวัฒนาการในทวีปแอฟริกาแล้วจึงอพยพออกจากทวีปประมาณ 50,000-100,000 ปีก่อน (ต่างหากจากมนุษย์ในยุคก่อน ๆ) ไปตั้งถิ่นฐานแทนที่กลุ่มมนุษย์สปีชีส์ H. erectus, H. denisova, H. floresiensis และ H. neanderthalensis ในที่ต่าง ๆ ที่เป็นเชื้อสายของมนุษย์ที่อพยพออกมาจากทวีปแอฟริกาในยุคก่อน ๆ โดยอาจได้ผสมพันธุ์กับมนุษย์โบราณก่อน ๆ เหล่านั้น หลักฐานโดยดีเอ็นเอในปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและวิวัฒนาการของมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

วีไอ

วีไอ (Vi) เป็นซอฟต์แวร์แก้ไขข้อความ พัฒนาโดยบิล จอย เมื่อ ค.ศ. 1976 เพื่อใช้ในระบบปฏิบัติการ BSD ยุคแรกๆ ชื่อ vi นำมาจากจำนวนอักษรที่สั้นที่สุดของคำสั่ง visual ที่ไม่ซ้ำกับคำสั่งอื่น ของโปรแกรม ex ซึ่งใช้ในการเปลี่ยนโหมดของ ex จาก line editor เป็น visual อ่านออกเสียงว่า "วี-ไอ" ไม่ใช่ "ไว" และไม่ได้หมายถึงเลข 6 ตามอักษรโรมัน vi กลายเป็นโปรแกรมแก้ไขข้อความที่นิยมที่สุด และเป็นมาตรฐานของระบบปฏิบัติการยูนิกซ์แทบทุกตัว ปัจจุบันมีโปรแกรมเลียนแบบ vi หลายตัว ที่ได้รับความนิยมสูงสุดคือ Vim (Vi IMproved) หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์บนยูนิกซ์ หมวดหมู่:โปรแกรมแก้ไขข้อความ.

ใหม่!!: อักษรละตินและวีไอ · ดูเพิ่มเติม »

ศริพจน์ภาษาไทย์

ริพจน์ภาษาไทย์ คือ พจนานุกรมที่มุขนายกฌ็อง-หลุยส์ แว (Jean-Louis Vey) จัดพิมพ์ขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: อักษรละตินและศริพจน์ภาษาไทย์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรีลังกามาตา

ลงชาติแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา มีชื่อว่า ศรีลังกามาตา (สิงหล: ශ්‍රී ලංකා මාතා) อันมีความหมายว่า "มารดาแห่งศรีลังกา" ประพันธ์เนื้อร้องภาษาสิงหลและทำนองโดย อานันทะ สะมะระโกน (สิงหล: ආනන්ද සමරකෝන්) เมื่อ พ.ศ. 2483 และได้รับการรับรองเป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ภายหลังได้เกิดข้อขัดแย้งถึงเนื้อเพลงเดิมในท่อนแรก ซึ่งขึ้นต้นว่า "Namo namo matha, apa Sri Lanka" ต่อมาจึงมีการแก้ไขเนื้อร้องให้เป็นแบบปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2505.

ใหม่!!: อักษรละตินและศรีลังกามาตา · ดูเพิ่มเติม »

ษาล

ษาล หรือ ซาล (ﺫ‎) เป็นอักษร 1 ใน 6 ตัว ของอักษรอาหรับที่เพิ่มจากอักษร 22 ตัวของอักษรฟินิเชีย ใช้แทนเสียงก้อง เกิดจากฟัน และเป็นเสียงในลำคอ (voiced dental fricative; สัทศาสตร์สากล) เสียงนี้เป็นเสียงเดียวกับ th ในภาษาอังกฤษ แต่การถอดเป็นอักษรโรมันมักถอดเสียงนี้เป็น dh หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรละตินและษาล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายี)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม จวน ศิริสม ฉายา อุฎฺฐายี สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 16 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2508 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 7 ปี สิ้นพระชนม์จากอุบัติเหตุทางรถยนต์ เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: อักษรละตินและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายี) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

ใหม่!!: อักษรละตินและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย

มเด็จพระราชาธิบดีอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย (เซอร์เบีย-โครเอเชีย: Aleksandar I Karađorđević) (16 ธันวาคม พ.ศ. 2431 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2477) ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (ยูโกสลาเวีย) และทรงเป็นกษัตริย์พระองค์สุดท้ายของราชอาณาจักรเซิร์บ,โครแอทและสโลวีน.

ใหม่!!: อักษรละตินและสมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

สยาม

งชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459 สยาม (อักษรละติน: Siam, อักษรเทวนาครี: श्याम) เคยเป็นชื่อเรียกประเทศไทยในอดีต แต่มิใช่ชื่อที่คนไทยเรียกตนเอง ราชบัณฑิตยสถาน ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: อักษรละตินและสยาม · ดูเพิ่มเติม »

สระ (สัทศาสตร์)

ในทางสัทศาสตร์ สระ (สะ-หฺระ) หมายถึงเสียงในภาษาที่เปล่งออกมาจากช่องเสียง (vocal tract) ที่เปิดออกโดยตรงจากช่องเส้นเสียง (glottis) โดยไม่กักอากาศ ตัวอย่างเช่น "อา" หรือ "โอ" (โดยไม่กักอากาศด้วยอักษร อ) ตรงข้ามกับพยัญชนะซึ่งมีการกักอากาศอย่างน้อยหนึ่งจุดภายในช่องเสียง เสียงสระสามารถจัดได้ว่าเป็นพยางค์ ส่วนเสียงเปิดที่เทียบเท่ากันแต่ไม่สามารถเปล่งออกมาเป็นพยางค์ได้เรียกว่า กึ่งสระ (semivowel) เสียงสระเป็นแกนพยางค์ (syllable nucleus) ในทุกภาษา ซึ่งเสียงพยัญชนะจะเกิดขึ้นก่อนหรือหลังเสียงสระเสมอ อย่างไรก็ตามในบางภาษาอนุญาตให้เสียงอื่นเป็นแกนพยางค์ เช่นคำในภาษาอังกฤษ table "โต๊ะ" ใช้เสียง l เป็นแกนพยางค์ (ขีดเล็กๆ ที่อยู่ใต้ l หมายถึงสามารถออกเสียงได้เป็นพยางค์ ส่วนจุดคือตัวแบ่งพยางค์) หรือคำในภาษาเซอร์เบีย vrt "สวน" เป็นต้น แต่เสียงเหล่านี้ไม่เรียกว่าเป็นเสียงสร.

ใหม่!!: อักษรละตินและสระ (สัทศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย

หพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (Socialist Federal Republic of Yugoslavia, SFR Yugoslavia, SFRY) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมในคาบสมุทรบอลข่านและล่มสลายหลังจากสงครามยูโกสลาเวีย ในปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

สัทอักษรสากล

ตารางสัทอักษรสากลรุ่น ค.ศ. 2015 สัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet: IPA) คือสัทอักษรชุดหนึ่งที่พัฒนาโดยสมาคมสัทศาสตร์สากล โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐานสำหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา นักภาษาศาสตร์ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นำมาจากหรือดัดแปลงจากอักษรโรมัน สัญลักษณ์บางตัวนำมาจากอักษรกรีก และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย สำหรับ ตารางสัทอักษรในภาษาไทย ดูได้ที่ ภาษาไท.

ใหม่!!: อักษรละตินและสัทอักษรสากล · ดูเพิ่มเติม »

สำเพ็ง

ตลาดสำเพ็งในปัจจุบัน แผนที่ของเขตสัมพันธวงศ์ (สำเพ็งปรากฏอยู่ในชื่อ Wanit 1 Road หรือ Sampheng Road ซึ่งเริ่มมาจากย่านตลาดน้อย ในขณะที่ส่วนที่เป็นย่านการค้าที่คึกคัก จะเริ่มต้นจากบริเวณถนนราชวงศ์ไปจนสิ้นสุดที่ฝั่งถนนจักรเพชร ในเขตพระนคร) สำเพ็ง หรือ สามเพ็ง (อักษรโรมัน: Sampheng) เป็นย่านการค้าแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในแขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ อยู่ใกล้กับย่านเยาวราช, ถนนราชวงศ์ และต่อเนื่องไปถึงสะพานหัน, พาหุรัดและวังบูรพา ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร ทั้งนี้สำเพ็งในปัจจุบัน รู้จักกันดีในชื่ออย่างเป็นทางการว่า ซอยวานิช 1 และในช่วงระหว่างสะพานหันถึงถนนจักรวรรดิเรียกว่า ตรอกหัวเม็ด สำเพ็งเริ่มต้นจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช องค์ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ผู้ทรงสถาปนาสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นที่ฝั่งขวาของแม่น้ำเจ้าพระยา ให้เป็นราชธานีแห่งใหม่แทนที่กรุงธนบุรี ในปี.ศ 2325 โดยมีพระบรมมหาราชวังตั้งขึ้นในพื้นที่ ๆ แต่เดิมเป็นที่ตั้งของชุมชนชาวจีน และโปรดให้ย้ายชุมชนชาวจีนออกไปตั้งถิ่นฐานใหม่นอกประตูพระนครทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ขนานไปกับลำน้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่คลองวัดสามปลื้ม (วัดจักรวรรดิราชาวาส) ไปจนถึงคลองสามเพ็ง หรือสำเพ็ง ที่มาของชื่อ "สำเพ็ง" นั้นไม่มีใครทราบว่ามีความหมายว่ากระไร หรือมาจากคำว่าอะไร ได้มีผู้สันนิษฐานไปต่าง ๆ นานา บ้างก็ว่ามาจากคำว่า "สามแพร่ง" หรือมาคำจีนแต้จิ๋วว่า "สามเผง" (อักษรจีน: 三聘; จีนกลางออกเสียง ซั้นผิ่ง) แปลตรงตัวได้ว่า "ศานติทั้งสาม" ซึ่งก็ไม่มีใครทราบความหมายหรือคำแปลที่แท้จริง หรือบ้างก็ว่ามาจากคำว่า "สามปลื้ม" ก็มี ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว กิจการค้าของชาวจีนที่ได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในย่านสำเพ็งเติบโตขึ้นเป็นลำดับ ชาวตะวันตกที่เข้ามาติดต่อการค้ากับสยามประเทศ เรียกขานย่านสำเพ็งว่า "ตลาดจีน" หรือ "Chinese Bazaar" ในบันทึกของมิชชันนารีที่ได้เข้ามาเยี่ยมดูย่านสำเพ็งในปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและสำเพ็ง · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์

ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ · ดูเพิ่มเติม »

สไมล์.ดีเค

มล.ดีเค (อักษรโรมัน: Smile.dk อ่านว่า สไมล์-ดี-เค) เป็นนักร้องคู่หญิงชาวสวีเดน ที่เป็นสมาชิกในกลุ่ม Bubblegum dance โดยมี Veronica Larsson และ Hanna Stockzell ที่ร้องเพลงให้กับเกมแดนซ์ แดนซ์ เรโวลูชันในหลายๆภาคของเกมนี้ เช่นเพลง "Butterfly", "Boys", "Mr.

ใหม่!!: อักษรละตินและสไมล์.ดีเค · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้านจะปยี

หมู่บ้านจะปยี (อักษรละติน: Kyet Pyay) เป็นหมู่บ้านแห่งหนึ่งในประเทศพม่าซึ่งเป็นที่ตั้งของกรุงเนปยีดอ หมู่บ้านจะปยีตั้งอยู่ในเมืองปยินมะนาอดีตเมืองหลวงของประเทศพม่าก่อนที่พม่าจะย้ายไปที่กรุงเนปยีดอ ซึ่งหมู่บ้านจะปยีตั้งอยูในเขตมัณฑะเลย์ หมู่บ้านจะปยีตั้งอยู่ในพิกัด 19.744833,96.120261.

ใหม่!!: อักษรละตินและหมู่บ้านจะปยี · ดูเพิ่มเติม »

อ เป็นอักษรไทย จำพวกพยัญชนะ อยู่ในลำดับ ที่ 43 ถัดจาก ฬ และก่อนถึง ฮ มักจะเรียกกันว่า อ อ่าง ในการจัดหมู่อักษร นับเป็นอักษรกลาง ในไตรยางศ์ ผันได้ครบ 5 เสียง และเติม วรรณยุกต์ได้ทั้ง 4 รูป อักษร อ เป็นพยัญชนะต้น ให้เสียง /ʔ/ แต่ไม่ใช้เป็นพยัญชนะสะกด โดยทั่วไปเรามักจัดให้ อ เป็นเสียงนำสระ รูปสระ ตัวออ (อ) ยังสามารถใช้เป็นสระ ออ เมื่ออยู่หลังพยัญชนะต้น ใช้ถัดจากสระ อื เมื่อไม่มีพยัญชนะสะกด เช่น ถือ และใช้ประสมสระ เอือะ เอือ เออะ และ เออ.

ใหม่!!: อักษรละตินและอ · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: อักษรละตินและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

ออกอแนก

ออกอแนก (ogonek) เป็นสัญลักษณ์รูปร่างคล้ายตะขอ (˛) อยู่ใต้รูปสระของอักษรละตินในหลาย ๆ ภาษา เพื่อแสดงเสียงที่แตกต่างออกไปจากรูปสระปกติ คำว่า ogonek เป็นคำในภาษาโปแลนด์ที่ใช้เรียกสัญลักษณ์ดังกล่าว แปลว่า หางเล็กๆ เนื่องจากคนทั่วไปจะรู้จักสัญลักษณ์ดังกล่าวจากภาษาโปแลนด์มากกว่าภาษาอื่น ๆ นอกจากภาษาโปแลนด์แล้ว ยังมีการใช้ออกอแนกในภาษาอื่น ๆ เช่น ภาษาลิทัวเนีย ภาษาต่าง ๆ ของอเมริกันอินเดียน เป็นต้น หมวดหมู่:อักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและออกอแนก · ดูเพิ่มเติม »

ออย์ซีเยทลามัยสกาซอรอ

ออย์ซีเยทลามัยสกาซอรอ (มอนเตเนโกร: Ој, свијетла мајска зоро, แปลว่า "โอ้ รุ่งสางอันสว่างไสวแห่งเดือนพฤษภา") เป็นชื่อเพลงชาติอย่างเป็นทางการของประเทศมอนเตเนโกร เพลงนี้เดิมเป็นเพลงพื้นเมืองที่ชาวมอนเตเนโกรนิยมขับร้องทั่วไปในลักษณะของเพลงประจำชาติ ซึ่งมีการแต่งเติมเสริมแต่งออกไปหลายรูปแบบและไม่มีใครทราบชัดเจนว่าผู้ใดเป็นผู้เริ่มแต่งเพลงนี้ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เซกูลา เดรลเยวิช (Sekula Drljević) นักการเมืองฟาสซิสต์ชาวมอนเตเนโกรได้ประกาศใช้เพลงนี้เป็นเพลงชาติของรัฐบาลฟาสซิสต์หุ่นเชิดของมอนเตรเนโกรในชื่อเพลงว่า "เยชนานาชาเซอร์นากอรอ" (แปลว่า มอนเตเนโกรจงเจริญชั่วกาลนาน) ซึ่งเพลงนี้ได้มีการวิจารณ์ด้วยว่า เนื้อร้องในบทเพลงฉบับดังกล่าวนั้นได้รับอิทธิพลมาจากเพลงเพลงหนึ่งของพรรคนาซี แต่เนื้อร้องที่ใช้ในปัจจุบันนนี้เป็นเนื้องร้องที่มีการประพันธ์ขึ้นใหม่ภายหลัง.

ใหม่!!: อักษรละตินและออย์ซีเยทลามัยสกาซอรอ · ดูเพิ่มเติม »

อะพอสทรอฟี

อะพอสทรอฟี (') (apostrophe; ἡ ἀπόστροφος, hē apóstrophos) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง มีลักษณะเป็นขีดตั้งเล็ก ๆ เขียนอยู่เหนือและถัดจากอักษร หรือปรากฏคล้ายอัญประกาศเดี่ยว (ดูภาพทางขวา) ใช้มากในภาษาที่ใช้อักษรละติน แต่ไม่มีใช้ในภาษาไทย และบางครั้งก็ใช้เป็นเครื่องหมายเสริมสัทอักษร.

ใหม่!!: อักษรละตินและอะพอสทรอฟี · ดูเพิ่มเติม »

อักษร

แผนที่โลกแบ่งตามอักษรที่ใช้ อักษร คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายสำหรับใช้แทนหน่วยเสียงในภาษาหนึ่ง ๆ โดยเรียกรวมทั้งชุดหรือทั้งระบบ โดยทั่วไป อักษรแต่ละตัว มักจะใช้แทนหน่วยเสียงหนึ่งๆ ซึ่งอาจเป็นเสียงสระ พยัญชนะ หรือหน่วยเสียงปลีกย่อยอื่นๆ เช่น อักษรโรมัน อักษรไทย อักษรมอญ โดยทั่วไปเรียกกันว่า "ตัวหนังสือ" อย่างไรก็ตาม สัญลักษณ์แทนเสียงในบางภาษาอาจใช้แทนเสียงของพยางค์หรือคำ ก็ได้ เช่น อักษรจีน หรือตัวหนังสือจีน (นักวิชาการบางสำนักไม่ถือว่าตัวหนังสือจีน เป็น "อักษร" ตามนิยามของคำว่า alphabet ในภาษาอังกฤษ แต่เรียกว่า ideogram คือสัญลักษณ์แทนคำ หรือหน่วยคำ) แบบแผนว่าด้วยตัวหนังสือนั้น ในตำราภาษาไทย เรียกว่า อักขรวิธี ซึ่งว่าด้วยการเขียน การอ่าน การประสมอักษร และการใช้อักษรอย่างถูกต้อง อักษรอาจใช้สำหรับภาษาหนึ่ง ๆ หรือใช้กับหลายภาษาก็ได้ ด้วยเหตุนี้ จึงมักจะมีความเข้าใจสับสน ระหว่าง คำว่า อักษร และภาษา อยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น อักษรโรมัน ใช้เขียนภาษาต่างๆ หลายภาษาในยุโรป โดยมีการดัดแปลงเล็กๆ น้อยๆ เพื่อให้สามารถแทนเสียงในภาษาของตนได้ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน เป็นต้น รวมทั้งภาษาในภูมิภาคอื่นๆ เช่น ภาษามลายู ภาษาจีน และภาษาเวียดนาม (ดัดแปลงตัวอักษร) เป็นต้น มีหลายประเทศใช้อักษรที่แตกต่างกันตามเวลาเช่น อักษรในสมัยโบราณ เมื่อเวลาผ่านไป ก็เปลี่ยนรูปร่างไปเป็นอักษรปัจจุบัน หรือเปลี่ยนไปใช้อักษรชนิดอื่นโดยสิ้นเชิง.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษร · ดูเพิ่มเติม »

อักษรชวา

อักษรชวา (ภาษาชวา: 110px อักซาราจาวา) หรือ ฮานาจารากา (90px) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาชวา โดยก่อนหน้าที่จะใช้อักษรชวาเขียน ราว..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรชวา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรบาหลี

อักษรบาหลี หรือ จารากัน (Carakan) พัฒนามาจากอักษรพราหมี ผ่านทางอักษรปัลลวะ หรืออักษรกวิโบราณ จารึกเก่าสุดในภาษาบาหลี มีอายุราว..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรบาตัก

อักษรบาตัก (Karo Batak syllabic alphabet) หรือ ซูรัตบาตัก พัฒนามาจากอักษรพราหมี ผ่านทางอักษรปัลลวะและอักษรกวิรุ่นเก่า เขียนจากล่างขึ้นบนในแนวตั้ง เริ่มจากซ้ายไปขวา มีที่มาจาการเขียนบนไม้ไผ่ เฉพาะนักบวชเท่านั้นที่อ่านเขียนอักษรนี้ได้ มีความแตกต่างกันเล็กน้อยสำหรับอักษรที่ใช้เขียนภาษาต่างกัน.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรบาตัก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฟินิเชีย

ัญชนะและตัวเลขของอักษรฟินิเชีย อักษรฟินิเชีย พัฒนามาจากอักษรคานาอันไนต์ยุคแรกเริ่ม ซึ่งปรากฏครั้งแรกราว 1,800-1,700 ปีก่อนคริสต์ศักราช จารึกเก่าสุดมาจากเมืองโบราณไบบลอส อายุราว 1,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีอักษร 22 ตัว ไม่มีเครื่องหมายสระ ชื่อตัวอักษรเหมือนที่ใช้เรียกอักษรฮีบรู.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรฟินิเชีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรกรีก

อักษรกรีก เป็นอักษรที่ใช้สำหรับเขียนภาษากรีก โดยมีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคคลาสสิก ประมาณ 357 ปีก่อนพุทธศักราช (ศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสต์ศักราช) และยังคงใช้สืบต่อเรื่อยมา นับเป็นอักษรที่เก่าแก่ที่สุดแบบหนึ่งที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ในสมัยกรีกโบราณนั้น อักษรกรีกยังใช้เขียนแทนจำนวนอีกด้วย ซึ่งในกรณีนี้จะเรียกว่าเลขกรีก ในทำนองเดียวกับเลขโรมัน ทุกวันนี้เราใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ เป็นชื่อดาวฤกษ์ เป็นชื่อกลุ่มภราดรและกลุ่มภคินี และใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ อีกมาก.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรกรีก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรกลุ่มเกาะแคโรไลน์

อักษรกลุ่มเกาะแคโรไลน์ ใช้ในกลุ่มเกาะแคโรไลน์ในช่วง..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรกลุ่มเกาะแคโรไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรกันนาดา

ป้ายบอกทางเขียนด้วยอักษรกันนาดา อักษรกันนาดา หรือ อักษรกานนาดา ใช้เขียนภาษากันนาดาและภาษาอื่นๆเช่น ภาษาตูลู ในรัฐทางใต้ของอินเดีย ใกล้เคียงกับอักษรเตลุกุมาก พัฒนามาจากอักษรกทัมพะและอักษรจลุกยะที่พัฒนามาจากอักษรพราหมีของอินเดียโบราณในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 -7 อีกต่อหนึ่ง อักษรกาทัมพาและอักษรจาลุกยา พัฒนามาเป็นอักษรกันนาดาโบราณ และเป็นอักษรกันนาดากับอักษรเตลุกุในที่สุด อิทธิพลจากมิชชันนารีชาวตะวันตกทำให้อักษรทั้ง 2 ชนิดมีการปรับมาตรฐานใหม่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 -20 และใช้มาจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรกันนาดา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรกเปลเล

อักษรกเปลเล (Kpelle syllabar)ประดิษบ์ขึ้นราว พ.ศ. 2473 โดยกบิลิ หัวหน้าเผ่าซาโนเยียในไลบีเรีย ใช้โดยผู้พูดภาษากเปลเลในไลบีเรียและกิเนีย ในช่วง..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรกเปลเล · ดูเพิ่มเติม »

อักษรญี่ปุ่น

ก่อน..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

อักษรมองโกเลีย

อักษรมองโกเลีย (17px Mongγol bičig, ซีริลลิก: Монгол бичиг, Mongol bichig) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษามองโกเลีย เมื่อ..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรมายา

อักษรมายา (Mayan script) อารยธรรมมายาอยู่ในช่วง..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรมายา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรมาลายาลัม

อักษรมาลายาลัม หรือ อักษรมาลายะลัม ใช้เขียนภาษามาลายาลัม ปรากฏครั้งแรกในจารึก อายุราว พ.ศ. 1373 พัฒนามาจากอักษรวัตเตศุถุ ซึ่งมาจากอักษรพราหมีอีกต่อหนึ่ง เนื่องจากรูปแบบของอักษรมาลายาลัมไม่เหมาะกับการพิมพ์ จึงมีการปรับรูปแบบให้ง่ายเข้าในช่วง..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรมาลายาลัม · ดูเพิ่มเติม »

อักษรม้ง

อักษรม้ง หรือ ปาเฮาห์ม้ง (Pahawh Hmong) ประดิษฐ์เมื่อ พ.ศ. 2502 โดย ชอง ลือ ยัง นักวรรณคดีม้งที่อยู่ทางภาคเหนือของลาวใกล้กับเวียดนาม ชางเชื่อว่าอักษรถูกส่งผ่านมายังเขาจากพระเจ้า เขาพยายามฟื้นฟูวัฒนธรรมม้ง แต่ถูกฝ่ายรัฐบาลลอบฆ่าเพราะหวั่นเกรงอิทธิพลของเขาที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เขาออกแบบอักษรสำหรับภาษาขมุด้วยแต่สาบสูญไป อักษรนี้เขียนสระก่อนพยัญชนะแต่ออกเสียงพยัญชนะก่อน มีเสียงวรรณยุกต์ 8 เสียง ชาวม้งที่ใช้อักษรนี้มีน้อย โดยมากเป็นกลุ่มชาตินิยมเพราะอักษรนี้ประดิษฐ์โดยชาวม้งเอง อักษรอื่นที่ใช้เขียนภาษาม้งได้แก่อักษรพอลลาร์ด แม้วในจีน ในประเทศไทยใช้อักษรไทย ในช่วง..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรม้ง · ดูเพิ่มเติม »

อักษรย่อ

อักษรย่อ หรือ คำย่อ หรือ รัสพจน์ เป็นการนำอักษรบางตัวในคำหนึ่งๆ ใช้เรียกแทนคำเต็ม โดยมากจะเป็นพยัญชนะ อาจใส่จุดหรือไม่ใส่หลังอักษรนั้นๆ นิยมนำอักษรต้นพยางค์ แต่บางครั้งก็มีการใช้อักษรท้ายพยางค์ก็มี และบางครั้งอักษรย่อก็สามารถอ่านได้เป็นพยางค์ใหม่ ในภาษาไทย เมื่ออักษรย่อมีตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป จะใส่จุดที่ตัวสุดท้ายเพียงจุดเดียว (ไม่ใส่ทีละอักษร) ยกเว้นบางตัวที่เคยมีใช้กันมาก่อนจนเป็นที่ยอมรับแล้ว เช่น น..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรย่อ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรรูมี

อักษรรูมี (tulisan rumi) คืออักษรโรมันที่ใช้เขียนภาษามลายู ในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน และสิงคโปร์ คำว่า "รูมี" นั้นแผลงมาจากคำว่า "โรมัน" (Roman) หมายถึงอักษรโรมัน คำว่า "อักษรรูมี" ในภาษามลายูจะหมายรวมถึงอักษรโรมันที่ใช้เขียนภาษาอื่น ๆ เช่นภาษาตากาล็อกด้วย ส่วนในภาษาไทย "อักษรรูมี" หมายถึงอักษรโรมันที่ใช้เขียนภาษามลายูเท่านั้น การกำหนดใช้อักษรโรมันเพื่อถ่ายเสียงภาษามลายูนั้น มีระบบและกฎเกณฑ์ที่แน่นอน เข้าใจง่าย และเขียนได้สะดวก โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่ไม่ใช่เจ้าของภาษา สำหรับผู้ที่ใช้ภาษามลายูเป็นภาษาแม่ อาจคุ้นเคยกับการเขียนอักษรยาวี ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรอาหรับ แต่ทั้งอักษรยาวีและอักษรรูมี ก็สามารถถ่ายทอดเสียงภาษามลายูได้เช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรรูมี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรรูน

รึกอักษรฟูทาร์กใหม่บน Vaksala Runestone อักษรรูน หรือ อักษรรูนิก ในภาษาพื้นเมืองเรียกฟูทาร์ก ซึ่งหมายถึงตัวอักษร ข้อความ หรือจารึก ในภาษาเยอรมันเก่าหมายถึง ประหลาดหรือความลับ อักษรนี้มีความเกี่ยวข้องกับเวทมนตร์ ทฤษฎีเกี่ยวกับจุดกำเนิดของอักษรรูน ได้แก่ อักษรนี้ถูกออกแบบโดยอิสระ ไม่ขึ้นกับอักษรอื่น การเขียนเริ่มขึ้นในยุโรปใต้และถูกนำไปทางเหนือโดยเผ่าเยอรมัน เป็นแบบให้อักษรละตินและอักษรอีทรัสคัน จารึกอักษรรูนที่เก่าที่สุดพบราว..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรรูน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรรูนส์ ฮังการี

อักษรรูนส์ ฮังการี พัฒนามาจากอักษรเตอร์กิกที่ใช้ในเอเชียกลาง อักษรนี้เลิกใช้เมื่อกษัตริย์อิสต์วานที่เป็นกษัตริย์ชาวคริสต์คนแรกของอิตาลีสั่งให้ทำลายงานเขียนที่ไม่เกี่ยวข้องกับศาสนาคริสต์ให้หมด แต่อักษรรูนส์นี้ยังใช้มาจนถึง..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรรูนส์ ฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรละติน/ผังยูนิโคด

ตารางต่อไปนี้เป็นอักษรละตินที่อยู่บนยูนิโคด หมวดหมู่:อักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรละติน/ผังยูนิโคด · ดูเพิ่มเติม »

อักษรลาว

อักษรลาว เป็นชื่ออักษรที่รัฐบาลลาวรับรองให้ใช้เขียนภาษาลาว ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการในปัจจุบัน มีพัฒนาการมาจากอักษรลาวเดิม (หรือในอีกชื่อหนึ่ง คือ อักษรไทน้อย) ซึ่งเริ่มพัฒนาขึ้นในสมัยราชวงศ์ล้านช้าง เมื่อราว พ.ศ. 1900 โดยได้รับอิทธิพลจากอักษรลาวโบราณสมัยรัชกาลพระเจ้าฟ้างุ้มเป็นต้นมา ซึ่งที่มาจากอักษรมอญและอักษรเขมร (อักษรขอม) อีกต่อหนึ่ง ลักษณะการใช้งานยังคงมีระบบการเขียนคล้ายอักษรไทยโบราณ ที่ไม่ใช้แล้วในอักษรไทยปัจจุบัน เช่น การใช้ไม้กงแทนเสียงสระโอะเมื่อมีตัวสะกด หรือการใช้ตัวเชิงของอักษร ย แทนสระเอียเมื่อมีตัวสะกด เป็นต้น.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรลาว · ดูเพิ่มเติม »

อักษรลนตารา

อักษรลนตารา หรือ อักษรมากาซาร์ (Lontara or Makasar alphabet) พัฒนามาจากอักษรพราหมี คำว่าลนตาราเป็นภาษามลายูหมายถึงชื่อของใบปาล์มลนตราที่ใช้เขียนหนังสือในอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงอินโดนีเซีย ตรงกับใบลานในภาษาไทยใช้เขียน ภาษาบูกิส ภาษามากาซาร์ และภาษามันดาร์ ภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน มีผู้พูดในเกาะซูลาเวซี ปัจจุบันใช้เขียนเฉพาะภาษามากาซาร.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรลนตารา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรสันถาลี

อักษรสันถาลี (Santali) หรือ โอล สีเมต โอล สิกิ ประดิษฐ์เมื่อ พ.ศ. 2463 โดย พันดิก ราคุนาท มูร์มู ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการส่งเสริมวัฒนธรรมสันถาลี เพื่อให้ภาษาสันถาลีมีอักษรเป็นของตนเองเช่นเดียวกับภาษาสำคัญอื่น ๆ ในอินเดีย ก่อนหน้านี้ภาษาสันถาลีเขียนด้วยอักษรเบงกาลี อักษรโอริยา อักษรเทวนาครี หรืออักษรละติน อักษรนี้ได้รับการออกแบบเพื่อใช้กับภาษาสันถาลีที่ใช้พูดทางภาคใต้ของรัฐโอร.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรสันถาลี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรสำหรับภาษาฟูลา

อักษรสำหรับภาษาฟูลา เดิมภาษานี้เขียนด้วยอักษรอาหรับที่เรียกอักษรอยามี ก่อนจะเปลี่ยนมาเขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรสำหรับภาษาฟูลา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอริยกะ

ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉลองพระองค์ขาวเพื่อถือศีลแสดงธรรม สระและพยัญชนะของอักษรอริยกะ อักษรอริยกะ เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาบาลีในประเทศไทย ประดิษฐ์ขึ้นราวปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรอริยกะ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมัน

ปฏิทินปี 1896 ในเทสซาโลนีกี ในสามบรรทัดแรกเป็นภาษาตุรกีออตโตมัน เขียนด้วยอักษรอาหรับ อักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมัน (ภาษาตุรกีออตโตมัน: الفبا elifbâ) เป็นรูปแบบของ อักษรอาหรับ ที่เพิ่มอักษรบางตัวจาก อักษรเปอร์เซีย ใช้เขียนภาษาตุรกีออตโตมัน ในสมัยจักรวรรดิออตโตมัน และในช่วงแรกๆของสาธารณรัฐตุรกี จนถึง..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอิตาลีโบราณ

อักษรอิตาลีโบราณ (Old Italic alphabets)พัฒนามาจากอักษรกรีกตะวันตกซึ่งเข้าสู่อิตาลีผ่านทางอาณานิคมของกรีซที่เกาะซิซิลี และตามชายฝั่งตะวันออกของอิตาลี ชาวอีทรัสคันปรับปรุงอักษรกรีกมาใช้เขียนภาษาอีทรัสคันเมื่อ ราว 57 ปีก่อนพุทธศักราช หรือก่อนหน้านั้น อักษรที่ใช้ในอิตาลีส่วนใหญ่มาจากอักษรอีทรัสคัน อักษรในกลุ่มนี้ได้แก.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรอิตาลีโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอินุกติตุต

อักษรอินุกติตุต พัฒนามาจากอักษรครี ซึ่งมาจากอักษรโอจิบเวอีกต่อหนึ่ง อักษรทั้ง 2 ชนิดประดิษฐ์โดย เจมส์ อีวาน มิชชันนารีชาวตะวันตก เมื่อราว..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรอินุกติตุต · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอุยกูร์

อักษรอุยกูร์ (Uyghur /Уйғур /ئۇيغۇر) เริ่มแรกภาษาอุยกูร์เขียนด้วยอักษรออร์กอนซึ่งเป็นอักษรรูนส์อักษรอุยกูร์นี้พัฒนามาจากอักษรซอกเดีย ที่มาจากอักษรอราเมอิกอีกต่อหนึ่ง ใช้ในระหว่าง..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรอุยกูร์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอี๋

อักษรอี๋ (Yi Syllabary) ต้นกำเนิดของอักษรอี๋ไม่แน่นอน แต่อาจเป็นไปได้ว่าได้รับอิทธิพลจากอักษรจีน อักษรอี๋ที่เก่าที่สุดมีอายุราว..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรอี๋ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฮีบรู

อรมันในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เขียนโดย Elijah Levita อักษรฮีบรูเป็นอักษรตระกูลเซมิติกไร้สระชนิดหนึ่ง ใช้ในการเขียนงานในภาษาฮีบรู ในยุคแรกๆอักษรฮีบรูโบราณพัฒนามาจากอักษรฟินิเชีย อักษรฮีบรูรุ่นใหม่พัฒนามาจากอักษรอราเมอิกรุ่นแรกๆ จารึกภาษาฮีบรูพบครั้งแรกเมื่อ 557 ปีก่อนพุทธศักราช อักษรนี้เขียนจากขวาไปซ้ายในแนวนอน ตัวอักษรบางตัว เช่น กาฟ, เมม, นุน, ฟี และซาดดี มีรูปท้ายคำ ซึ่งจะพบในตำแหน่งสุดท้ายของคำเท่านั้น ไม่มีตัวเลข ใช้เลขอารบิกแทน สระเสียงยาวกำหนดโดยตัว อะเลฟ, วาว และโยด/ยุด ไม่แสดงสระเสียงสั้นยกเว้นในไบเบิล กวีนิพนธ์และหนังสือสำหรับเด็กและชาวต่างชาต.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจาม

อักษรจาม อักษรจาม พัฒนามาจากอักษรพราหมี จารึกอักษรจามพบครั้งแรกราว พ.ศ. 1543.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรจาม · ดูเพิ่มเติม »

อักษรทมิฬ

'''ตัวอย่างของตลกาปปิยัมเขียนด้วยอักษรทมิฬ''' อักษรทมิฬ พัฒนามาจากอักษรพราหมีของอินเดียโบราณ จารึกอักษรทมิฬเก่าสุดมีอายุราว พ.ศ. 43 วรรณคดีภาษาทมิฬ เก่าสุด คือ ตลกาปปิยัม (Tolkāppiyam) แต่งขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 343.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรทมิฬ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรทีบัน

อักษรทีบัน อักษรทีบัน (Theban alphabet)มีจุดกำเนิดไม่แน่นอน นิยมเรียกอักษรนี้ว่าอักษรรูนส์ของโฮโนเรียส ตามชื่อของโฮเรียสแห่งทีบส์ หรืออักษรแม่มด มีความสัมพันธ์กับอักษรละตินตัวต่อตัว ยกเว้น j และ u ที่อยู่ในรูปของ i และ v เป็นอักษรที่แม่มดใช้เขียนจารึกและเวทมนตร์เพื่อซ่อนความหมายของข้อความและทำให้ดูขลัง.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรทีบัน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรครี

รึกภาษาครีเขียนด้วยอักษรครีจารึกนี้ถอดเป็นอักษรโรมันได้ว่า ''Êwako oma asiniwi mênikan kiminawak ininiwak manitopa kaayacik. Êwakwanik oki kanocihtacik asiniwiatoskiininiw kakiminihcik omêniw. Akwani mitahtomitanaw askiy asay êatoskêcik ota manitopa.'' อักษรครี (Cree syllabary)ประดิษฐ์โดย เจมส์ อีวาน มิชชันนารีที่ทำงานที่ “บ้านนอร์เวย์” ในอ่าวฮัดสัน เขาประดิษฐ์อักษรสำหรับภาษาโอจิบเวขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2383 เขาพยายามใช้ระบบการออกเสียงของอักษรโรมันเป็นพื้นฐาน แต่ที่ได้ผลคืออักษรพยางค์ ที่บางส่วนอาศัยพื้นฐานจากชวเลข อักษรโอจิบเวประกอบด้วยสัญลักษณ์ 9 ตัว แต่ละตัวเขียนได้ 4 ทิศทาง เพื่อแสดงเสียงสระที่ต่างออกไป ซึ่งเพียงพอสำหรับภาษาโอจิบเว อีก 20 ปี ต่อมา อีวานส์เรียนภาษาครี และพยายามหาทางเขียนภาษานั้น เขาทดลองใช้อักษรโรมันแต่ไม่สำเร็จ จึงนำอักษรโอจิบเวมาปรับปรุง และประสบความสำเร็จอย่างมากในหมู่ชาวครี จนอีวานส์ได้รับสมญาว่า “ชายผู้ทำให้เปลือกของต้น birch ได้”.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรครี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรคาร์เรีย

ตัวอย่างอักษรคาร์เรีย อักษรคาร์เรีย (Carrier syllabary หรือ Déné Syllabics) ประดิษฐ์ขึ้นโดย เอเดรียน-กาเบรียล มอร์ส เมื่อ พ.ศ. 2428 โดยพัฒนาขึ้นจากอักษรที่ใช้เขียนภาษาอทาบัสกัน (Athabaskan) ในเขตนอร์ทเวสต์ เทอริทอร์รี ของแคนาดา ที่ประดิษฐ์โดย อีไมล์ เปติตอท อักษรนี้ใช้อย่างแพร่หลายมาหลายทศวรรษ แม้ว่าจะไม่เป็นที่เข้าใจของคนส่วนใหญ่ พ.ศ. 2503 คณะกรรมการภาษาศาสตร์คาร์เรีย ได้พัฒนาระบบการเขียนด้วยอักษรโรมัน และเป็นที่นิยมแพร่หลายมาจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรคาร์เรีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรคุชราต

อักษรคุชราต พัฒนามาจากอักษรเทวนาครี เพื่อใช้เขียนภาษาคุชราต เอกสารเก่าสุดพบเมื่อ พ.ศ. 2135 และเอกสารพิมพ์เก่าสุด พบเมื่อ พ.ศ. 2340 กระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 19 อักษรคุชราต ใช้ในการเขียนจดหมายและบันทึกเป็นส่วนใหญ่ ส่วนอักษรเทวนาครีใช้ในวรรณคดีและงานทางวิชาการ ใช้เขียนภาษาคุชราตและภาษากัจฉิ (Kachchi) ในประเทศอินเดี.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรคุชราต · ดูเพิ่มเติม »

อักษรคุรมุขี

อักษรคุรมุขี หรือ อักษรกูร์มูคี หรือ อักษรเกอร์มุกห์ เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาปัญจาบ ประดิษฐ์โดยคุรุนานักเทพ คุรุคนแรกของศาสนาซิกข์ และเผยแพร่โดยคุรุอังกัตเทพ คุรุคนที่ 2 เมื่อราว..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรคุรมุขี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรตระกูลเซมิติก

อักษรตระกูลเซมิติก เป็นกลุ่มของตัวอักษรที่พัฒนามาจากอักษรคานาอันไนต์ที่ได้แรงบันดาลใจจากอักษรไฮโรกลิฟฟิกของอียิปต์โบราณ อักษรเหล่านี้ไม่ได้มาจากสัญลักษณ์แทนพยัญชนะของชาวอียิปต์ แต่เป็นการรวมอักษรไฮโรกลิฟฟิกอื่นๆเข้ามาด้วย ทั้งหมดมี 30 ตัว กำหนดชื่อเป็นภาษาเซมิติก เช่น ไฮโรกลิฟ per (บ้าน ในภาษาอียิปต์) กลายเป็น bayt (บ้าน ในภาษาเซมิติก) เมื่อนำมาเขียนภาษาเซมิติกจะเป็นระบบพยัญชนะล้วน โดยอักษรแต่ละตัวแทนเสียงพยัญชนะตัวแรกของชื่อ เช่น รูปบ้าน beyt ใช้แทนเสียง b หรือใช้แทนทั้งเสียง b และลำดับพยัญชนะ byt ดังที่ใช้แทนเสียง p และลำดับพยัญชนะ pr ในภาษาอียิปต์ ในยุคที่ชาวคานาอันนำอักษรนี้ไปใช้ จะใช้แทนเสียง b เท่านั้น ไม่มีหลักฐานว่าอักษรเซมิติกเริ่มต้นมีจำนวนเท่าใดและเรียงลำดับอย่างใด อักษรที่พัฒนาต่อมานั้น อักษรยูการิติคมี 27 ตัว และอักษรฟินิเชียมี 22 ตัว การเรียงลำดับของอักษรเหล่านี้มี 2 แบบ คือ ลำดับ ABGDE ของอักษรฟินิเชีย และลำดับ HMĦLQ ของอักษรทางใต้ อักษรยูการิติกใช้ทั้ง 2 แบบ ชื่อของอักษรมักใช้ตามอักษรฟินิเชีย ทั้งอักษรซามาริทัน อักษรอราเมอิก อักษรซีเรียค อักษรฮีบรูและอักษรกรีก แต่ต่างไปในอักษรอาหรับและอักษรละติน แต่ไม่มีการใช้ชื่ออักษรในอักษรพราหมีและอักษรรูนิก.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรตระกูลเซมิติก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรตัวใหญ่

การเก็บตัวพิมพ์แยกระหว่างตัวใหญ่กับตัวเล็ก อักษรกรีก บีตา ตัวใหญ่อยู่ทางซ้าย อักษรตัวใหญ่ (อังกฤษ: capital letter, majuscule) คือกลุ่มของอักษรประเภทหนึ่งในระบบการเขียน เช่นในอักษรละติน: A, B, C, D,...

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรตัวใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรซีริลลิก

ประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิก อักษรซีริลลิก หรือ อักษรซิริลลิก (Cyrillic script) เป็นตัวอักษรที่ใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในกลุ่มภาษาสลาวิกนอกจากนี้ยังใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในอีกหลายประเทศ แต่ไม่มีอักษรซีริลลิกทุกตัวกับภาษาใด ขึ้นอยู่กับการเขียนในภาษานั้น ในกลุ่มประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิกด้วยกันเอง จะไม่เรียก ซีริล แต่จะออกเสียงว่า คีริล แทน เช่น ในภาษารัสเซียเรียกอักษรซีริลลิกว่า Кириллица คีริลลิซ.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรซีริลลิก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรนดยุกา

อักษรนดยุกา (Ndjuká syllabary)ประดิษฐ์โดย อฟากา อตูมิสิ แห่งสุรินาเมตะวันออก ใน พ.ศ. 2453 เขากล่าวว่าเขาได้รับแรงดลใจจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในการคิดอักษรนี้ รูปร่างอักษรมีพื้นฐานมาจากอักษรและตัวเลขของอักษรอาหรับและอักษรละติน และจากสัญลักษณ์รูปภาพที่ใช้อยู่ทั่วไปในหมู่ชาวแอฟริก.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรนดยุกา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรน่าซี

อักษรน่าซีคืออักษรที่ใช้เขียนภาษาน่าซีมีสามแบบได้แก.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรน่าซี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรโรโงโรโง

อักษรโรโงโรโง อักษรโรโงโรโง (ราปานูอี: rongorongo) มีจุดกำเนิดไม่แน่นอน ประชาชนบนเกาะอีสเตอร์อาจจะประดิษฐ์อักษรนี้หลังจากเห็นการเขียนของชาวสเปนที่เข้ามาถึงเกาะนี้เมื่อ..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรโรโงโรโง · ดูเพิ่มเติม »

อักษรโลมา

อักษรโลมา ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรโลมา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรโสรัง สมเป็ง

อักษรโสรัง สมเป็ง เดิมภาษาโสราเขียนด้วยอักษรละติน อักษรเตลุกุ หรือ อักษรโอริยา ต่อมาผู้พูดภาษาโสราได้ประดิษฐ์อักษรของตนขึ้น โดยมาเลีย โกแมนโก ผู้นำชุมชนที่ไม่ใช่ชาวคริสต์ สนับสนุนให้บุตรบุญธรรมของเขาคือ มันเกย โกแมนโก คิดอักษรนี้ขึ้นมา นำออกเผยแพร่ครั้งแรก เมื่อ 18 มิถุนายน..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรโสรัง สมเป็ง · ดูเพิ่มเติม »

อักษรโอจิบเว

รึกภาษาครีเขียนด้วยอักษรครีที่พัฒนามาจากอักษรโอจิบเว อักษรโอจิบเวคืออักษรที่ใช้เขียนภาษาโอจิบเวซึ่งมีหลายระบบ มีทั้งระบบอักษรพยางค์และการเขียนด้วยอักษรโรมันระบบต่าง.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรโอจิบเว · ดูเพิ่มเติม »

อักษรโซมาลี

อักษรโซมาลี (Somali or af Soomaali) หรือออสมันยา ประดิษฐ์ขึ้นระหว่าง..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรโซมาลี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรไอริช

อักษรไอริชหรืออักษรแกลิก เริ่มพบในยุคกลางโดยพัฒนามาจากอักษรละติน แต่เดิม ภาษาไอริชเขียนด้วยอักษรโอคัม เมื่อศาสนาคริสต์เข้ามายังไอร์แลนด์จึงเปลี่ยนมาเขียนด้วยอักษรละตินแล้วจึงเกิดอักษรไอริชตามมา ปัจจุบันยังใช้สำหรับการเขียนป้ายและตกแต่งในไอร์แลนด์ ไฟล์:Uncial alphabet.png อไริช.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรไอริช · ดูเพิ่มเติม »

อักษรไทย

อักษรไทย เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาไทย และภาษากลุ่มน้อยอื่น ๆ ในประเทศไทย มีพยัญชนะ 44 รูป สระ 21 รูป วรรณยุกต์ 4 รูป และเครื่องหมายอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง พยัญชนะไทยจะเรียงตัวไปตามแนวนอน จากซ้ายไปขวา ส่วนสระจะอยู่หน้า บน ล่าง และหลังพยัญชนะประกอบคำแล้วแต่ชนิดของสระ อักษรไทยไม่มีการแยกอักษรตัวใหญ่หรืออักษรตัวเล็กอย่างอักษรโรมัน และไม่มีการเว้นวรรคระหว่างคำ เมื่อจบหนึ่งประโยคจะลงท้ายด้วยการเว้นวรรค กับมีเครื่องหมายวรรคตอนจำนวนหนึ่ง ภาษาไทยมีตัวเลขเป็นของตัวเอง แต่นิยมใช้เลขอารบิกเป็นส่วนใหญ่ในชีวิตประจำวัน.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรไทย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรไทน้อย

อักษรไทน้อย หรือประเทศลาวเรียก อักษรลาวเดิม เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาลาวในสมัยโบราณ (รวมถึงภาษาไทยถิ่นอีสานด้วย) ใช้ในการจารึกเรื่องราวต่างๆในทางโลก อาทิ บันทึกต่างๆ หนังสือราชการ ตำรายา เป็นต้น ส่วนการจดบันทึกที่เป็นทางด้านศาสนา หรือเกี่ยวข้องกับศาสนาจะนิยมบันทึกด้วยอักษรธรรมลาว หรืออักษรธรรมล้านช้าง อักษรไทน้อย เป็นอักษรที่ในสมัยโบราณใช้เขียนภาษาไทยถิ่นอีสาน ในเขต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของ ประเทศไทย มีพยัญชนะ 27 ตัว สระ 29 ตัว วรรณยุกต์ 2 ตัว (เท่าที่พบ) และเครื่องหมายอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง พยัญชนะไทน้อยจะเรียงตัวไปตามแนวนอน จากซ้ายไปขวา ส่วนสระจะอยู่หน้า บน ล่าง และหลังพยัญชนะประกอบคำแล้วแต่ชนิดของสระ อักษรไทน้อยไม่มีการแยกอักษรตัวใหญ่หรืออักษรตัวเล็กอย่างอักษรโรมัน และไม่มีการเว้นวรรคระหว่างคำ เมื่อจบหนึ่งประโยคจะลงท้ายด้วยการเว้นวรรค อักษรไทน้อยมีตัวเลขเป็นของตัวเอง ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับตัวเลขลาว.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรไทน้อย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเบยทากุกจู

อักษรเบยทา กุกจู (Beitha Kukju script) ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรเบยทากุกจู · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเชอโรกี

อักษรเชอโรกี ประดิษฐ์โดยซีโควยาแห่งเผ่าเชอโรกี เมื่อ พ.ศ. 2362 เขาอ้างว่าเขาเป็นผู้รอดชีวิตคนสุดท้ายของตระกูลและอักษรนี้ประดิษฐ์โดยคนในตระกูลมานานแล้ว พ.ศ. 2363 ชาวเชอโรกีเริ่มเรียนอักษรนี้ แล..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรเชอโรกี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเบงกาลี

อักษรเบงกาลี หรือ อักษรเบงกอล ใช้เขียนภาษาเบงกาลีและภาษาอัสสัม พัฒนามาจากอักษรพราหมีและจัดว่าใกล้เคียงกับอักษรเทวนาครี ปรากฏในคริสต์ศตวรรษที่ 11 รูปแบบที่ใช้ในการพิมพ์ เริ่มใช้ใน พ.ศ. 2321เมื่อ ชาร์ล วิลกินส์ คิดค้นระบบการพิมพ์ด้วยอักษรเบงกาลี มีการปรับปรุงเล็กน้อยใน คริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรเบงกาลี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเมนเด

อักษรเมนเด (Mende syllabary) หรือ อักษรกิกากุ (Kikakui) ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรเมนเด · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเอลบ์ซาน

อักษรเอลบ์ซาน หรือ อักษรเอลบาซาน (Elbasan script) ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อราว..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรเอลบ์ซาน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเอธิโอเปีย

อักษรเอธิโอเปีย อักษรเอธิโอเปีย หรือ อักษรกีเอส (Ge'ez) พัฒนามาจากอักษรซาบาเอียน จารึกอักษรนี้ พบครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรเอธิโอเปีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเทวนาครี

อักษรเทวนาครี (देवनागरी อ่านว่า เท-วะ-นา-คะ-รี; Devanagari) พัฒนามาจากอักษรพราหมีในราวคริสต์ศตวรรษที่ 11 ใช้เขียนภาษาฮินดี ภาษาสันสกฤต ภาษามราฐี ภาษาบาลี ภาษาสินธี ภาษาเนปาล และภาษาอื่นๆในประเทศอินเดีย อักษรเทวนาครีมีลักษณะการเขียนจากซ้ายไปขวา มีเส้นเล็กๆ อยู่เหนือตัวอักษร หากเขียนต่อกัน จะเป็นเส้นยาวคล้ายเส้นบรรทัด มีการแยกพยัญชนะ สระ และเครื่องหมายต่าง.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรเทวนาครี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเตลูกู

การแพร่กระจายของอักษรจากอินเดียรวมทั้ง'''อักษรเตลูกู''' อักษรเตลูกู ใช้เขียนภาษาเตลูกู ในรัฐทางใต้ของอินเดีย พัฒนามาจากอักษรพราหมีของอินเดียโบราณ ใกล้เคียงกับอักษรกันนาดามาก จารึกเก่าสุดพบในคริสต์ศตวรรษที่ 6 และกวีนิพนธ์ภาษาเตลูกู เริ่มปรากฏใน คริสต์ศตวรรษที่ 11 รูปแบบโบราณของอักษรเตลูกู ต่างจากที่ใช้ในทุกวันนี้และใช้มาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ก่อนจะมีการปรับปรุงใหม่และใช้มาจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรเตลูกู · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเซลติเบเรียน

อักษรเซลติเบเรียน พัฒนามาจากอักษรไอบีเรีย พบจารึกอักษรนี้มีอายุราว 57 ปีก่อนพุทธศักราช -..

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรเซลติเบเรียน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเปโกน

อักษรเปโกน (Pegon) เป็นอักษรอาหรับที่ใช้เขียนภาษาชวาและภาษาซุนดา นอกเหนือจากการเขียนด้วยอักษรชวา และใช้มาก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นอักษรโรมันในยุคอาณานิคม นิยมใช้เขียนงานทางศาสนาและกวีนิพนธ์ในพุทธศตวรรษที่ 20 คำว่าเปโกนมาจากภาษาชวา pégo หมายถึงเบี่ยงเบน เพราะเป็นการเขียนภาษาชวาด้วยอักษรอาหรับซึ่งไม่ได้เป็นอักษรพื้นเมืองของชาวชวา ความแตกต่างหลักระหว่างอักษรยาวีและอักษรเปโกนคืออักษรจะเขียนตามเสียงที่เปล่งออกมา เพราะในภาษาชวามีสระที่หลากหลายกว่าภาษามลายูทำให้จำเป็นต้องเขียนสระให้ชัดเจนเพื่อป้องกันความสับสน ถ้าอักษรเปโกนเขียนแบบไม่มีเครื่องหมายสระอย่างอักษรยาวีจะเรียก คุนดุล อักษรเปโกนมีเครื่องหมายสำหรับเสียงที่ไม่มีในภาษาอาหรับด้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและอักษรเปโกน · ดูเพิ่มเติม »

อัลลาห์ ลันจุตคัน อุเซีย สุลต่าน

อัลลาห์ ลันจุตคัน อุเซีย สุลต่าน (โรมัน Allah Lanjutkan Usia Sultanf ยาวี: نڬاراكو, แปลว่า "ขอพระผู้เป็นเจ้าทรงคุ้มครองสุลต่าน") เป็นเพลงคำนับประจำรัฐเประก์ ทำนองเดิมจากเพลงพื้นเมืองของเซเชลส์ที่ได้รับความนิยมในยุคศตวรรษที่ 19 ผู้ประพันธ์ทำนองเพลงนี้คือ ปีแยร์-ฌอง เดอ เบรังเยร.

ใหม่!!: อักษรละตินและอัลลาห์ ลันจุตคัน อุเซีย สุลต่าน · ดูเพิ่มเติม »

อัลซะลามอัลมะละกีอัลอูร์โดนี

ลงชาติจอร์แดน มีชื่อว่า "อัลซะลามอัลมะละกีอัลอูร์โดนี" (السلام الملكي الأردني, ถอดเสียงด้วยอักษรโรมัน: Al-salam Al-malaki Al-urdoni) แปลว่า เพลงสรรเสริญพระบารมีจอร์แดน นอกจากจะใช้เป็นเพลงชาติแล้ว ยังใช้เป็นเพลงเกียรติยศสำหรับพระมหากษัตริย์แห่งจอร์แดนด้วย เพลงนี้เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: อักษรละตินและอัลซะลามอัลมะละกีอัลอูร์โดนี · ดูเพิ่มเติม »

อายิน

อายิน (Ayin) เป็นอักษรตัวที่ 16 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ע‎ และอักษรอาหรับ ع (อัยน์)‎ เริ่มแรกใช้แทนเสียงก้อง เกิดจากคอหอยและเป็นเสียงเสียดแทรก มักแทนด้วยอักษรละติน ʿ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์จากอักษรกรีก spiritus asper ʽ, อายินใช้แทนเสียงที่ต่างจาก /อ/ ซึ่งแทนด้วยอะลิฟ ในภาษาโซมาเลียแสดงอัยนฺด้วยอักษร c, และนักอียิปต์วิทยานิยมแทนเสียงนี้ด้วย c อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Omicron (Ο), และอักษรละติน O, รวมทั้งในอักษรซีริลลิกด้วย อักษรเหล่านี้ใช้แสดงเสียงสระทั้งหมด อักษรนี้มาจากภาษาเซมิติกตะวันตก ʿen "ตา" (ในภาษาอาหรับสมัยใหม่แปลตรงตัวว่า "ตาในภาษาฮีบรู: ayin), และอักษรคานาอันไนต์ รูปตาที่อาจจะมาจากไฮโรกลิฟ (ỉr) หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรละตินและอายิน · ดูเพิ่มเติม »

อายูมิ อิชิดะ

อะยุมิ อิชิดะ (ญี่ปุ่น: 石田亜佑美;อักษรโรมัน: Ishida Ayumi; เกิด 7 มกราคม พ.ศ. 2540) เป็นนักร้องหญิงชาวญี่ปุ่นสังกัดค่าย" เฮลโล! โปรเจกต์" ปัจจุบันเธอคือหนึ่งในสมาชิกรุ่นสิบแห่งกลุ่มนักร้องหญิงเจ-ป็อป "มอร์นิง มุซุเมะ, Up-Front DC Co., Ltd.

ใหม่!!: อักษรละตินและอายูมิ อิชิดะ · ดูเพิ่มเติม »

อาดุลฟุราตอยนีวาตาน

ลงชาติอิรัก ซึ่งเคยใช้ในสมัยพรรคบะอัธของประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน มีชื่อว่า "Ardulfurataini Watan" أرض الفراتين. แปลว่า ดินแดนแห่งสองสายน้ำ คำว่าสองสายน้ำนี้ หมายถึง แม่น้ำไทกริส และแม่น้ำยูเฟรติส ซึ่งเป็นแม่น้ำที่ไหลผ่านที่ราบลุ่มเมโสโปเตเมีย อันเป็นที่ตั้งของประเทศอิรักในปัจจุบัน ประพันธ์เนื้อร้องโดย ชาฟิค อัลกามาลี (Shafiq Alkamali) ทำนองโดย วาลิด จอร์จ โกลเมียห์ (Walid Georges Gholmieh) เดิมเพลงนี้ได้มีการประกาศใช้เป็นเพลงชาติเมื่อ พ.ศ. 2522 ต่อมาเมื่อประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน พ้นจากอำนาจในปี พ.ศ. 2546 แล้ว รัฐบาลอิรักชุดใหม่ก็ได้เลือกเอาเพลง เมาตินี มาใช้เป็นเพลงชาติแทน อย่างไรก็ตาม เพลงนี้ก็ยังคงใช้เป็นเพลงชาติอิรักกันอย่างกว้างขวางต่อไป แม้เพลงนี้จะไม่ได้รับการรับรองจากทางการอิรักก็ตาม.

ใหม่!!: อักษรละตินและอาดุลฟุราตอยนีวาตาน · ดูเพิ่มเติม »

อาเลฟ

อาเลฟ (Aleph) เป็นอักษรตัวแรกของอักษรฮีบรู ตรงกับอักษรอาหรับ (ا; “อลิฟ”) อักษรกรีก “อัลฟา” และอักษรละติน “A” พัฒนามาจากอักษรฟินิเชีย ʾāleph ซึ่งมาจากอักษรคานาอันไนต์ ʾalp “วัว” อักษรนี้ในภาษาอาหรับใช้แทนเสียง /ʔ/ หรือเสียงสระอา เพื่อแสดงว่าอลิฟนั้นแทนเสียงพยัญชนะหรือสระจึงเพิ่มฮัมซะฮ์ (ء) ขึ้นมา เรียกว่า ฮัมซะตุลก็อฏอิ ฮัมซะฮ์ไม่ถือว่าเป็นตัวอักษรเต็มตัวเท่ากับอักษรอื่น ๆ เพราะมักจะใช้คู่กับตัวพาคือ วาว (و), ยาอ์ที่ไม่มีจุดข้างล่าง (ی) และอลิฟ (ا) อลิฟใช้คู่กับฮัมซะฮ์เมื่อเป็นพยางค์แรกของคำและประสมสระเสียงสั้น โดยอยู่ข้างบน (أ) เมื่อเป็นเสียงสระอะหรืออุ และอยู่ข้างล่าง (إ) เมื่อเป็นเสียงสระอิ ถ้าอลิฟเป็นสระเสียงยาวจะไม่แสดงฮัมซะฮ์ ฮัมซะฮ์ชนิดที่ 2 ฮัมซะตุลวัศลิ ใช้เฉพาะกับหน่วยเสียงแรกของคำว่า ال (อัล) อันเป็นคำกำหนดชี้เฉพาะหรือคำในกรณีใกล้เคียงกัน ต่างจากฮัมซะฮ์ชนิดแรกตรงที่ว่า จะถูกยกเลิกเมื่อมีสระอยู่ข้างหน้า ฮัมซะฮ์ชนิดนี้ใช้อะลิฟเป็นตัวพาเท่านั้น ปกติจะไม่เขียนอักษรฮัมซะฮ์ แต่จะเขียนอลิฟเพียงอย่างเดียว อลิฟมัดดะ (alif madda) ใช้ในกรณีที่อะลิฟ 2 ตัวเขียนติดกัน (เสียงอา) จะเขียนอะลิฟในรูป (آ) เช่น القرآن (อัลกุรอาน) อลิฟมักศูเราะฮ์ (alif maqsūrah) รูปร่างเหมือนตัวยาอ์ที่ไม่มีจุดข้างล่าง (ی) ใช้เฉพาะตำแหน่งท้ายคำเท่านั้น ใช้แทนเสียงสระอาเช่นเดียวกับอลิฟ ในคำทับศัพท์ภาษาอาหรับจะแทนฮัมซะฮ์ด้วย อ์ เมื่อเป็นตัวสะก.

ใหม่!!: อักษรละตินและอาเลฟ · ดูเพิ่มเติม »

อิปไซลอน

อิปไซลอน (upsilon) หรือ อิปซีลอน (ύψιλον, ตัวใหญ่ Υ หรือ ϒ, ตัวเล็ก υ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 20 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 400 สำหรับอักษรรูปนี้ ϒ จะถูกใช้เมื่อต้องการแยกแยะความแตกต่างออกจากอักษรละติน Y หมวดหมู่:อักษรกรีก.

ใหม่!!: อักษรละตินและอิปไซลอน · ดูเพิ่มเติม »

อุรุมชี

left left อุรุมชี หรือ อูรูมชี หรือ อูรูมฉี (มองโกล: Өрөмч "ทุ่งหญ้าที่สวยงาม"; ئۈرۈمچى) หรือตามสำเนียงจีนกลางว่า อูหลู่มู่ฉี เป็นเมืองเอกของเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ประเทศจีน ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นศูนย์กลางเส้นทางสำคัญของทางสายไหมในยุคราชวงศ์ถัง ได้พัฒนาความเป็นศูนย์กลางทางด้านผู้นำทางวัฒนธรรมและทางการค้ายุคราชวงศ์ชิง ในคริสตศตวรรษที่ 19 ในปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและอุรุมชี · ดูเพิ่มเติม »

ฮะรุกะ คุโด

รุกะ คุโด (ญี่ปุ่น:工藤遥;อักษรโรมัน: Kudō haruka; เกิด 27 ตุลาคม พ.ศ. 2542) เป็นนักร้องหญิงชาวญี่ปุ่นสังกัดค่าย" เฮลโล! โปรเจกต์" ปัจจุบันเธอคือหนึ่งในสมาชิกรุ่นสิบแห่งกลุ่มนักร้องหญิงเจ-ป็อป "มอร์นิง มุซุเมะ, Up-Front DC Co., Ltd.

ใหม่!!: อักษรละตินและฮะรุกะ คุโด · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่องกง

องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.

ใหม่!!: อักษรละตินและฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย หรือ ปีเตอร์มหาราช (Пётр I Великий, 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2215 - 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2268) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิรัสเซียตั้งแต่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2225 จนกระทั่งสวรรคต และถือได้ว่าเป็นหนึ่งในผู้ทรงอำนาจของยุโรปในสมัยนั้น ในช่วงระยะเวลาของรัชสมัยจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 มหาราช พระองค์ได้ทรงสร้างประเทศเป็น “จักรวรรดิ” ที่เป็นที่น่าเกรงขามได้สำเร็จ การติดต่อด้านการค้าและการทูตกับต่างประเทศ การรับเอาความเจริญทางด้านการทหาร การช่างและวิทยาศาสตร์มาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาประเทศ ในสมัยต้นราชวงศ์โรมานอฟล้วนแต่เป็นการแผ้วทางไปสู่ความยิ่งใหญ่ของการเป็นมหาอํานาจของรัสเซีย เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตใน..

ใหม่!!: อักษรละตินและจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จินเหมาทาวเวอร์

นเหมาทาวเวอร์ (อักษรจีน: 金茂大厦; พินอิน: Jīn Mào Dàshà อักษรละติน: Jin Mao Tower) เป็นตึกระฟ้า ออกแบบโดยสถาปนิกอเมริกัน เอเดรียน สมิธ ใน สคิดมอร์, โอวิงส์ แอนด์ เมอร์ริลล์ ในขณะเดียวกันก็ยังมีความสูงเป็นอันดับที่ 5 ของโลกจากความสูงหลังคา และอันดับที่ 7 ของโลกเมื่อวัดรวมถึงยอดสูงสุด โดยมีความสูง 421 เมตร หรือ 1,380 ฟุต และมีทั้งหมด 88 ชั้น พื้นที่รวมกว่า 278,707 ตารางเมตร โดยใช้เป็นสำนักงานและโรงแรมเซี่ยงไฮ้แกรนด์ไฮแอท ตั้งอยู่ที่เมืองเซี่ยงไฮ้และโดนโค่นด้วยหลายตึก เช่น ตึกอินเตอแนชั่นคอมเมีรชทาวเวอร์ฮ่องกง ที่สูง529เมตร118ชั้นและเซี่ยงไฮ้เวรอไฟแนเชี่ยลเซ็นเตอร์ของเซี่ยงที่สูง539เมตร108ชั้นเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน.

ใหม่!!: อักษรละตินและจินเหมาทาวเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จื๋อโกว๊กหงือ

ื๋อโกว๊กหงือ หรือ ตัวหนังสือของภาษาประจำชาติ (chữ Quốc ngữ) ใช้ในการเขียนภาษาเวียดนามอย่างเป็นทางการ จื๋อโกว๊กหงือเป็นอักษรละตินที่เพิ่มเติมเครื่องหมายต่าง ๆ เข้ามาเพื่อให้มีอักษรเพียงพอที่จะใช้เขียนภาษา อักษรดังกล่าวได้รับการคิดค้นขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยอาแล็กซ็องดร์ เดอ รอด ซึ่งเป็นมิชชันนารีชาวฝรั่งเศสที่เข้ามาเผยแผ่ศาสนา โดยมีรากฐานมาจากระบบที่มิชชันนารีชาวโปรตุเกสคิดไว้ก่อนหน้านั้น ในระหว่างที่เวียดนามยังเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสนั้น จื๋อโกว๊กหงือได้เป็นอักษรราชการของอาณานิคม ซึ่งได้ทำให้อักษรดังกล่าวเป็นที่แพร่หลายมากขึ้นเรื่อย ๆ จื๋อโกว๊กหงือในปัจจุบันมีรูปแบบการเขียนที่อ้างอิงการออกเสียงของภาษาถิ่นเวียดนามกลาง ซึ่งสระและพยัญชนะท้ายจะคล้ายคลึงกับภาษาถิ่นเหนือ ส่วนพยัญชนะต้นจะคล้ายกับภาษาถิ่นใต้ ก่อนที่ฝรั่งเศสจะเข้ามายังเวียดนามนั้น ภาษาเวียดนามมีระบบการเขียนสองแบบ ทั้งสองแบบก็มีที่มาจากอักษรจีนเช่นเดียวกัน คือ.

ใหม่!!: อักษรละตินและจื๋อโกว๊กหงือ · ดูเพิ่มเติม »

จื๋อโนม

ื๋อโนม (chữ Nôm, 字喃/𡨸喃/𡦂喃) เป็นระบบอักษรที่ใช้เขียนภาษาเวียดนาม ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว จื๋อโนมประกอบด้วยอักษรจีน ("ฮั่นจื้อ" เรียกเป็นภาษาเวียดนามว่า "ฮ้านตึ" - Hán tự) และอักขระที่ประดิษฐ์ขึ้นตามแบบอักษรจีน ตัวอย่างที่เก่าที่สุดอยู่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 มักนิยมใช้เฉพาะในหมู่ชนชั้นสูงของเวียดนาม โดยส่วนใหญ่ใช้บันทึกวรรณคดีเวียดนาม (งานเขียนที่เป็นทางการส่วนใหญ่จะใช้ภาษาจีนแบบแผน ไม่ใช่ภาษาเวียดนาม) ปัจจุบันถือว่าถูกแทนที่โดยสมบูรณ์ด้วยจื๋อโกว๊กหงือซึ่งดัดแปลงจากอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและจื๋อโนม · ดูเพิ่มเติม »

จู้อิน

ู้อินพื้นฐาน เทียบกับพินอิน จู้อิน หรือ จู้อินฝูเฮ่า (แปลว่า เครื่องหมายกำกับเสียง) เป็นระบบสัทอักษรสำหรับการถอดเสียงในภาษาจีน โดยเฉพาะภาษาจีนกลาง เป็นระบบกึ่งพยางค์ที่มีใช้อย่างกว้างขวางในสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ประกอบด้วยอักษร 37 ตัวและวรรณยุกต์ 4 ตัว ซึ่งเพียงพอที่จะใช้ถอดเสียงที่เป็นไปได้ในภาษาจีนกลาง ถึงแม้ว่าจู้อินจะถูกจัดว่าเป็นชุดตัวอักษร (alphabet) อย่างหนึ่ง ระบบนี้ก็ไม่ได้ประกอบด้วยพยัญชนะกับสระ แต่ประกอบด้วยต้นพยางค์ (syllable onset) กับสัมผัสพยางค์ (syllable rime) ระบบนี้มีพื้นฐานจากตารางสัมผัส (rime table) ของภาษาจีน แต่ใช้เครื่องหมายเสริมสัทอักษร (diacritics) แทนเสียงวรรณยุกต์แยกออกจากเสียงสัมผัส ในฐานะชุดตัวอักษร พยัญชนะต้นพยางค์มีอักษรใช้แทน 21 ตัว ที่เหลือเป็นสระเดี่ยว สระประสม และสระที่มีพยัญชนะสะกดซึ่งใช้อักษรแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น luan จะเขียนเป็น ㄌㄨㄢ (l-u-an) ซึ่งอักษรตัวสุดท้ายใช้แทนสระที่มีพยัญชนะสะกด -an ทั้งชุด เป็นต้น (อย่างไรก็ตาม พยัญชนะสะกด -p, -t, -k ไม่มีการใช้ในภาษาจีนกลาง แต่มีในสำเนียงอื่น สามารถเขียนเป็นตัวห้อยของพยัญชนะเหล่านี้หลังเสียงสระแทน) ในภาษาพูดทุกวันนี้ จู้อินมักถูกเรียกว่า ปอพอมอฟอ (ㄅㄆㄇㄈ: bopomofo) ซึ่งเป็นอักษรชุดแรกในระบบนี้ เอกสารอย่างเป็นทางการในบางโอกาสจะเรียกว่า Mandarin Phonetic Symbols I (國語注音符號第一式) หรือย่อเป็น MPS I (注音一式) ซึ่งชื่อนี้ไม่ค่อยปรากฏการใช้ในภาษาอื่น เลขโรมันที่ปรากฏหลังชื่อมีไว้เพื่อแยกแยะออกจากระบบ MPS II ที่คิดค้นขึ้นในยุคเดียวกันแต่ไม่มีการใช้งานแล้วในปัจจุบัน.

ใหม่!!: อักษรละตินและจู้อิน · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมกาย

รรมกาย (धर्म काय ธรฺมกาย, จีน: 法身, พินอิน: fǎshēn) คือพระนามหนึ่งของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในความหมายของพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท และคือพระกายหนึ่งของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าปรากฏอยู่ในทั้งนิกายเถรวาทและมหายาน.

ใหม่!!: อักษรละตินและธรรมกาย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติบราซิล

งชาติบราซิล (Bandeira do Brasil) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีเขียว กลางธงมีรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนสีเหลือง ภายในรูปดังกล่าวมีวงกลมสีน้ำเงิน บรรจุรูปแผนที่ของกลุ่มดาวขนาดต่างๆ กลางวงกลมนั้นมีแถบสีขาวพาดผ่าน บรรจุข้อความเขียนด้วยตัวอักษรโรมันพิมพ์ใหญ่สีเขียวว่า "Ordem e Progresso" (แปลว่า "ความเป็นระเบียบและความก้าวหน้า") ธงนี้ในบางครั้ง มักมีการเรียกชื่อว่า Auriverde ซึ่งแปลว่า " (ธง) สีทองและเขียว" แบบธงชาติซึ่งเป็นต้นแบบของธงที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2442 โดยแนวคิดของการออกแบบธงชาติเป็นผลงานร่วมกันของ ไรมุนโด เทย์เซย์รา เมนเดส (Raimundo Teixeira Mendes) มิเกล เลมอส (Miguel Lemos) และมานูเอล เปอร์เรย์รา เรย์ส์ (Manuel Pereira Reis) ส่วนการออกแบบธง ดำเนินการโดย เดซิโอ วิลาเรส (Décio Vilares).

ใหม่!!: อักษรละตินและธงชาติบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติรัสเซีย

งชาติสหพันธรัฐรัสเซีย มีลักษณะเป็นธงสามสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งเป็น 3 แถบ ความกว้างเท่ากัน เรียงเป็นสีขาว-น้ำเงิน-แดง จากบนลงล่างตามลำดับ ธงนี้เริ่มใช้ครั้งแรกเป็นธงสำหรับเรือค้าขายและเรือรบ (ธงนาวี) และได้ประกาศใช้เป็นธงอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2439 มีชื่อว่า "Триколор" หรือ "Trikolor" แปลว่า ธงสามสี กล่าวกันว่า แบบของธงที่ใช้อยู่ในทุกวันนี้มีต้นแบบมาจากธงชาติเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นต้นเค้าของธงสามสีแบบต่างๆ ในโลก ธงนี้ได้ใช้เป็นธงของรัฐบาลรัสเซียเฉพาะกาล หลังการล้มล้างราชบัลลังก์พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 ในเหตุการณ์การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 (พ.ศ. 2460) จนถึงเหตุการณ์การปฏิวัติเดือนตุลาคมโดยพรรคบอลเชวิคในปีเดียวกัน ซึ่งนำไปสู่การปกครองรัสเซียโดยพรรคบอลเชวิค และการสถาปนาสหภาพโซเวียต รัฐคอมมิวนิสต์แห่งแรกของโลก ในช่วงเวลาดังกล่าวธงชาติรัสเซียแบบสามสีได้ถูกแทนที่ด้วยธงชาติแบบคอมมิวนิสต์ จนกระทั่งก่อนหน้าการล่มสลายของสหภาพโซเวียตใน ค.ศ. 1991 (พ.ศ. 2534) เพียงเล็กน้อย ธงสามสีจึงได้ถูกนำมาใช้เป็นธงชาติรัสเซียอีกครั้ง เพื่อเป็นธงชาติของสหพันธรัฐรัสเซียที่ก่อตั้งขึ้นใหม่ แบบของธงชาติรัสเซียที่ใช้อยู่ในธงวันนี้มีลักษณะแตกต่างจากธงที่เริ่มใช้ใน..

ใหม่!!: อักษรละตินและธงชาติรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

งราชการของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย มีลักษณะเป็นรูปสีเหลี่ยมผืนผ้าพื้นแดง (หมายถึงธงแดงรูปค้อนเคียวของสหภาพโซเวียต) มีแถบสีฟ้าที่ด้านติดคันธงยาวตลอดด้านกว้างของธง โดยแถบนี้กว้างหนึ่งในแปดส่วนของด้านยาวของธง.

ใหม่!!: อักษรละตินและธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย ธงผืนนี้ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2496 มีลักษณะเป็นธงพื้นสีแดง ที่มุมบนธงมีรูปค้อนเคียวกับดาวแดงขอบเหลือง มีแถบคลื่นสีน้ำเงินโดยมีแถบเล็กสีขาว-น้ำเงิน-ขาว วางซ้อน ซึ่งแถบสีที่ได้กล่าวมาแล้ว วางที่ด้านล่างสุดของธง.

ใหม่!!: อักษรละตินและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย (พ.ศ. 2496–พ.ศ. 2532). ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม, พ.ศ. 2496.

ใหม่!!: อักษรละตินและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย. ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่17 ธันวาคม, พ.ศ. 2495.

ใหม่!!: อักษรละตินและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก เป็นธงชาติของอุซเบกิสถานในสมัยที่ยังอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต ประกาศใช้อย่างเป็นทางการโดยรัฐบาลสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก (Uzbek Soviet Socialist Republic) เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2495 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีแดง กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน กลางธงมีแถบสีฟ้าขอบสีขาวพาดผ่าน ที่มุมบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวไขว้และดาวแดงห้าแฉกขอบสีทอง อันเป็นสัญลักษณ์ของขบวนการคอมมิวนิสต์สากล ความหมายของสัญลักษณ์ในธง คือ สีแดง หมายถึงการต่อสู้เพื่อการปฏิวัติของชนชั้นกรรมาชีพ สีฟ้า หมายถึงผืนฟ้าในอุซเบกโซเวียต สีขาว หมายถึงฝ้าย อันเป็นทรัพยากรหลักของประเทศ ค้อนเคียว หมายถึงการร่วมมือกันระหว่างกรรมกรกับชาวนา ดาวแดง หมายถึง ชั้นกรรมาชี.

ใหม่!!: อักษรละตินและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก มีลักษณะเป็นธงแดงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน กลางธงมีแถบใหญ่สีขาวและแถบเล็กสีเขียวพาดผ่านตามแนวนอน ที่มุมบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวไขว้และดาวแดงห้าแฉกขอบสีทอง อันเป็นสัญลักษณ์ของขบวนการคอมมิวนิสต์สากล ประกาศใช้เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2496 และได้ใช้มาจนถึงการล่มสลายของสหภาพโซเวียตใน พ.ศ. 2534 ประวัติความเป็นมาของธงชาติสาธารณรัฐโซเวียตธงนี้มีความเป็นมาที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงแบบธงมาหลายครั้ง โดยเริ่มแรกสุด สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกเริ่มคิดธงชาติแบบแรกขึ้นในปี พ.ศ. 2468 แต่ได้ประกาศใช้จริงเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2472 ลักษณะเป็นธงพื้นสีแดงมีรูปตราแผ่นดินที่มุมธงด้านคันธง 2 ปีต่อมา ใน พ.ศ. 2474 ได้มีการเปลี่ยนแปลงธงใหม่ตามรัฐธรรมนูญที่ประกาศใช้ในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ของปีนั้น โดยเปลี่ยนมาใช้รูปอักษรย่อนามประเทศเป็นอักษรลาตินสีทอง ภาษาทาจิก ที่มุมบนด้านคันธง ความว่า ÇSS Toçikiston ต่อมาในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2478 อักษรย่อนามประเทศในภาษารัสเซีย เขียนด้วยอักษรซีรีลลิก จึงถูกเพิ่มเข้ามาในธง ในบริเวณตอนล่างของอักษรย่อเดิม ความว่า Таджикская ССР (Tadzhikskaya SSR) ปี พ.ศ. 2480 มีการเพิ่มรูปค้อนเคียวไว้เหนืออักษรย่อนามประเทศ และรูปอักษรมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย โดยคำย่อตอนบนซึ่งเป็นอักษรและภาษาละติน มีใจความว่า RSS Toçikiston ส่วนตอนล่างซึ่งเป็นอักษรซีริลลิกยังคงมีลักษณะเช่นเดิม แบบธงดังกล่าวนี้ได้ใช้ต่อมาจนถึงช่วงทศวรรษที่ 1940 (พุทธทศวรรษที่ 2483) จึงได้เปลี่ยนอักษรย่อนามประเทศในธงทั้งหมดให้เป็นอักษรซีรีลลิกแบบไม่มีเชิง โดยอักษรย่อแถวบนมีข้อความภาษาทาจิก ความว่า РСС Тоҷикистон (RSS Tojikiston) ส่วนตอนล่างเป็นภาษารัสเซีย ความว่า Таджикская ССР (Tadzhikskaya SSR) แบบธงนี้ได้ใช้ต่อมาจนกระทั่งมีการเปลี่ยนธงครั้งสุดท้ายใน พ.ศ. 2496.

ใหม่!!: อักษรละตินและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช ที่ตั้งของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล - ฟินนิช ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช มีลักษณะเป็นธงแดงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวและดาวแดงอย่างธงชาติสหภาพโซเวียต ตอนล่างของธงเป็นแถบสีฟ้าและแถบสีเขียวพาดไปตามความยาวของธง เรียงลำดับจากบนลงล่าง แต่ละแถบกว้างประมาณ 1 ใน 5 ของส่วนกว้างของธง ธงดังกล่าวนี้เริ่มใช้เมื่อ ค.ศ. 1953 และเลิกใช้ในปี ค.ศ. 1956 จากการยุบเลิกสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิชโดยสหภาพโซเวียต เมื่อมีการยกฐานะสาธารณรัฐปกครองตนเองคาเรเลียขึ้นเป็นสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิชในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1940 ได้มีการออกแบบธงประจำดินแดนขึ้นใหม่ โดยมีลักษณะเป็นธงแดงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวและอักษรบอกนามประเทศ 2 แถว แถวบนเป็นอักษรละติน ภาษาฟินแลนด์ ใจความว่า Karjalais-Suomalainen SNT (ย่อจาก Karjalais-Suomalainen Sosialistinen Neuvostotasavalta) แถวล่างเป็นภาษารัสเซีย อักษรซีริลลิก ใจความว่า Карело-Финская ССР (ย่อจาก (Карело-Финская Советская Социалистическая Республика) รูปดังกล่าวทั้งหมดเป็นสีเหลืองทอง ในปี ค.ศ. 1947 ได้มีผู้ออกแบบธงสำหรับสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิชขึ้นใหม่ โดยมีลักษณะเป็นธงแดงรูปค้อนเคียวและดาวแดง ใต้รูปดังกล่าวมีอักษรย่อ 2 แถว เป็นใจความว่า K.-S.S.N.T. และ К.-Ф.С.С.Р. ตอนล่างของธงมีแถบสีฟ้าขนาดใหญ่และแถบสีเขียวขนาดเล็กพาดผ่านตามแนวนอน ในแถบสีฟ้านั้นมีรูปต้นไม้ขนาดเล็กสีดำ 20 ต้น วางเรียงรายไปตามแถบนั้น ธงดังกล่าวแม้จะไม่มีการใช้จริง แต่ก็มีการสันนิษฐานว่าธงนี้อาจมีอิทธิพลในการออกแบบธงชาติแบบสุดท้ายใน ค.ศ. 1953 ก็ได้ เนื่องจากลักษณะรูปแบบของธงนั้นคล้ายคลึงกันมาก.

ใหม่!!: อักษรละตินและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค เป็นชื่อของธงชาติคาซัคสถาน ในสมัยที่อยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต แบบธงที่ใช้ครั้งสุดท้ายจนถึงการได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2534 เป็นแบบที่รัฐบาลประกาศใช้เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2496 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีแดง กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน กลางธงมีแถบสีฟ้าพาดผ่าน ที่มุมบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวไขว้และดาวแดงห้าแฉกขอบสีทอง อันเป็นสัญลักษณ์ของขบวนการคอมมิวนิสต์สากล แต่เดิมแล้ว คาซัคโซเวียตได้เริ่มใช้ธงชาติของตนเป็นครั้งแรก ในช่วง พ.ศ. 2480 โดยเป็นธงแดงมีรูปค้อนเคียวไขว้ที่มุมธงด้านคันธง ที่ตอนล่างของรูปดังกล่าวมีอักษรย่อนามประเทศ เขียนด้วยอักษรโรมันและอักษรซีริลลิกสีทองว่า QAZAQ SSR และ КАЗАХСКАЯ ССР (ถ่ายรูปอักษรโรมันได้ว่า KAZACHSKAJA SSR) ต่อมาใน พ.ศ. 2496 จึงเปลี่ยนตัวอักษรในธงใหม่ เป็นอักษรซีรีลลิกแบบไม่มีเชิงสีทอง ความว่า Казак ССР (Kazak SSR) และ Казахская ССР (Kazachskaja SSR) และเปลี่ยนตำแหน่งใหม่ให้อยู่ข้างรูปค้อนเคียวแทน ก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงธงครั้งสุดท้ายใน พ.ศ. 2496.

ใหม่!!: อักษรละตินและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย

งชาติสาธารัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย สัดส่วน: 1:2 ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย ประกาศใช้โดยสาธารัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 ธงพื้นสีแดง ที่มุมบนธงมีรูปค้อนเคียวกับดาวแดงขอบเหลือง มีแถบคลื่นซึ่งปลายแหลมของคลื่นชี้ขึ้นบน โดยสีนำงินโดยมีแถบเล็กสีขาว-นำเงิน-ขาว วางซ้อน ซึ่งแถบสีวางที่ด้านล่างธง.

ใหม่!!: อักษรละตินและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมนเริ่มใช้ครั้งแรกในช่วงต้นทศวรรษที่ 1930 (พ.ศ. 2473 - 2482) มีลักษณะที่คล้ายคลึงกับธงชาติสหภาพโซเวียตมาก กล่าวคือ เป็นธงพื้นสีแดง มีรูปค้อนเคียวไขว้สีทองอยู่ที่มุมธงด้านคันธง รูปดังกล่าวนี้ถือเป็นสัญลักษณ์ของขบวนการคอมมิวนิสต์สากลที่ใช้ทั่วไป ต่อมาในปี พ.ศ. 2480 จึงได้มีการเพิ่มอักษรโรมันไว้ที่ใต้รูปค้อนเคียว เป็นอักษรย่อว่า T.S.S.R. ซึ่งเป็นชื่อย่อของประเทศ และได้รับรองให้ใช้ได้ในช่วงทศวรรษที่ 1940 (พ.ศ. 2483 - 2492) หลังจากนั้นจึงมีการเปลี่ยนแปลงอักษรย่อในธงอีกครั้ง เป็นอักษรซีริลลิก ความว่า ТССР ซึ่งมีความหมายอย่างเดียวกับอักษรย่อแบบโรมันตัวเดิม ธงนี้ได้ใช้มาจนกระทั่งในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2496 รัฐบาลของเติร์กเมนโซเวียตจึงแก้ไขแบบธงชาติเป็นครั้งสุดท้าย โดยมีลักษณะเป็นธงพื้นสีแดง มีแถบสีฟ้า 2 แถบพาดผ่านกลางธงตามแนวนอน ที่มุมธงด้านคันธงเป็นรูปค้อนเคียวไขว้สีทอง และดาวแดงห้าแฉกขอบสีทอง ดังที่ปรากฏในบทความนี้ ธงดังกล่าวได้ใช้เป็นธงชาติเติร์กเมนโซเวียตสืบมา จวบจนถึงการประกาศแยกตัวเป็นเอกราชจากสหภาพโซเวียตใน พ.ศ. 2534.

ใหม่!!: อักษรละตินและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน

งชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 5 ส่วน ยาว 8 ส่วน ภายในธงชาติแบ่งพื้นที่ออกเป็น 4 ส่วน ด้วยแถบสีขาวพาดผ่านกึ่งกลางธงทั้งแนวนอนและแนวตั้งตัดกันเป็นรูปกางเขน ช่องสี่เหลี่ยมเล็กที่เกิดขึ้นนั้นแบ่งเป็นพื้นสีน้ำเงินที่ช่องซ้ายบนและช่องขวาล่าง และเป็นสี่เหลี่ยมสีแดงที่ช่องขวาบนและช่องซ้ายล่าง ตรงใจกลางของกางเขนสีขาวนั้นมีภาพตราแผ่นดินของสาธารณรัฐโดมินิกันขนาดเล็ก ลักษณะของตราเป็นโล่ลายสีธงชาติ ที่ใจกลางโล่มีหอก 2 เล่ม และธงชาติติดคันธงปลายหอก 4 ผืนไขว้กัน ซ้อนทับด้วยคัมภีร์ไบเบิลภายใต้ไม้กางเขนสีเหลืองซึ่งกางออก เปิดหน้าของพระวรสารนักบุญยอห์น บทที่ 8 ข้อที่ 32 ความว่า "Y la verdad nos hará libre" ("และสัจจะจะทำให้ท่านทั้งหลายเป็นไท") เบื้องบนของโล่เป็นแพรแถบสีน้ำเงินเขียนคำขวัญประจำชาติด้วยอักษรโรมันสีเหลืองไว้ว่า "Dios, Patria, Libertad" (พระเจ้า ปิตุภูมิ เสรีภาพ) ขนาบข้างโล่นั้นมีช่อใบลอเรลโอบขึ้นมาทางด้านซ้าย ด้านขวาโอบด้วบช่อใบปาล์ม ด้านล่างเป็นอักษรสีเหลืองจารึกนามประเทศเป็นภาษาสเปนในแพรแถบสีแดงว่า "República Dominicana" หรือ "สาธารณรัฐโดมินิกัน" สำหรับธงเรือพลเรือนนั้นลักษณะของธงเป็นดังที่บรรยายไว้ข้างต้น เว้นแต่ว่ายกเอาเครื่องหมายตราแผ่นดินออกเท่านั้น และสัดส่วนธงนั้นกว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน.

ใหม่!!: อักษรละตินและธงชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอาเซอร์ไบจาน

งชาติอาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan bayrağı) เป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ภายในแบ่งตามแนวนอนเป็นสามแถบ แต่ละแถบซึ่งมีความกว้างเท่ากันมีสีฟ้า สีแดง และสีเขียว ตามลำดับจากบนลงล่าง กลางแถบสีแดงมีรูปจันทร์เสี้ยวและดาวแปดแฉกสีขาว ธงดังกล่าวนี้เริ่มใช้ครั้งแรกในระหว่างปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและธงชาติอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติจอร์เจีย

งชาติจอร์เจีย (საქართველოს სახელმწიფო დროშა., sakartvelos sakhelmtsipo drosha) ที่ใช้ในปัจจุบันได้แก่ธงที่มีชื่อเรียกว่า "ธงห้ากางเขน" หรือ "ธงห้ากากบาท" (The five-cross flag) ซึ่งได้นำมาใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2547 หลังธงนี้ได้เลิกใช้มานานถึง 500 ปี ในอดีตธงนี้เป็นธงของอาณาจักรจอร์เจียโบราณในยุคกลางของทวีปยุโรป และเคยใช้เป็นสัญลักษณ์ของพรรคการเมืองจอร์เจียที่มีชื่อว่า พรรคขบวนการเอกภาพแห่งชาติ หรือพรรค ENM (ย่อมาจาก Ertiani Natsionaluri Modzraoba).

ใหม่!!: อักษรละตินและธงชาติจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์

งชาติเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 7 ส่วน ยาว 11 ส่วน ภายในแบ่งเป็นสามแถบ โดยแถบด้านคันธงเป็นสีฟ้า ด้านชายธงเป็นสีเขียว แถบกลางธงเป็นสีทอง โดยมีความกว้างเป็นสองเท่าของแถบด้านคันธงและด้านชายธง กลางแถบสีทองนั้นมีรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนสีเขียว 3 รูป เรียงกันเป็นรูปอักษรละติน "V" ธงนี้เป็นธงที่ประกาศใช้เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2528 สีฟ้าในธง หมายถึงผืนฟ้าและท้องทะเลสีคราม สีทองหมายถึงความอบอุ่น จิตวิญญาณอันเจิดจ้าของปวงชน และผืนทรายสีทองในหมู่เกาะเกรนาดีนส์ สีเขียวหมายถึงพืชพรรณที่เขียวชอุ่มจากการเกษตรกรรมทั่วเกาะเซนต์วินเซนต์ และพลังแห่งความอดทนของประชาชน รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน 3 รูป ซึ่งเรียงกันเป็นรูปตัว "V" คืออักษรตัวแรกของคำว่าเซนต์วินเซนต์ (St. Vincent) หมายถึง ความหลากหลายทางธรรมชาติในหมู่เกาะนี้ จนประเทศนี้ได้ชื่อว่าเป็นอัญมณีแห่งหมู่เกาะแอนทิลลิส (the Antilles) โดยเหตุดังกล่าว ทำให้ธงนี้มีอีกชื่อหนึ่งว่า "ธงอัญมณี" ("The gems").

ใหม่!!: อักษรละตินและธงชาติเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนทรงวาด

อาคารเก่าแก่ริมถนนทรงวาด ถนนทรงวาด (อักษรโรมัน: Thanon Song Wat) เป็นถนนสายหนึ่งในเขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ในย่านเยาวราช ถนนทรงวาด กำเนิดจากการที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้วาดแนวถนนเส้นนี้ลงบนแผนที่เพื่อลดความแออัดของพื้นที่ในย่านสำเพ็งหลังจากเกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ ถนนทรงวาดมีความยาวทั้งสิ้น 1,196 เมตร กินพื้นที่ตั้งแต่แขวงสัมพันธวงศ์ และแขวงตลาดน้อย การตัดถนนทรงวาดแบ่งเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงแรกเมื่อ..

ใหม่!!: อักษรละตินและถนนทรงวาด · ดูเพิ่มเติม »

ถนนตก

นนตก (อักษรโรมัน: Thanon Tok) เป็นถนนและทางแยกแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร เป็นสี่แยกที่ตัดระหว่างถนนเจริญกรุงกับถนนพระรามที่ 3 และถนนมไหสวรรย์ ถนนตก เป็นส่วนหนึ่งของถนนเจริญกรุง ถือได้ว่าเป็นส่วนปลายสุดของถนนเจริญกรุง โดยเกิดขึ้นมาพร้อมกับถนนเจริญกรุงในปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและถนนตก · ดูเพิ่มเติม »

ทอร์น

ทอร์น (thorn: Þ, þ) เป็นตัวอักษรในอักษรละติน ในสมัยโบราณพบในระบบการเขียนของภาษากลุ่มเจอร์แมนิกหลายภาษา แต่ปัจจุบันมีเพียงภาษาไอซ์แลนด์เท่านั้นที่ยังใช้ตัวอักษรตัวนี้อยู่ คำที่เคยเขียนด้วยตัวอักษรตัวนี้ ในปัจจุบันจะเขียนด้วย th ตัวอักษร thorn มีที่มาจากตัวอักษร ᚦ ในอักษรรูน อักษรนี้ใช้แทนเสียงเสียดแทรก ฟัน ไม่ก้องและก้อง (เหมือน th ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแทนได้ทั้งสองเสียง) แต่ในภาษาไอซ์แลนด์จะแทนได้เฉพาะเสียงเสียดแทรก ฟัน ไม่ก้องส่วนเสียงก้องจะใช้ตัวอักษร eth (Ð, ð) แทน หมวดหมู่:อักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและทอร์น · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบไบคาล

ทะเลสาบไบคาล (อักษรโรมัน: Lake Baikal, อักษรซีริลลิก: о́зеро Байка́л) ตั้งอยู่บริเวณตอนใต้ของไซบีเรีย ประเทศรัสเซียเป็นทะเลสาบที่ลึกที่สุดในโลก จุดที่ลึกที่สุดมีความลึกกว่า 1,640 เมตร ทะเลสาบไบคาลเกิดจากการที่น้ำเอ่อล้นเข้ามาจนเต็มรอยเปลือกโลกที่แตกเมื่อ 25 ล้านปีที่แล้ว ทะเลสาบมีความยาวประมาณ 650 กิโลเมตร กว้างโดยเฉลี่ย 50 กิโลเมตร มีพื้นที่ 31,722 ตารางกิโลเมตร และมีปริมาตร 23,615 ลูกบาศก์กิโลเมตร.

ใหม่!!: อักษรละตินและทะเลสาบไบคาล · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงสายเอเชีย

แผนที่ทางหลวงสายเอเชีย ป้ายทางหลวงเอเชียสาย 2 ที่จังหวัดราชบุรี ประเทศไทย ป้ายทางหลวงสายเอเชีย ป้ายนี้ใช้ในทางหลวงเอเชียสาย 18 ทางหลวงสายเอเชีย หรือย่อเป็น AH เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปเอเชียและยุโรป และคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (เอสแคป) สหประชาชาติ เพื่อปรับปรุงระบบทางหลวงในเอเชีย เป็นหนึ่งในสามเสาหลักของโครงการการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งทางบกของทวีปเอเชีย อนุมัติโดยคณะกรรมการเอสแคป ในการประชุมครั้งที่ 48 ในปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและทางหลวงสายเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทซาธอกกวา

ทซาธอกกวา (อักษรละติน: Tsathoggua) หรือ โชธาควา (อักษรละติน: Zhothaqquah) เป็นหนึ่งในเกรทโอลด์วันจากเรื่องชุดตำนานคธูลู มีฉายาว่า ผู้หลับใหลแห่งอึนไค (Sleeper of N'kai) โดยปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น The Tale of Satampra Zeiros ซึ่งคลาก แอชตัน สมิท ประพันธ์ในปีพ.ศ. 2472และได้ลงตีพิมพ์ในวารสาร Weird Tales ฉบับเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2474 แต่เรื่องแรกของทซาธอกกวาที่ได้รับการตีพิมพ์คือ The Whisperer in Darkness ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ ซึ่งประพันธ์ในปี 2473 และตีพิมพ์ใน Weird Tales ฉบับเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: อักษรละตินและทซาธอกกวา · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก (132.2 เมตร) และอาคารผู้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก (563,000 ตารางเมตร) ปัจจุบันเป็น หนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลกและใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 109 สายการบิน ซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) Suvarnabhumi Airport.

ใหม่!!: อักษรละตินและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ขั้นตอนวิธีเชิงสัทลักษณ์

ั้นตอนวิธีเชิงสัทลักษณ์ (phonetic algorithm) คือขั้นตอนวิธีสำหรับการกำหนดดัชนีของคำต่างๆ โดยใช้การออกเสียงเป็นเกณฑ์ ขั้นตอนวิธีเชิงสัทลักษณ์ส่วนใหญ่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้กับภาษาอังกฤษ ดังนั้นการใช้กฎเกณฑ์ดังกล่าวกับคำในภาษาอื่นอาจไม่ให้ผลลัพธ์ที่มีความหมาย ขั้นตอนวิธีเหล่านั้นมีความซับซ้อนด้วยกฎและข้อยกเว้นหลายประการ เนื่องจากการสะกดคำ และการออกเสียงในภาษาอังกฤษถูกทำให้ยุ่งยากด้วยการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์และคำที่ยืมมาจากภาษาอื่นหลายภาษ.

ใหม่!!: อักษรละตินและขั้นตอนวิธีเชิงสัทลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ข้อเขียนพนาโคติก

้อเขียนพนาโคติก (อักษรละติน: Pnakotic Manuscripts) เป็นตำราเวทสมมุติที่ปรากฏในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ ซึ่งได้รับการกล่าวถึงครั้งแรกในเรื่องสั้น "โพลาริส" ในปี พ.ศ. 2461 และได้รับการกล่าวถึงอีกในผลงานต่อๆมาอย่าง ณ หุบเขาแห่งความวิปลาส (พ.ศ. 2479) เดอะดรีมเควสต์ออฟอันโนนคาดัธ (พ.ศ. 2469) เทพอื่น (พ.ศ. 2478) ทั้งยังได้รับการอ้างถึงโดยนักประพันธ์คนอื่นๆที่เขียนเรื่องในงานชุดนี้ด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ ข้อเขียนพนาโคติก นั้นเป็นตำราเวทสมมุติเล่มแรกที่เลิฟคราฟท์นำมาใช้ในเรื่อง.

ใหม่!!: อักษรละตินและข้อเขียนพนาโคติก · ดูเพิ่มเติม »

ดมีตรี เมนเดเลเยฟ

มีตรี อีวาโนวิช เมนเดเลเยฟ (Дми́трий Ива́нович Менделе́ев; อักษรโรมัน:Dmitriy Ivanovich Mendeleyev) เกิดเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1834 ถึงแก่กรรมวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1907 ในเมืองเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก เมนเดเลเยฟเป็นนักเคมีชาวรัสเซีย เขาได้รับการยกย่องมีฐานะบุคคลแรกที่สร้างตารางธาตุฉบับแรกขึ้นมา แต่เมนเดเลเยฟนั้นมีความคิดแตกต่างจากผู้เขียนตารางธาตุคนอื่นๆ นั่นคือ เขาได้ทำนายคุณสมบัติของธาตุต่าง ๆ ที่ยังไม่ได้ค้นพบด้วย และนอกจากการทุ่มเทให้กับการวางแบบแผนตารางธาตุและเคมีแล้ว เขายังให้ความสนใจปัญหาสังคมด้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและดมีตรี เมนเดเลเยฟ · ดูเพิ่มเติม »

ดับเบิลเกรฟแอกเซนต์

ับเบิลเกรฟแอกเซนต์ (double grave accent) เรียกย่อว่า ดับเบิลเกรฟ (double grave) เป็นเครื่องหมายเสริมสัทอักษรชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นขีดเล็ก ๆ เฉียงลงขวาสองขีดอยู่เหนืออักษร (◌̏) ใช้เขียนกำกับอักษรละตินในภาษาโครเอเชีย ภาษาสโลวีเนีย กำกับทั้งอักษรละตินและอักษรซีริลลิกในภาษาเซอร์เบีย บางครั้งก็ใช้ในสัทอักษรสากล เครื่องหมายนี้ในภาษาโครเอเชีย ภาษาสโลวีเนีย และภาษาเซอร์เบีย ใช้แสดงเสียงวรรณยุกต์ตกลงที่เป็นเสียงสั้น แต่ไม่ค่อยใช้ในชีวิตประจำวัน จะใช้เครื่องหมายนี้เพื่ออธิบายการออกเสียงในภาษาเหล่านี้เท่านั้น สำหรับอักษรซีริลลิก А Е И О Р У ที่เทียบเท่าอักษรละติน A E I O R U ไม่มีอักขระเฉพาะตัวในรูปแบบดับเบิลเกรฟ ต้องประสมขึ้นเองจากตัวผสานดับเบิลเกรฟ (U+030F) เช่น И + ◌̏.

ใหม่!!: อักษรละตินและดับเบิลเกรฟแอกเซนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวหาง

ดาวหางเฮล-บอปป์ ดาวหางเวสต์ ดาวหาง คือ วัตถุชนิดหนึ่งในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ มีส่วนที่ระเหิดเป็นแก๊สเมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดชั้นฝุ่นและแก๊สที่ฝ้ามัวล้อมรอบ และทอดเหยียดออกไปภายนอกจนดูเหมือนหาง ซึ่งเป็นปรากฏการณ์จากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ไปบนนิวเคลียสของดาวหาง นิวเคลียสหรือใจกลางดาวหางเป็น "ก้อนหิมะสกปรก" ประกอบด้วยน้ำแข็ง คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน แอมโมเนีย และมีฝุ่นกับหินแข็งปะปนอยู่ด้วยกัน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ไม่กี่กิโลเมตรไปจนถึงหลายสิบกิโลเมตร คาบการโคจรของดาวหางมีความยาวนานแตกต่างกันได้หลายแบบ ตั้งแต่คาบโคจรเพียงไม่กี่ปี คาบโคจร 50-100 ปี จนถึงหลายร้อยหรือหลายพันปี เชื่อว่าดาวหางบางดวงเคยผ่านเข้ามาในใจกลางระบบสุริยะเพียงครั้งเดียว แล้วเหวี่ยงตัวเองออกไปสู่อวกาศระหว่างดาว ดาวหางที่มีคาบการโคจรสั้นนั้นเชื่อว่าแต่เดิมเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในแถบไคเปอร์ที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ส่วนดาวหางที่มีคาบการโคจรยาวอาจมาจากแหล่งอื่น ๆ ที่ไกลจากดวงอาทิตย์ของเรามาก เช่นในกลุ่มเมฆออร์ตซึ่งประกอบด้วยเศษซากที่หลงเหลืออยู่จากการบีบอัดตัวของเนบิวลา ดาวหางเหล่านี้ได้รับแรงโน้มถ่วงรบกวนจากดาวเคราะห์รอบนอก (กรณีของวัตถุในแถบไคเปอร์) จากดวงดาวอื่นใกล้เคียง (กรณีของวัตถุในกลุ่มเมฆออร์ต) หรือจากการชนกัน ทำให้มันเคลื่อนเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์น้อยมีกำเนิดจากกระบวนการที่ต่างไปจากนี้ อย่างไรก็ดี ดาวหางที่มีอายุเก่าแก่มากจนกระทั่งส่วนที่สามารถระเหิดเป็นแก๊สได้สูญสลายไปจนหมดก็อาจมีสภาพคล้ายคลึงกับดาวเคราะห์น้อยก็ได้ เชื่อว่าดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกหลายดวงเคยเป็นดาวหางมาก่อน นับถึงเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: อักษรละตินและดาวหาง · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเคราะห์นอกระบบ

accessdate.

ใหม่!!: อักษรละตินและดาวเคราะห์นอกระบบ · ดูเพิ่มเติม »

ดาเลท

ดาเลท (Daleth) เป็นอักษรตัวที่ 4 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู (ד‎) อักษรอาหรับ (ﺩ‎; ดาล) และอักษรซีเรียค (ܕ) ใช้แทนเสียงก้องไม่มีลม เกิดจากปุ่มเหงือก (voiced alveolar plosive; สัทอักษรสากล) อักษรนี้มาจากไฮโรกลิฟรูปประตู (dalt ภาษาฮีบรูสมัยใหม่เป็น delet) ส่วนอักษรคานาอันไนต์เรียกปลา (digg ภาษาฮีบรูสมัยใหม่เป็น dag) อักษรฟินิเชียที่ใช้แทนเสียงนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก “Δ ” อักษรละติน “D” และอักษรซีริลลิก “Д” หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรละตินและดาเลท · ดูเพิ่มเติม »

คอฟ

คอฟ (Qoph, Qop) เป็นอักษรตัวที่ 19 ของอักษรตะกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ק‎ และอักษรอาหรับ ق (ก๊อฟ)‎ ใช้แทนเสียงเน้นจากคอหอย เกิดที่เพดานอ่อน หรือจากลิ้นไก่ อักษรตัวนี้กลายเป็นอักษรละติน Q และอักษรกรีก มาจากอักษรภาพรูปลิงที่แสดงลำตัวและหาง (ในภาษาฮีบรู, Qoph, สะกดด้วยอักษรฮีบรูเป็น קוף, หมายถึง "ลิง" และ K'of ในภาษาอียิปต์โบราณหมายถึงลิงชนิดหนึ่ง) หรืออาจจะมาจากอักษรภาพรูปหัวและคอของคน (Qaph ในภาษาอาหรับหมายถึงลำคอ) หมวดหมู่:อักษรอาหรับ en:Qoph#Arabic qāf.

ใหม่!!: อักษรละตินและคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

คาฟ

คาฟ (Kaph, Kap, Kaf) เป็นอักษรตัวที่ 11 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู כ‎ และอักษรอาหรับ ك (ก๊าฟ كَافْ) การออกเสียงในสัทอักษรเป็น อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก (Κ), อักษรละติน K, และเป็นอักษรซีริลลิก (К) คาดว่าอักษรกาฟมาจากอักษรภาพรูปมือ (ทั้งในภาษาฮีบรูสมัยใหม่และภาษาอาหรับสมัยใหม่ kaph หมายถึงฝ่ามือ) หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรละตินและคาฟ · ดูเพิ่มเติม »

คำยืม

ำยืม หมายถึงคำที่ยืมมาจากภาษาของผู้ให้ และผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของภาษาของผู้รับ การยืมนี้ไม่เหมือนความหมายทั่วไปเนื่องจากไม่มีการคืนกลับสู่ภาษาของผู้ให้ แต่เปรียบได้กับ "การยืมความคิด" มาใช้ คำยืมอาจไม่ได้เป็นคำเดียวเสมอไป อาจเป็นกลุ่มคำก็ได้อย่างเช่น déjà vu ซึ่งภาษาอังกฤษยืมมาจากภาษาฝรั่งเศส จะใช้ควบคู่กันไปเสมือนคำเดียว คำยืมอาจมีการเขียน การอ่าน และความหมาย ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมก็ได้ คำในภาษาของผู้ให้โดยทั่วไปเข้าสู่ภาษาของผู้รับในลักษณะศัพท์เฉพาะทางเนื่องจากการเปิดรับวัฒนธรรมต่างชาติ จุดอ้างอิงโดยเฉพาะอาจเป็นวัฒนธรรมต่างชาตินั้นเองหรือขอบข่ายของกิจกรรมของวัฒนธรรมต่างชาติที่ต้องการครอบงำ วัฒนธรรมต่างชาติซึมซับเข้าสู่วัฒนธรรมท้องถิ่นผ่านทางการเผยแผ่ศาสนา ปรัชญา การค้าขาย ศิลปะ วิทยาการ และการอพยพจากคนต่างถิ่น รวมไปถึงความสัมพันธ์ทางการทูต ภาษาไทยมีคำยืมภาษาต่างประเทศหลายภาษาอาทิ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร กลุ่มภาษาจีน (ภาษาแต้จิ๋ว, ภาษาฮกเกี้ยน และ ภาษาจีนกลาง) ภาษามอญ ภาษามลายู ภาษาโปรตุเกส ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ฯลฯ แม้แต่ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงก็ยังปรากฏคำยืมภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร เข้ามาปะปน.

ใหม่!!: อักษรละตินและคำยืม · ดูเพิ่มเติม »

ค่าคงตัว

งตัว หรือ ค่าคงที่ ในทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ หมายถึง ค่าค่าหนึ่งของตัวเลขซึ่งกำหนดตายตัวไว้ หรืออาจเป็นค่าที่ไม่ระบุตัวเลข ค่าคงตัวมีความหมายตรงข้ามกับตัวแปรซึ่งสามารถแปรผันค่าได้.

ใหม่!!: อักษรละตินและค่าคงตัว · ดูเพิ่มเติม »

ตรรกศาสตร์

ตรรกศาสตร์ (logic - มีรากศัพท์จากภาษากรีกคือ λόγος, logos) โดยทั่วไปประกอบด้วยการศึกษารูปแบบของข้อโต้แย้งอย่างเป็นระบบ ข้อโต้แย้งที่สมเหตุสมผลคือข้อโต้แย้งที่มีความสัมพันธ์ของการสนับสนุนเชิงตรรกะที่เฉพาะเจาะจงระหว่างข้อสมมุติพื้นฐานของข้อโต้แย้งและข้อสรุป ตรรกศาสตร์เป็นการศึกษาเชิงปรัชญาว่าด้วยการให้เหตุผล โดยมักจะเป็นส่วนสำคัญของวิชาปรัชญา คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ รวมถึงภาษาศาสตร์ ตรรกศาสตร์เป็นการตรวจสอบข้อโต้แย้งที่สมเหตุสมผล (valid argument) หรือการให้เหตุผลแบบผิดๆ (fallacies) ตรรกศาสตร์ เป็นการศึกษาที่มีมานานโดยมนุษยชาติที่เจริญแล้ว เช่น กรีก จีน หรืออินเดีย และถูกยกขึ้นเป็นสาขาวิชาหนึ่งโดย อริสโตเติล.

ใหม่!!: อักษรละตินและตรรกศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของมาเลเซีย

ตราแผ่นดินของมาเลเซีย (Jata Negara) ประกอบด้วยส่วนหลัก ๆ ห้าส่วนคือ โล่ เสือโคร่งสองตัว พระจันทร์เสี้ยวสีเหลือง และดาวสีเหลือง 14 แฉก และแถบผ้า ตราแผ่นดินของมาเลเซียนี้สืบทอดมาจากตราแผ่นดินสหพันธรัฐมาลายาระหว่างที่เป็นอาณานิคมของอังกฤษ ตราในปัจจุบันจึงมีอิทธิพลของตราแบบตะวันตกอยู่มาก.

ใหม่!!: อักษรละตินและตราแผ่นดินของมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของสหภาพโซเวียต

ตราแผ่นดินของสหภาพโซเวียต (Государственный герб Советского Союза, Gosudarstvenny gerb Sovetskogo Soyuza) เป็นตราแผ่นดินที่มาในปี 1923 ถึง 1991.

ใหม่!!: อักษรละตินและตราแผ่นดินของสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของสิงคโปร์

ตราแผ่นดินของสิงคโปร์ ประกาศใช้ครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม..

ใหม่!!: อักษรละตินและตราแผ่นดินของสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด มีลักษณะเป็นตราอาร์มในพื้นวงกลมสีฟ้า ภายในโล่แบ่งเป็น 4 ส่วน โดยมุมซ้ายบนเป็นพื้นสีแดง มุมขวาบนพื้นสีเหลือง มุมซ้ายล่างพื้นสีเขียว และมุมขวาล่างพื้นสีเทา รอบวงกลมสีฟ้านั้นล้อมรอบด้วยหนังรัดถุงเท้ายาวในเครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์ ในแถบหนังรัดถุงเท้ายาวมีข้อความอยู่ด้านบนสุด เขียนเป็นภาษาอังกฤษ อักษรโรมันว่า "GOVERNOR-IN-CHIEF" ด้านซ้ายของข้อความดังกล่าวมีอักษร "WINDWARD" ส่วนด้านขวาเป็นอักษร "ISLANDS" เบื้องล่างของตราเป็นแพรแถบสีขาว จารึกข้อความอักษรโรมัน ภาษาลาตินไว้ว่า "I PEDE FAUSTO" (แปลว่า "Go with a lucky foot") รูปดังกล่าวทั้งหมดนี้อยู่ภายใต้มงกุฎราชินี มงกุฎราชินีที่ปรากฏในตรานี้ เดิมใช้ใช้มงกุฎอิมพีเรียลสเตตเมื่อ พ.ศ. 2429 ต่อมาจึงเปลี่ยนป็นใช้มงกุฎทิวดอร์เมื่อ พ.ศ. 2446.

ใหม่!!: อักษรละตินและตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเขียน

ดีนีเลียน ตัวเขียน (cursive) มาจากภาษาละติน (cursivus) แปลว่า การไหล หมายถึงรูปแบบการเขียนด้วยลายมือชนิดใดชนิดหนึ่ง ถูกออกแบบขึ้นเพื่อใช้ในการเขียนจดหมายหรือจดบันทึกอย่างรวดเร็ว ตัวเขียนของอักษรละติน อักษรซีริลลิก และอักษรอาหรับ เป็นต้น ตัวอักษรจะเชื่อมติดกันเป็นคำ ทำให้คำหนึ่ง ๆ ถูกเขียนด้วยเส้นเดียวแต่ซับซ้อน หมวดหมู่:การเขียน หมวดหมู่:อักษรวิจิตร.

ใหม่!!: อักษรละตินและตัวเขียน · ดูเพิ่มเติม »

ต้ง

ต้ง เป็นกลุ่มชนซึ่งมีถิ่นฐานอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของมณฑลกุ้ยโจว ทางตอนใต้ของมณฑลหูหนาน และทางตะวันออกของเขตปกครองตนเองกวางสีจ้วงของประเทศจีน พวกเขาเรียกพวกตนเองว่า ก๊ำ หรือ อ้ายก๊ำ หรือ ปู้ก๊ำ ซึ่งก็คือ ผู้คำ พวกเขาเชื่อว่าพวกตนเองสืบเชื้อสายมาจากชนเผ่านก ชาวปู้ก๊ำ หรือ อ้ายก๊ำ มีจำนวนประชากร 2,960,293 คน พวกเขาใช้ภาษาต้งซึ่งอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได (จ้วง-ต้ง) และส่วนมากจะใช้อักษรจีนในการเขียน ต่อมาใน ค.ศ. 1958 ก็มีการใช้อักษรละติน แต่ไม่ค่อยนิยมมากนัก.

ใหม่!!: อักษรละตินและต้ง · ดูเพิ่มเติม »

ซะกุระ โอะดะ

ซะกุระ โอะดะ (ญี่ปุ่น: 小田さくら;อักษรโรมัน: Oda sakura;เกิด 12 มีนาคม พ.ศ. 2542) เป็นนักร้องหญิงชาวญี่ปุ่นสังกัดค่าย" เฮลโล! โปรเจกต์" ปัจจุบันเธอคือหนึ่งในสมาชิกรุ่นสิบเอ็ดแห่งกลุ่มนักร้องหญิงเจ-ป็อป "มอร์นิง มุซุเมะ".

ใหม่!!: อักษรละตินและซะกุระ โอะดะ · ดูเพิ่มเติม »

ซัดดัม ฮุสเซน

ซัดดัม ฮุสเซน (Saddam Hussein) หรือ ศ็อดดาม ฮุเซน อับดุลมะญีด อัลตีกรีตี (อาหรับ: صدام حسين عبد المجيد التكريتي; ละติน:Ṣaddām Ḥusayn ʿAbd al-Majīd al-Tikrītī; 28 เมษายน พ.ศ. 2480-30 ธันวาคม พ.ศ. 2549) เป็นอดีตประธานาธิบดีของอิรัก ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและซัดดัม ฮุสเซน · ดูเพิ่มเติม »

ซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์

การ์ดแค็ปเตอร์ซากุระ หรือที่รู้จักกันในชื่อภาษาอังกฤษว่า Cardcaptor Sakura โดยมักเขียนในรูปอักษรย่อว่า CCS เป็นเรื่องราวของเด็กหญิงที่มีพลังพิเศษ ผลงานของกลุ่มนักเขียน แคลมป์ การ์ตูนเรื่องนี้จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ โคดันฉะ ความยาวทั้งหมด 12 เล่มจบ และยังมีมังงะภาคต่อใช้ชื่อว่า "ภาคเคลียร์การ์ด" ทางด้านการ์ตูนอะนิเมะ (ออกอากาศเมื่อปี ค.ศ. 1998 - ค.ศ. 2000) มีพื้นเรื่องมาจากหนังสือการ์ตูนประกอบไปด้วยตอนทั้งหมด 70 ตอน ตอนละครึ่งชั่วโมง และกับอีก 2 ตอนพิเศษ แต่เมื่อปี 2017 ได้ทำอะนิเมะในรูปแบบ OVA ที่เป็นตอนจบตามมังงะ และหลังจากนี้ในปี 2018 ได้มีการทำอะนิเมะภาคต่อใช้ชื่อว่า "ภาคเคลียร์การ์ด" เรื่องราวของเรื่องเริ่มต้นจากความฝันที่จะบอกถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อจากนี้ คล้ายกับเรื่อง เมจิกไนท์ เรย์เอิร์ธ ผลงานก่อนหน้าของกลุ่มแคลมป์ ถึงแม้เนื้อหาของ การ์ดแค็ปเตอร์ซากุระ จะเปลี่ยนไป แต่ก็ยังจัดอยู่ในการ์ตูนประเภทเดียวกัน ทางด้านตัวละครของเรื่องแล้ว การ์ดแค็ปเตอร์ซากุระ จัดได้ว่าได้รับความนิยมจากผู้ที่ชื่นชอบบนอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกลุ่มประเภทของ ยาโออิ, โชโจะ, ยูริ,โลลิค่อน และ โมเอะ ตัวละครส่วนใหญ่ในเรื่อง การ์ดแค็ปเตอร์ซากุระ จะไปปรากฏอยู่ในหนังสือการ์ตูนอีกเรื่องหนึ่งของทีมแคลมป์ นั่นคือ สึบาสะ สงครามเทพข้ามมิต.

ใหม่!!: อักษรละตินและซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์ · ดูเพิ่มเติม »

ซายิน

ซายิน (Zayin) เป็นอักษรตัวที่ 7 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ז‎อักษรซีเรียค ܙ และอักษรอาหรับ ﺯ‎ (ซัย) ใช้แทนเสียงก้อง เสียดแทรก เกิดจากปุ่มเหงือก อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Ζ, อักษรอีทรัสคัน z, อักษรละติน Z และอักษรซีริลลิก З รูปอักษรคานาอันไนต์เป็นรูปดาบหรืออาวุธอื่น ๆ ส่วนไฮโรกลิฟเป็นรูปโซ่ตรวน หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรละตินและซายิน · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน)

ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน ซิมโฟนีหมายเลข 5 ในบันไดเสียง ซี ไมเนอร์ (Symphony No. 5 in C Minor) ของเบโทเฟิน เป็นผลงานที่เขาประพันธ์ขึ้นในช่วง ค.ศ. 1804-1808 โอปุส 67 (Opus 67) ซิมโฟนีบทนี้นับว่าเป็นหนึ่งในงานดนตรีคลาสสิกที่ได้รับความนิยมสูงสุด และรู้จักกันแพร่หลายที่สุด รวมทั้งถูกนำออกแสดงและได้รับการบันทึกเสียงมากที่สุดบทหนึ่ง ซิมโฟนีบทนี้มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักอย่างรวดเร็ว หลังจากนำออกแสดงครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1808 ในเวลานั้น เอินสท์ เธโอดอร์ อมาดิอุส ฮอฟมันน์ (Ernst Theodor Amadeus Hoffmann) ได้บรรยายเอาไว้ว่า "นับเป็นหนึ่งในผลงานชิ้นสำคัญที่สุดแห่งยุค" บทเพลงนี้ขึ้นต้นด้วยตัวโน้ตหลักเพียง 4 พยางค์ เนื่องจากโน้ตหลัก 4 ตัวของเพลงคล้ายกับ(คือ จุด จุด จุด ขีด) ที่ตรงกับอักษรโรมัน V โน้ตหลักนี้จึงใช้เป็นเครื่องหมายของคำว่า "victory" (ชัยชนะ) ในพิธีเปิดการออกอากาศสถานีวิทยุบีบีซี (BBC) ของอังกฤษในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเป็นความคิดของวิลเลียม สตีเฟนสัน (William Stephenson).

ใหม่!!: อักษรละตินและซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน) · ดูเพิ่มเติม »

ซิดิลลา

ซิดิลลา (cedilla) หรือ เซดีย์ (cédille) เป็นสัญลักษณ์รูปร่างคล้ายตะขอ (¸) อยู่ใต้พยัญชนะของอักษรละตินบางตัว เพื่อแสดงเสียงที่ต่างไปจากรูปปกติ เช่น ç ในภาษาฝรั่งเศสจะออกเสียงคล้ายเสียง ซ แต่ c จะออกเสียงคล้ายเสียง ค เป็นต้น.

ใหม่!!: อักษรละตินและซิดิลลา · ดูเพิ่มเติม »

ซีนีชา มิไฮโลวิช

ซีนีชา มิไฮโลวิช (อักษรโรมัน: Siniša Mihajlović; อักษรซีริลลิก: Синиша Михајловић) (เกิด 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1969 ที่ ยูโกสลาเวีย (ปัจจุบันเป็นประเทศเซอร์เบีย) มิไฮโลวิชมีชื่อเสียงในการยิงฟรีคิกที่โค้งเข้าไปในประตูด้วยเท้าซ้ายที่ถนัด มิไฮโลวิชได้เล่นในระดับชาติใน ฟุตบอลโลก 1998 และ ฟุตบอลยูโร 2000.

ใหม่!!: อักษรละตินและซีนีชา มิไฮโลวิช · ดูเพิ่มเติม »

ซีโควยา

หมือนของซีโควยา ซีโควยา (ᏍᏏᏉᏯ Ssiquoya ชื่อที่เจ้าตัวสะกด) หรือ เซโควยา (ᏎᏉᏯ Sequoya ชื่อที่มักสะกดกันในปัจจุบัน) มีชื่อในภาษาอังกฤษว่า จอร์จ กิสต์ (George Gist) (ประมาณ พ.ศ. 2310–2386) เป็นช่างเงินชาวเชอโรกีและเป็นผู้ประดิษฐ์อักษรเชอโรกีสำหรับเขียนภาษาเชอโรกีในปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและซีโควยา · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อักษร

ประวัติศาสตร์ของอักษร ชนิดแทนหน่วยเสียงมีจุดเริ่มต้นอยู่ในอียิปต์โบราณ อักษรแทนหน่วยเสียงชนิดแรกเป็นอักษรไร้สระ ปรากฏเมื่อ 1,457 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นผลงานของแรงงานชาวเซมิติกในอียิปต์ เพื่อใช้เขียนภาษาของตนเอง โดยได้รับอิทธิพลจากอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะซึ่งใช้คู่กับอักษรคำในอักษรไฮโรกลิฟฟิก อักษรอื่นๆ ที่ใช้ในปัจจุบันส่วนใหญ่พัฒนามาจากอักษรนี้รวมทั้งอักษรฟินิเชีย อักษรกรีก และอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและประวัติศาสตร์อักษร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนีย

รมาเนีย (Romania; România) แต่ก่อนเรียกว่า รูมาเนีย (Rumania หรือ Roumania) เป็นประเทศในทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศยูเครนและประเทศมอลโดวา ทิศตะวันตกจดประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย ทิศใต้จดประเทศบัลแกเรีย โรมาเนียมีชายฝั่งบนทะเลดำด้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและประเทศโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

ซอร์เบียและมอนเตเนโกร (Serbia and Montenegro, SCG) เป็นชื่อของอดีตสหพันธรัฐซึ่งเป็นการรวมอย่างหลวม ๆ ของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร อดีตสาธารณรัฐของยูโกสลาเวีย ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 จนถึง พ.ศ. 2549 ตั้งอยู่บนคาบสมุทรบอลข่านตอนตะวันตกกลาง ซึ่งแต่เดิมมีชื่อประเทศว่า สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ต่อมาก็ได้เปลี่ยนชื่อประเทศในปี2003 ในชื่อ สหภาพรัฐเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เซอร์เบียและมอนเตเนโกรมีความร่วมมือกันเฉพาะบางด้านในการเมือง (เช่น ผ่านสหพันธ์การป้องกันประเทศ) ทั้ง 2 รัฐมีนโยบายเศรษฐกิจและหน่วยเงินของตนเอง และประเทศไม่มีเมืองหลวงรวมอีกต่อไป โดยที่แบ่งแยกสถาบันที่ใช้ร่วมกันระหว่างเมืองเบลเกรดในเซอร์เบียและเมืองพอดกอรีตซาในมอนเตเนโกร ทั้งสองรัฐแยกออกจากกันหลังจากมอนเตเนโกรจัดให้มีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 และประกาศเอกราชเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน ปีเดียวกัน ทำให้เกิดประเทศใหม่คือประเทศมอนเตเนโกร ส่วนประเทศเซอร์เบียก็กลายเป็นผู้สืบสิทธิ์ต่าง ๆ ของประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร.

ใหม่!!: อักษรละตินและประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร · ดูเพิ่มเติม »

ปูร์เกอตูแมมอองกอร์

ซลีนในมิวสิกวิดีโอ เพลง "ปูร์เกอตูแมมอองกอร์" (พ.ศ. 2538) เซลีนขับร้องเพลง "ปูร์เกอตูแมมอองกอร์" ในมหรสพ''อะนิวเดย์...'' (พ.ศ. 2550) ปูร์เกอตูแมมอองกอร์ (Pour que tu m'aimes encore, "เพื่อให้คุณกลับมารักฉันอีกครั้ง") เป็นซิงเกิลแรกของเซลีน ดิออนจากอัลบัม เดอ (D'eux) ซึ่งออกจำหน่ายเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2538 เพลงนี้เป็นผลงานการประพันธ์ของชอง-ชาก โกลด์แมน (Jean-Jacques Goldman) และเป็นเพลงหนึ่งอันเป็นที่รู้จักมากที่สุดของเซลีน ดิออน มิวสิกวิดีโอเพลงนี้ อำนวยการสร้างโดยมีแชล แมแยร์ (Michel Meyer) ใน..

ใหม่!!: อักษรละตินและปูร์เกอตูแมมอองกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

นการากู

ปีแยร์-ฌอง เดอ เบรังเยร์. เนอการากู (โรมัน: Negaraku, ยาวี: نڬاراكو, แปลว่า "แผ่นดินของข้า") เป็นเพลงชาติของสหพันธรัฐมาเลเซีย เพลงนี้ได้รับเลือกให้เป็นเพลงชาติมาเลเชียเมื่อสหพันธรัฐมาลายาได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักรในปี พ.ศ. 2500 ทำนองเพลงนี้เดิมใช้เป็นเพลงสรรเสริญประจำรัฐเประก์ ซึ่งเพลงนี้ได้หยิบยืมทำนองมาจากเพลงฝรั่งเศสที่มีชื่อว่า "ลา โรซาลี" (La Rosalie) อีกชั้นหนึ่ง ผู้ประพันธ์ทำนองเพลงนี้คือ ปีแยร์-ฌอง เดอ เบรังเยร์ (Pierre-Jean de Béranger) ชาวฝรั่งเศสผู้มีชีวิตอยู่ระหว่างปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและนการากู · ดูเพิ่มเติม »

นามสกุล

ื่อสกุล หรือ นามสกุล คือ ชื่อบอกตระกูล (หรือสกุล) เพื่อแสดงที่มาของบุคคลนั้น ว่ามาจากครอบครัวไหน ตระกูลใด ธรรมเนียมการใช้นามสกุลปรากฏอยู่ทั่วไปในหลาย ๆ ประเทศและวัฒนธรรม ซึ่งในแต่ละที่ก็อาจจะมีลักษณะเฉพาะแตกต่างกันไป ในหลาย ๆ วัฒนธรรม (เช่น ทางตะวันตก ตะวันออกกลาง และในทวีปแอฟริกา) นามสกุลจะอยู่ในลำดับหลังสุดของชื่อบุคคล แต่ในบางวัฒนธรรม โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออก (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม) นามสกุลจะอยู่ในลำดับแรก ส่วนนามสกุลของไทยจะอยู่เป็นลำดับสุดท้ายเหมือนทางตะวันตก ในบางวัฒนธรรม จะใช้นามสกุลในการเรียกขานในโอกาสที่เป็นทางการ เช่น บารัก โอบามา (Barack Obama) จะถูกเรียกว่า คุณโอบามา (Mr. Obama) ไม่ใช่ คุณบารัก เป็นต้น.

ใหม่!!: อักษรละตินและนามสกุล · ดูเพิ่มเติม »

นานจีโตะ

นานจีโตะ (နန်းကြီးသုပ်‌, อักษรโรมัน: nan gyi thohk, nangyi thoke หรือ nangyi thohk) เป็นอาหารประเภทยำของพม่า ใช้เส้นก๋วยเตี๋ยวที่ทำจากข้าวหรือขนมจีน โดยเป็นขนมจีนเส้นใหญ่แบบขนมจีนไหหลำ เป็นอาหารพื้นเมืองของมัณฑะเลย์ กินกับแกงไก่ที่ใส่ผงมะสะหล่า โดยตักแกงราดลงในชามขนมจีน ใส่เครื่องปรุงอื่นๆ ได้แก่หอมเจียว ต้นหอม ผงถั่วหัวช้าง ผักชี ไข่ต้ม บีบมะนาว.

ใหม่!!: อักษรละตินและนานจีโตะ · ดูเพิ่มเติม »

นิวกันดั้ม

RX-93 นิวกันดั้ม (ν Gundam) เป็นโมบิลสูทตัวเอกในภาพยนตร์การ์ตูนญี่ปุ่น อะนิเมะเรื่อง โมบิลสูทกันดั้ม: ชาร์ เคาน์เตอร์ แอทแทค อันเป็นตอนหนึ่งในภาพยนตร์ชุดกันดั้ม ออกแบบโดยยูทากะ อิซุบุจิ คำว่านิวในชื่อของนิวกันดั้มเป็นอักษรกรีก (ν) ซึ่งดูคล้ายกับอักษรโรมันตัววี (v) นิวกันดั้มเป็นโมบิลสูทประจำตัวของอามุโร่ เรย์ ซึ่งใช้งานในสงครามนีโอซีอ้อนครั้งที่สองในการหยุดฐานดาวเคราะน้อยแอ็กซิสไม่ให้พุ่งชนโลก เดิมทีเป็นโมบิลสูทที่อามุโร่ เรย์ออกแบบมาเพื่อใช้รับมือกับ MSN-04 ซาซาบี ของชาร์ อัซนาเบิ้ล แต่เนื่องจากแอนาไฮม์อิเล็กทรอนิกส์ (ผู้ผลิต) เพิ่งจะได้ตัวอย่างของไซโคเฟรมซึ่งมีเทคโนโลยีไซคอมมิว (Psycommu.

ใหม่!!: อักษรละตินและนิวกันดั้ม · ดูเพิ่มเติม »

นูน

นูน (Nun) เป็นอักษรตัวที่ 14 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรูנ‎ และอักษรอาหรับ ﻥ‎ และเป็นอักษรตัวที่สามของอักษรทานะ (ނ)- มีชื่อว่านูนุ แทนด้วยสัทอักษร: อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก (Ν), อักษรอีทรัสคัน ̍, อักษรละติน N, และอักษรซีริลลิก Н คาดว่านุนมาจากอักษรภาพรูปงู (คำว่างูในภาษาฮีบรู, nachash เริ่มด้วยนุน และคำว่างูในภาษาอราเมอิกคือ nun) หรือปลาไหล แต่บางกลุ่มเชื่อว่ามาจากไฮโรกลิฟฟิกของอียิปต์รูปปลาในน้ำ (ในภาษาอาหรับ, nūn หมายถึงปลาหรือวาฬ).

ใหม่!!: อักษรละตินและนูน · ดูเพิ่มเติม »

นีโครโนมิคอน

นีโครโนมิคอนจำลอง นีโครโนมิคอน (อักษรละติน: Necronomicon)เป็นตำราเวทย์สมมุติที่ปรากฏในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์และถูกหยิบยืมไปอ้างถึงโดยนักประพันธ์อื่นๆ โดยปรากฏครั้งแรกในเรื่องสั้น The Hound ซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในปีพ.ศ. 2467 แต่หนึ่งปีก่อนหน้านั้น เลิฟคราฟท์ก็ได้อ้างคำพูดของตัวละคร อับดุล อัลฮาเซรด ซึ่งเป็นผู้แต่งนีโครโนมิคอนไว้แล้วในเรื่อง The Nameless City เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้นั้นมีเรื่องราวของเกรทโอลด์วันและพิธีกรรมที่ใช้อัญเชิญอยู่ด้วย นักประพันธ์คนอื่นๆ เช่นออกัสต์ เดอเลธและคลาก แอชตัน สมิทได้ยืมเอานีโครโนมิคอนไปอ้างถึงในงานเขียนของตนเอง โดยได้รับการสนับสนุนจากเลิฟคราฟท์ซึ่งคิดว่าการยกมาใช้ร่วมกันนี้จะทำให้บรรยากาศของเรื่องสมจริงยิ่งขึ้น ทำให้มีผู้อ่านจำนวนมากเข้าใจผิดว่าหนังสือเล่มนี้มีจริง มีการสั่งซื้อหรือขอนีโครโนมิคอนผ่านทางผู้ขายหนังสือและบรรณารักษ์เป็นจำนวนมาก บางครั้งก็มีการแกล้งใส่ชื่อนีโครโนมิคอนไว้ในรายการหนังสือหายาก และเคยมีนักศึกษาแอบใส่บัตรของนีโครโนมิคอนไว้ในบัตรห้องสมุดของมหาวิทยาลัยเยล หลังจากที่เลิฟคราฟท์เสียชีวิตไปแล้ว สำนักพิมพ์ต่างๆก็ได้ตีพิมพ์หนังสือโดยใช้ชื่อว่านีโครโนมิคอนเป็นจำนวนมาก หนังสือรวมงานศิลป์เล่มแรกของเอช อาร์ กีเกอร์ก็ใช้ชื่อว่านีโครโนมิคอน.

ใหม่!!: อักษรละตินและนีโครโนมิคอน · ดูเพิ่มเติม »

นครราช

นครราช (នគររាជ นครราช) เป็นชื่อของเพลงชาติกัมพูชาที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้ มีความหมายว่า "เมืองของพระเจ้าแผ่นดิน" ทำนองของเพลงประพันธ์ขึ้นโดยอาศัยทำนองของเพลงเขมรโบราณที่มีชื่อเดียวกันเมื่อ พ.ศ. 2481 โดยพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสุรามฤต (เมื่อครั้งยังเป็นกรมขุนวิสุทธิ์ขัตติยวงศ์นโรดมสุรามฤต) ร่วมกันกับครูเพลงชาวฝรั่งเศส 2 คน คือ F. Perruchot และ J. Jekyll ส่วนเนื้อร้องประพันธ์ขึ้น ภายหลังการราชาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสีหนุเสร็จสิ้นไปได้ไม่เกิน 3 เดือน (ราชาภิเษกเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) และสำเร็จเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 โดยสมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ชวน ณาต โชตญาโณ) สมเด็จพระสังฆราชในคณะสงฆ์มหานิกาย แต่ครั้งยังเป็นสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ เพลงนครราชเริ่มใช้เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2484 ในฐานะเพลงสรรเสริญพระบารมี (Royal anthem) และเริ่มใช้เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการ เมื่อประเทศกัมพูชาประกาศเอกราชจากฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2496 ต่อมาใน พ.ศ. 2512 เมื่อนายพลลน นลล้มรัฐบาลของสมเด็จเจ้านโรดมสีหนุ และสถาปนาสาธารณรัฐเขมรขึ้นแทนที่ เพลงนครราชจึงถูกยกเลิกฐานะของเพลงชาติไป ต่อมาเมื่อรัฐบาลสาธารณรัฐเขมรล่มสลายในปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและนครราช · ดูเพิ่มเติม »

แอสกี

ตัวอย่างอักขระแอสกี จากรหัส 32 ถึง 126 แอสกี้(ASCII) หรือ รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ (ASCII: American Standard Code for Information Interchange) เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65 (เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (A) พิมพ์ใหญ่ เป็นต้น.

ใหม่!!: อักษรละตินและแอสกี · ดูเพิ่มเติม »

แผนภาพเวนน์

'''แผนภาพเวนน์''' แสดงตัวเขียนพิมพ์ใหญ่ที่ใช้ร่วมกันระหว่างอักษรกรีก อักษรละติน และ อักษรรัสเซีย แผนภาพเวนน์ หรือ แผนภาพเซต เป็นแผนภาพที่แสดงความเกี่ยวเนื่องเชิงตรรกศาสตร์ทั้งหมดระหว่างเซตจำนวนจำกัด จอห์น เวนน์ คิดแผนภาพเวนน์ขึ้นราวปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและแผนภาพเวนน์ · ดูเพิ่มเติม »

แทมมารีน ธนสุกาญจน์

ร.ต.ท.หญิง แทมมารีน ธนสุกาญจน์ (โรมัน: Tamarine Tanasugarn; ชื่อเล่น: แทมมี่; เกิด: 24 พฤษภาคม 2520 —) เป็นนักเทนนิสหญิงมือ 9 ของไทย และอันดับที่ 697 ของโลก อดีตนักเทนนิสมือ 1 ของไทย และเคยมีอันดับโลกสูงสุดอันดับ 19 เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..

ใหม่!!: อักษรละตินและแทมมารีน ธนสุกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นตอสคานา

ตอสคานา (Toscana) หรือ ทัสกานี (Tuscany) เป็นแคว้นหนึ่งของประเทศอิตาลี มีเมืองฟลอเรนซ์ (ฟีเรนเซ) เป็นเมืองหลัก มีเนื้อที่ทั้งหมด 22,990 ตารางกิโลเมตร และมีผู้คนอาศัยอยู่ 3.6 ล้านคน แคว้นตอสคานามีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม (เนื่องจากเป็นที่กำเนิดของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา) สถาปัตยกรรม ศาสนา วัฒนธรรม และอุตสาหกรรม (เนื่องจากมีโรงงานผลิตเสื้อผ้า เสื้อนุ่งห่ม เครื่องหนังจำนวนมาก) ของประเทศอิตาลี แคว้นแห่งนี้เองที่เป็นที่ตั้งของหอเอนเมืองปิซาอันโด่งดัง นอกจากนี้ แคว้นตอสคานายังขึ้นชื่อว่ามีทิวทัศน์งดงามมาก และมีไวน์รสชาติดีเยี่ยม ภาษาอิตาลีที่พูดกันในแคว้นตอสคานาเป็นที่ยอมรับว่าเป็นการพูดแบบชาวอิตาลีโดยแท้จริงและยอมรับให้เป็นสำเนียงราชการ สำหรับชื่อแคว้น ชาวอิตาลีเรียกชื่อแคว้นนี้ว่า "ตอสคานา" แต่ภาษาอังกฤษเรียกชื่อแคว้นนี้ว่า "ทัสกานี" ในภาษาอื่น ๆ ก็มีชื่อเรียกต่างกันไปอีก เช่น ภาษาฝรั่งเศสเรียกว่า Toscane ในภาษาละตินเรียกว่า Toscia เป็นต้น.

ใหม่!!: อักษรละตินและแคว้นตอสคานา · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมประชาธิปไตยแห่งชาติโบโดแลนด์

งของ'''แนวร่วมประชาธิปไตยแห่งชาติโบโดแลนด์ แนวร่วมประชาธิปไตยแห่งชาติโบโดแลนด์ (National Democratic Front of Bodoland; NDFB) เป็นองค์กรทางทหารที่ต่อสู้เพื่อแยกดินแดนโบโดแลนด์สำหรับชาวโบโดจากรัฐอัสสัม ผู้นำกลุ่มคือ รันไซกระ นาบลา ไดมารี หรือฉายา รันจัน ไดมารี จัดเป็นองค์กรก่อการร้ายและรัฐบาลอินเดียพยายามเจรจาสงบศึกกับองค์กรนี้.

ใหม่!!: อักษรละตินและแนวร่วมประชาธิปไตยแห่งชาติโบโดแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

แนวลาวฮักซาด

แนวลาวฮักซาด (ภาษาลาว อักษรลาว: ແນວລາວຮັກຊາດ, อักษรโรมัน: Neo Lao Hak Sat; ภาษาอังกฤษ: Lao Patriotic Front) ก่อตั้งเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2499 โดยอยู่ในสถานะของพรรคประชาชนลาว เพื่อเป็นแนวร่วมของขบวนการปะเทดลาว มีเจ้าสุพานุวงเป็นผู้นำ มีสถานะเป็นพรรคการเมืองในช่วงเวลาดังกล่าว ประสบความสำเร็จในการเลือกตั้งแห่งชาติ ซึ่งส่งผลให้มีความแตกแยกระหว่างลาวฝ่ายซ้ายและลาวฝ่ายขวามากขึ้น แนวลาวฮักซาดเป็นองค์กรที่ถูกควบคุมโดยพรรคประชาชนปฏิวัติลาว ดำรงอยู่จนถึง พ.ศ. 2522 จึงถูกแทนที่ด้วยแนวลาวส้างซ.

ใหม่!!: อักษรละตินและแนวลาวฮักซาด · ดูเพิ่มเติม »

โร

โร (rho; ρω, ρο, ตัวใหญ่ Ρ, ตัวเล็ก ρ หรือ ϱ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 17 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 100 สำหรับอักษรรูปนี้ ϱ จะถูกใช้เมื่อต้องการแยกแยะความแตกต่างออกจากอักษรละติน p รโร.

ใหม่!!: อักษรละตินและโร · ดูเพิ่มเติม »

โรมัน

รมัน อาจหมายถึง;ประวัติศาสตร.

ใหม่!!: อักษรละตินและโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

โรมาจิ

รมาจิ เป็นอักษรโรมันที่ใช้ในภาษาญี่ปุ่นในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นใช้ คานะและคันจิเป็นหลัก โรมาจิเป็นวิธีที่นิยมสำหรับบุคคลที่ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่นเรียนภาษาญี่ปุ่น และยังเป็นที่นิยมในการพิมพ์ข้อมูลภาษาญี่ปุ่นลงในคอมพิวเตอร์ โดยการพิมพ์บนคีย์บอร์ดเป็นโรมาจิและคอมพิวเตอร์แสดงผลเป็นภาษาญี่ปุ่นตัวอักษรแบบต่าง ๆ โรมาจิเริ่มเป็นที่นิยมตั้งแต่สมัยสงครามโลก ซึ่งเริ่มเรียนตั้งแต่ระดับประถมศึกษา สำหรับการเขียนและการอ่านโรมาจิ โรมาจิในปัจจุบันมีอยู่ 3 ระบบ ได้แก่ นิฮงชิกิ (日本式) แบบดั้งเดิม, คุงเรชิกิ (訓令式) แบบที่ดัดแปลงจากนิฮงชิกิ และเฮ็ปเบิร์นหรือเฮบงชิกิ (ヘボン式) แบบปรับปรุงพัฒนาตามการออกเสียงจริง ซึ่งเป็นที่นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน ตัวอย่างของการทับศัพท์แบบต่าง.

ใหม่!!: อักษรละตินและโรมาจิ · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์

อรมนี สมัยปี พ.ศ. 2501 โทรทัศน์ เป็นระบบโทรคมนาคมสำหรับการกระจายและรับภาพเคลื่อนไหวและเสียงระยะไกล คำนี้ยังหมายถึงรายการโทรทัศน์และการแพร่ภาพอีกด้วย คำว่าโทรทัศน์ในภาษาไทย มีที่มาจากคำในภาษาอังกฤษ คือ television ซึ่งเป็นคำผสมจากคำกรีก tele- ("ระยะไกล" — โทร-) และ -vision ที่มาจากภาษาละติน visio ("การมองเห็น" — ทัศน์) มักเรียกย่อเป็น TV (ทีวี) เครื่องรับโทรทัศนขาว-ดำเครื่องแรกของโลก สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1925 โดยเป็นผลงานการประดิษฐ์ของจอห์น โลจี เบร์ด ชาวสกอตแลน.

ใหม่!!: อักษรละตินและโทรทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

โคลงโลกนิติ

ลงโลกนิติ เป็นวรรณกรรมประเภทคำสอน ในลักษณะของโคลงสุภาษิต คำว่า โลกนิติ (อ่านว่า โลก-กะ-นิด) แปลว่า ระเบียบแบบแผนแห่งโลก เนื้อหาในโคลงโลกนิติจึงมุ่งแสดงความจริงของโลกและสัจธรรมของชีวิต เพื่อให้ผู้อ่านได้รู้เท่าทันต่อโลก และเข้าใจในความเป็นไปของชีวิต พร้อมเป็นแม่แบบเพื่อให้ผู้อ่านได้ดำเนินชีวิตไปในทางที่ถูกต้องดีงามสืบไป โคลงโลกนิติมีความไพเราะเหมาะสมทั้งด้านรูปแบบและเนื้อหาปรัชญาสาระ ครบคุณค่าทางวรรณกรรม ทำให้เป็นที่แพร่หลายในหมู่คนทั่วไป บางท่านกล่าวยกย่องโคลงโลกนิติว่าเป็น อมตะวรรณกรรมคำสอน หรือ ยอดสุภาษิตอมตะ, ได้รับคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นบทอ่านในหนังสือแบบเรียนสำหรับนักเรียนนักศึกษาอยู่ทุกยุคสมัย และได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน.

ใหม่!!: อักษรละตินและโคลงโลกนิติ · ดูเพิ่มเติม »

โซคคาร์ ดูคาเยฟ

ซคคาร์ ดูคาเยฟ (อักษรละติน: Dzhokhar Dudaev; อักษรซีริลลิก: Джоха́р Муса́евич Дуда́ев) (15 เมษายน ค.ศ. 1944 - 21 เมษายน ค.ศ. 1996 เกิดที่หมู่บ้าน ยอฮาริ (Yalkhori) หมู่บ้านเล็กๆแห่งหนึ่งใน เชชเนีย ตอนเด็กเขาและครอบครัวและประชาชาชนในแถบ คอเคซัค หลายล้านคนต้องย้ายไปอยู่ ที่ คาซัตสถาน ตามคำสั่งของ สตาลิน (ผู้นำ สหภาพโซเวียต ขณะนั้น) หลังจากใช้ชีวิต 13 ปีอยู่ที่นั้น เขาก็ได้กลับมา เชชเนียอีกครั้ง เขาเรียนจบสาขา ช่างไฟฟ้าจาก รร.Chencheno-Ingushetia ก่อนไปเรียนต่อ สถาบันฝึกการบินชั้นสูง Tambov ในปี 1966 เขากรอกใบสมัครว่าเป็น คน ของแคว้น Ossetian เพื่อหลีกเลี่ยงการแบ่งแยกคนเชื้อสายเชเชน เขาทำงานในแผนก heavy bomber ประจำอยู่ที่ ไซบีเรีย และยูเครน ในปี 1971 เขาได้เข้าเรียนต่อในสถาบันการบิน Gagarin หลังจบตำแหน่งเขาก็เลื่อนขึ้นอย่างรวดเร็วจนได้เป็น พลตรี ควบคุมหน่วย ยุทธศาตร์การบินของกองทัพ ใน Estonia ในช่วง 1989 กระแสการเรียกร้องเอกราช รุนแรงมากจนประชาชนแห่กันออกมาตามท้องถนน ทาง Moscow สั่งให้ ดูดาเยฟ ใช้กำลังจัดการกับฝูงชนแต่ ดูดาเยฟ ปฏิเสธ ในปี 1990 Estonia ประกาศแยกตัวออกจาก สหภาพโซเวียต ดูดาเยฟ ได้ถูกส่งกลับ Grozny ในปีนั้น เพื่อเป็นเกียรติ์แต่ ดูดาเยฟ ได้มีการตั้งชื่อห้องพักในโรงแรมที่ ดูดาเยฟ นั่งสั่งการในช่วงนั้นว่า Dudaev suit ซึ่งยังมีอยู่จนถึงปัจจุบันนี้.

ใหม่!!: อักษรละตินและโซคคาร์ ดูคาเยฟ · ดูเพิ่มเติม »

โน้ตดนตรี

น้ต ''เอ'' หรือ ''ลา'' โน้ต ในทางดนตรี มีความหมายได้สองทาง หมายถึง สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการนำเสนอระดับเสียง และความยาวของเสียง หรือหมายถึงตัวเสียงเองที่เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์เหล่านั้น โน้ตดนตรีแต่ละเสียงจะมีชื่อเรียกประจำของมันเองในแต่ละภาษา เช่น โด-เร-มี-ฟา-ซอล-ลา-ที บางครั้งอาจเขียนอักษรละติน A ถึง G แทนโน้ตดนตรี.

ใหม่!!: อักษรละตินและโน้ตดนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ไวยากรณ์ภาษาเปอร์เซีย

วยากรณ์ภาษาเปอร์เซียมีลักษณะเช่นเดียวกับภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียนอื่นๆ คือเป็นภาษาที่มีการผันคำ.

ใหม่!!: อักษรละตินและไวยากรณ์ภาษาเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

ไอ

อาการไอ ไอ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อักษรละตินและไอ · ดูเพิ่มเติม »

ไทป์เฟซ

ตัวอย่างการทดสอบการพิมพ์ไทป์เฟซด้วยขนาดและภาษาต่างๆ ไทป์เฟซ หรือ ฟอนต์ หรือในชื่อไทยว่า ชุดแบบอักษร (typeface หรือ font) คือชุดของรูปอักขระ (glyph) ที่ได้รับการออกแบบไว้อย่างเป็นเอกภาพด้วยรูปแบบเฉพาะตัว ไทป์เฟซอาจประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมายวรรคตอน และอาจรวมไปถึงอักษรภาพ (ideogram) เช่นอักษรจีนหรือสัญลักษณ์ต่างๆ เช่นสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์หรือทางเทคน.

ใหม่!!: อักษรละตินและไทป์เฟซ · ดูเพิ่มเติม »

ไซคลอปส์

ไซคลอปส์ ไซคลอปส์ (กรีก: Κύκλωψ; ละติน: Cyclops หรือ Kyklops) หรือ อสูรตาเดียว เป็นสัตว์ประหลาดในตำนานกรีก ชื่อไซคลอปส์ถูกใช้ระบุถึงยักษ์ตาเดียวสองชนิด โดยชนิดแรกเป็นลูกของเจ้านภา อูรานอสและพระแม่ธรณี ไกอา ซึ่งไซครอปส์จำพวกนี้มีเด่นๆ 3 ตน คือ อาจีรอส บรอนทีส และสเตอร์โรพีท มักจะถือค้อนอันใหญ่ มีพลังแห่งสายฟ้า และมีฝีมือในด้านช่างเหล็ก ไซคลอปส์กลุ่มนี้ถูกยูเรนัสกักขังไว้ในทาทารัส จนกระทั่งซุสปลดปล่อยออกมาหลังจากที่โค่นโครนัสผู้เป็นบิดา ซึ่งไซคลอปส์ได้ตอบแทนโดยตีอาวุธต่างๆให้เหล่าเทพ ได้แก่ สายฟ้าให้แก่ ซุส สามง่าม ให้แก่ โพไซดอน หมวกล่องหน ให้แก่ ฮาเดส และเหล่าไซคลอปส์ได้เป็นลูกมือของเทพแห่งช่างเหล็กเฮฟเฟสตุสในเวลาต่อมา จนกระทั่งถูกอพอลโลสังหารเพื่อล้างแค้นให้แอสคิวลาปิอัสที่ถูกซุสใช้สายฟ้าฟาด ไซคลอปส์กลุ่มที่สองเป็นลูกหลานของโพไซดอนและพรายน้ำโทซา ไซคลอปส์กลุ่มนี้กินมนุษย์เป็นอาหาร โดยมีบทบาทในเรื่องโอดิสซีย์ ไซคลอปส์มีความนิยมมากเหมือนกัน เช่นไซคลอปส์ในการ์ตูน ไซคลอปส์ในเกม หรือในนวนิยาย หมวดหมู่:สัตว์ประหลาด.

ใหม่!!: อักษรละตินและไซคลอปส์ · ดูเพิ่มเติม »

เพ (ตัวอักษร)

เพ (Pe) เป็นอักษรตัวที่ 17 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู פ‎ และอักษรอาหรับ ف (ฟาอ์) ใช้แทนเสียงไม่ก้อง เกิดจากริมฝีปาก ไม่มีลม: IPA อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก Pi (Π), อักษรละติน P, และอักษรซีริลลิก Pe จุดกำเนิดมาจากอักษรภาพรูปปาก (ภาษาฮีบรู pe; ภาษาอาหรับ, fem) พเพ en:Pe (letter)#Arabic fāʼ.

ใหม่!!: อักษรละตินและเพ (ตัวอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติมัลดีฟส์

ลงชาติสาธารณรัฐมัลดีฟส์ เรียกชื่อในภาษาท้องถิ่นว่า "กวามี ซาลาม" (ޤައުމީ ސަލާމް, อักษรโรมัน: Qaumee Salaam, แปลตามตัวว่า เพลงคารวะชาติ) ประพันธ์เนื้อร้องโดย มูฮัมหมัด จาเมเอล ดีดี (Muhammad Jameel Didi) เมื่อ พ.ศ. 2491 ทำนองประพันธ์ขึ้นในปี พ.ศ. 2515 โดย บัณฑิต วัณณกุวัตตาวาดูเก ดอน อมระเทวา (Pandit Wannakuwattawaduge Don Amaradeva) มาเอสโตรชาวศรีลังกา เนื้อหาของเพลงนี้ กล่าวถึงการประกาศด้วยความภาคภูมิของชาวมัลดีฟส์ต่อเอกภาพของชาติ ความศรัทธาต่อศาสนาอิสลามอันเป็นศาสนาประจำชาติ ชัยชนะจากการต่อสู้ในอดีต และแสดงความคารวะต่อบรรดาวีรบุรุษของชาติ ในตอนท้ายเพลงเป็นการกล่าวอวยพรต่อความเจริญรุ่งเรืองของชาติและเหล่าผู้นำที่คอยรับใช้มาตุภูม.

ใหม่!!: อักษรละตินและเพลงชาติมัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย (Հայկական ՍՍՀ օրհներգ) เป็นเพลงชาติของอาร์มีเนียสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: อักษรละตินและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก (Ўзбекистон Совет Социалист Республикасининг давлат мадҳияси) เป็นเพลงชาติของอุซเบกิสถานสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: อักษรละตินและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน (Гимн Туркменской ССР) เป็นเพลงชาติของเติร์กเมนิสถานสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: อักษรละตินและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน · ดูเพิ่มเติม »

เพลงตัวอักษรของภาษาอังกฤษ

ลงตัวอักษรของภาษาอังกฤษ หรือ เพลง A-B-C เป็นเพลงที่นิยมใช้เป็นเครื่องมือช่วยสอนในการสอนเด็ก ในการท่องจำตัวอักษรละติน หรือตัวอักษรในภาษาอังกฤษ เพลงนี้จดลิขสิทธิ์โดย ซี.

ใหม่!!: อักษรละตินและเพลงตัวอักษรของภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เกรฟแอกเซนต์

กรฟแอกเซนต์ (grave accent) เรียกย่อว่า เกรฟ (grave) เป็นเครื่องหมายเสริมสัทอักษรชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นขีดเล็ก ๆ เฉียงลงขวาอยู่เหนืออักษร (`) ใช้เขียนกำกับอักษรละตินเพื่อใช้ในภาษาต่าง ๆ อาทิ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี ภาษาดัตช์ ภาษาโปรตุเกส ภาษานอร์เวย์ ภาษาเวียดนาม ฯลฯ กำกับอักษรกรีกในภาษากรีก (ใช้จนถึง ค.ศ. 1982) หรือใช้กำกับอักษรอื่น ๆ ด้วยจุดประสงค์ที่แตกต่างกันไป ทั้งการเปลี่ยนระดับเสียง การแปรเสียง การเน้นเสียง หรือการแยกแยะคำ เป็นต้น คำว่า grave มาจากภาษาละติน gravis แปลว่า หนัก ในภาษาอังกฤษมีการอ่านว่า กราฟ เพิ่มเข้ามาเพื่อให้แตกต่างจากคำว่า grave เกรฟ ที่แปลว่า ร้ายแรง หรือหลุมศพ ซึ่งเลียนแบบมาจากภาษาฝรั่งเศส accent grave อักซอง กราฟ แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์มีแป้นเกรฟอยู่บริเวณมุมบนซ้ายของผัง บางภูมิภาคใช้ร่วมกับแป้นตาย (dead key) เพื่อประสมกับอักษร บางภูมิภาคใช้เพื่อสลับภาษาป้อนเข้า (คนไทยเรียก "ปุ่มตัวหนอน" ซึ่งเป็นปุ่มเดียวกับทิลเดอ) วงการโปรแกรมเมอร์เรียกเครื่องหมายนี้ว่า แบ็กโควต (back quote) หรือแบ็กทิก (backtick) ในยูนิโคดมีทั้งรูปแบบเดี่ยว (U+0060 `) และตัวผสาน (U+0300 ◌̀).

ใหม่!!: อักษรละตินและเกรฟแอกเซนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เมร์ ไฮเรนิก

มร์ ไฮเรนิก (Մեր Հայրենիք; อักษรโรมัน: Mer Hayrenik; แปลว่า ปิติภูมิของเรา) เป็นชื่อเพลงชาติแห่งประเทศอาร์มีเนียในปัจจุบัน ซึ่งเริ่มใช้มานับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 โดยประกาศใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรกในสมัยของสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาร์มีเนีย (พ.ศ. 2461 - 2465) ซึ่งมีชื่อและทำนองเดียวกัน แต่ใช้เนื้อร้องต่างกัน เนื้อร้องเดิมเป็นบทกวีซึ่งประพันธ์โดยมิคาเอล นาลาบาเดียน (Mikael Nabandian, พ.ศ. 2372 - 2409) ภายหลังจึงมีการแต่งทำนองประกอบโดยบาร์เซกค์ คานาชยาน (Barsegh Kanachyan, พ.ศ. 2428 - 2510).

ใหม่!!: อักษรละตินและเมร์ ไฮเรนิก · ดูเพิ่มเติม »

เม็ม

เม็ม (Mem บางครั้งสะกดเป็น Meem หรือ Mim) เป็นอักษรตัวที่ 13 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู מ‎ และอักษรอาหรับ ﻡ‎ สัทอักษรคือ: อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก Mu (Μ), อักษรอีทรัสคัน ̌, อักษรละติน M, และอักษรซีริลลิก М คาดว่ามีมมาจากอักษรไฮโรกลิฟของอียิปต์รูปน้ำ ที่ทำให้ง่ายขึ้นในอักษรฟินิเชีย และตั้งชื่อด้วยคำว่าน้ำ, mem (mayim ในภาษาฮีบรูสมัยใหม่และ, mye ในภาษาอาหรับ) มเม็ม ar:م fa:م ja:م ko:م ur:م wuu:م.

ใหม่!!: อักษรละตินและเม็ม · ดูเพิ่มเติม »

เรช

เรช (Resh) เป็นอักษรตัวที่ 20 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู (ר) และอักษรอาหรับ (ﺭ‎; รออ์) ใช้แทนเสียงรัวลิ้น (rhotic consonants; สัทอักษรสากล หรือ) แต่ในภาษาฮีบรู จะใช้แทนเสียง และ ด้วย รูปร่างของอักษรนี้ในอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่จะคล้ายกับตัวดาล อักษรซีเรียคใช้ตัวเดียวกัน แยกจากกันโดยใช้จุด r มีจุดอยู่ข้างบน ส่วน d มีจุดอยู่ข้างล่าง อักษรอาหรับ ﺭ‎ มีหางยาวกว่า ﺩ‎ ส่วนในอักษรอราเมอิก และอักษรฮีบรู ที่เป็นอักษรทรงเหลี่ยม ר เป็นขีดทรงโค้งอันเดียว ส่วน ד เป็นขีด 2 ขีดทำมุมกัน อักษรนี้มาจากไฮโรกลิฟรูปหัว (ฮีบรู rosh; อาหรับ ra's) ตัวนี้ภาษาเซมิติกตะวันออกเรียก riš ซึ่งอาจเป็นคำอ่านของอักษรรูปลิ่มในภาษาอัคคาเดีย อักษรฟินิเชียที่ใช้แทนเสียงนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก “Ρ” อักษรละติน “R” และอักษรซีริลลิก “ Р” รเรช ar:ر fa:ر ms:Ra (huruf Arab).

ใหม่!!: อักษรละตินและเรช · ดูเพิ่มเติม »

เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์

รือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ เป็นหนึ่งในเรือพระที่นั่ง และพระราชพิธี กระบวนพยุหยาตราชลมารค เป็นเรือที่ถือว่ามีความสำคัญอย่างมาก ในปัจจุบันจัดแสดงอยู่ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี ปากคลองบางกอกน้อย เขตบางกอกน้อ.

ใหม่!!: อักษรละตินและเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช

รือพระที่นั่งอนันตนาคราช เป็นเรือพระที่นั่งบัลลังก์ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ลำปัจจุบันมีการสร้างใหม่ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สำเร็จเมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2457 ลำเรือภายนอกทาสีเขียว ท้องเรือภายในทาสีแดง ยาว 42.95 เมตร กว้าง 2.95 เมตร ลึก 0.76 เมตร กินน้ำลึก 0.31 เมตร ฝีพาย 54 คน นายท้าย 2 คน นายเรือ 2 คน คนถือธงท้าย 1 คน พลสัญญาณ 1 คน คนเห่เรือ 1 คน โขนเรือเป็น "พญาอนันตนาคราช" หรือนาค 7 เศียร โดยปกติจะใช้เป็นเรือพระที่นั่งรอง หรือเรือเชิญผ้าพระกฐิน หรือประดิษฐานบุษบกสำหรับพระพุทธรูปสำคัญ นับเป็นเรือพระที่นั่งที่มีความงดงามอีกลำหนึ่ง อนึ่ง เคยมีการพิมพ์รูปเรือพระที่นั่งอนันตนาคราชด้านหลังธนบัตร 20 บาท โดยจัดพิมพ์และใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2514 ปัจจุบันเลิกพิมพ์แล้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและเรือพระที่นั่งอนันตนาคราช · ดูเพิ่มเติม »

เรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์

รือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์ เป็นเรือพระที่นั่งรอง ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค ลักษณะเด่นคือมีโขนเรือเชิดเรียว ไม่ได้สร้างเป็นรูปสัตว์ในตำนาน แต่จำหลักและปิดทองเป็นรูปพญานาคจำนวนมาก จึงได้ชื่อว่า อเนกชาติภุชงค์ (อเนก หมายถึง จำนวนมาก, ชาติภุชงค์ หมายถึง พญานาค).

ใหม่!!: อักษรละตินและเรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์ · ดูเพิ่มเติม »

เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9

รือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9 เป็นเรือพระที่นั่งกิ่งประเภทเรือรูปสัตว์ หนึ่งในเรือพระราชพิธี ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค จัดสร้างขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาส พระราชพิธีกาญจนาภิเษก แห่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2539 โดย กองทัพเรือ ร่วมกับ กรมศิลปากร ได้นำ โขนเรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ ที่สร้างขึ้น ในสมัยรัชกาลที่ 3 และ รัชกาลที่ 4 มาเป็นต้นแบบ โดยกองทัพเรือ สร้างในส่วนที่เป็นโครงสร้างเรือ พาย และคัดฉาก ส่วนกรมศิลปากร ดำเนินการในงานที่เกี่ยวกับ ศิลปกรรมของเรือทั้งหม.

ใหม่!!: อักษรละตินและเรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

เรือพาลีรั้งทวีป

รือพาลีรั้งทวีป เป็นเรือรูปสัตว์ในประเภทเรือเหล่าแสนยากร เป็นหนึ่งในเรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราชลมารค จัดเป็นเรือกระบวนปิดทอง ไม่พบหลักฐานที่สร้าง โขนเรือเป็นรูปพาลีปิดทองประดับกระจกภายในสีแดง ภายนอกทาสีดำ เขียนลวดลายดอกพุตตานสีทอง เรือยาว 27.54 เมตร กว้าง 1.99 เมตร ลึก 0.59 เมตร กินน้ำลึก 0.31 เมตร หัวเรือกว้างมี รูกลมโผล่ทางหัวเรือสำหรับติดตั้งปืนใหญ่บรรจุทางปากกระบอกได้ 1 กระบอก ขนาดปากกระบอก 65 มม.

ใหม่!!: อักษรละตินและเรือพาลีรั้งทวีป · ดูเพิ่มเติม »

เรือกระบี่ราญรอนราพณ์

รือกระบี่ราญรอนราพณ์ เป็นเรือรูปสัตว์ในประเภทเรือเหล่าแสนยากร เป็นหนึ่งในเรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราชลมารค โขนเรือเป็นรูปขุนกระบี่สีดำปิดทองประดับกระจกภายในสีแดง ภายนอกทาสีดำ เขียนลวดลายดอกพุตตานสีทอง เรือยาว 26.8 เมตร กว้าง 2.02 เมตร ลึก 0.56 เมตร กินน้ำลึก 0.3 เมตร มีฝีพาย 36 คน นายท้าย 2 คน ปัจจุบันเก็บรักษาที่โรงเรือท่าวาสุกรี.

ใหม่!!: อักษรละตินและเรือกระบี่ราญรอนราพณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เรือกระบี่ปราบเมืองมาร

รือกระบี่ปราบเมืองมาร เป็นเรือพระราชพิธี ชนิดหนึ่งหน้ามีลักษณะเหมือนรูปโขน ลำเดิมเป็นเรือพื้นดำ ยาว 13 วา 2 ศอก 1 คืบ กว้าง 4 ศอก ลึก 1 ศอก กำลัง 5 ศอก 4 นิ้ว ลำเดิมถูกระเบิดเสียหาย กรมศิลปากรเก็บหัวเรือท้ายเรือไว้ ในพิพิธภัณฑ์เมื่อปี พ.ศ. 2591 ส่วนลำปัจจุบันสร้างใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2510 โดยใช้หัวเรือเดิมนำมาซ่อมแซม ช่างแกะสลักลวดลายทำงานประมาณ 12 เดือน ช่างรักทำงานประมาณ 4 เดือน ช่างเขียนทำงานประมาณ 6 เดือน ช่างปิดทองและประดับกระจกทำงานประมาณ 4 เดือน น้ำหนัก 5.62 ตัน ยาว 26.80 เมตร กว้าง 2.10 เมตร ลึก 0.51 เมตร กินน้ำลึก 0.25 เมตร ฝีพาย 36 นาย นายท้าย 2 นาย หัวเรือมีช่องสำ หรับติดตั้งปืนใหญ่ 1 กระบอก ขนาด 65 มม.

ใหม่!!: อักษรละตินและเรือกระบี่ปราบเมืองมาร · ดูเพิ่มเติม »

เรือสุครีพครองเมือง

รือสุครีพครองเมือง เป็นเรือรูปสัตว์ในประเภทเรือเหล่าแสนยากร เป็นหนึ่งในเรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราชลมารค โขนเรือเป็นรูปสุครีพปิดทองประดับกระจกภายในสีแดง ภายนอกทาสีดำ เขียนลวดลายดอกพุตตานสีทอง เรือยาว 27.45 เมตร กว้าง 1.39 เมตร ลึก 0.59 เมตร กินน้ำลึก 0.31 เมตร หัวเรือกว้างมี รูกลมโผล่ทางหัวเรือสำหรับติดตั้งปืนใหญ่บรรจุทางปากกระบอกได้ 1 กระบอก ขนาดปากกระบอก 65 มม.

ใหม่!!: อักษรละตินและเรือสุครีพครองเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงธนบุรี

รือหลวงธนบุรี เป็นเรือรบประเภทเรือปืนยามฝั่งของกองทัพเรือไทย ซึ่งมีบทบาทสำคัญในช่วงกรณีพิพาทอินโดจีน ก่อนที่ไทยเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สองอย่างเต็มตัวในปี พ.ศ. 2484.

ใหม่!!: อักษรละตินและเรือหลวงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เรืออสุรวายุภักษ์

รืออสุรวายุภักษ์ เป็นเรือรูปสัตว์ในประเภทเรือเหล่าแสนยากร เป็นหนึ่งในเรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราชลมารค เรืออสุรวายุภักษ์ โขนเรือเป็นรูปครึ่งยักษ์ครึ่งนก มีส่วนบนเป็นยักษ์ ส่วนล่างเป็นนกองค์เป็นสีม่วง ลักษณะและขนาดของเรือใกล้เคียงกับเรืออสุรปักษี การแต่งกายของผู้ประจำเรือ นายลำนุ่งปูม สวมเสื้อเข้มขาบ โพกขลิบทอง ปัจจุบันเก็บรักษาที่โรงเรือท่าวาสุกรี.

ใหม่!!: อักษรละตินและเรืออสุรวายุภักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เรืออสุรปักษี

รืออสุรปักษี เป็นเรือรูปสัตว์ในประเภทเรือเหล่าแสนยากร เป็นหนึ่งในเรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราชลมารค โขนเรือเป็นรูปครึ่งยักษ์ครึ่งนก มีส่วนบนเป็นยักษ์ส่วนล่างเป็นนกองค์เป็นสีเขียว ปิดทองประดับกระจก โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ภายนอกทาสีดำ เขียนลวดลายดอกพุตตานสีทอง การแต่งกายของผู้ประจำเรือ นายลำนุ่งปูม สวมเสื้อเข้มขาบ โพกขลิบทอง ปัจจุบันเก็บรักษาที่โรงเรือท่าวาสุกรี.

ใหม่!!: อักษรละตินและเรืออสุรปักษี · ดูเพิ่มเติม »

เรือทองบ้าบิ่น

รือทองบ้าบิ่น เป็นเรือประตูหน้า หนึ่งในสองของเรือคู่แรกในกระบวนพยุหยาตราชลมารค เรือลำเดิมไม่พบหลักฐานในการสร้าง ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ถูกลูกระเบิด ตัวเรือได้รับความเสียหาย กรมศิลปากรได้ตัดหัวเรือและท้ายเรือเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์ ในปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและเรือทองบ้าบิ่น · ดูเพิ่มเติม »

เรือทองขวานฟ้า

รือทองขวานฟ้า เป็นเรือประตูหน้า หนึ่งในสองของเรือคู่แรกในกระบวนพยุหยาตราชลมารค เรือลำเดิมไม่พบหลักฐานในการสร้าง ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ถูกลูกระเบิด ตัวเรือได้รับความเสียหาย กรมศิลปากรได้ตัดหัวเรือและท้ายเรือเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์ ในปี..

ใหม่!!: อักษรละตินและเรือทองขวานฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เรือครุฑเตร็จไตรจักร

รือครุฑเตร็จไตรจักร เป็นเรือรูปสัตว์ในประเภทเรือเหล่าแสนยากร เป็นหนึ่งในเรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราชลมารค ลำเดิมเป็นเรือพื้นดำยาว 13 วา 1 ศอก 1 คืบ กว้าง 3 ศอก 1 คืบ 6 นิ้ว ลึก 1 ศอก 9 นิ้ว กำลัง 5 ศอก 1 คืบ 7 นิ้ว ถูกระเบิดชำรุดกรมศิลปากรเก็บหัวเรือและท้ายเรือไว้ ลำปัจจุบันสร้างใหม่เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: อักษรละตินและเรือครุฑเตร็จไตรจักร · ดูเพิ่มเติม »

เรือเอกไชยหลาวทอง

รือเอกไชยหลาวทอง เป็นเรือคู่ชัก คู่กับเรือเอกไชยเหินหาว สำหรับใช้ช่วยชักลากเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ ในงานพระราชพิธี ลำปัจจุบันเป็นลำที่สอง ที่สร้างขึ้นทดแทนลำเดิม ที่ถูกระเบิดได้รับความเสียหายในสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อ..

ใหม่!!: อักษรละตินและเรือเอกไชยหลาวทอง · ดูเพิ่มเติม »

เรือเอกไชยเหินหาว

รือเอกไชยเหินหาวเป็นเรือประเภทเรือเอกขัยในลำดับชั้นของเรือพระที่นั่งในกระบวนพยุหยาตราชลมารค ซึ่งเกือบเทียบเท่าเรือพระที่นั่งกิ่ง ทำหน้าที่เป็นเรือคู่ชักใช้นำหน้าหรือชักลากเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ คู่กับเรือเอกไชยหลาวทองหรือสำหรับชักลากเรือพระที่นั่ง ในกรณีที่ฝีพายไม่เพียงพอ ปัจจุบันเก็บรักษาที่ พิพิธภัณฑสถานเรือพระราชพิธี คลองบางกอกน้อ.

ใหม่!!: อักษรละตินและเรือเอกไชยเหินหาว · ดูเพิ่มเติม »

เลขฐานสามสิบหก

ลขฐานสามสิบหก (Base 36) เป็นระบบเลขฐานที่มีสัญลักษณ์ 36 ตัว ประกอบไปด้วยเลข 0-9 และอักษรละติน A-Zโดยสัญลักษณ์เลข 0 - 9 มีค่าเท่ากับเลขศูนย์ถึงเลขเก้า และตัวอักษร A - Z มีค่าเท่ากับเลขสิบถึงเลขสามสิบห้.

ใหม่!!: อักษรละตินและเลขฐานสามสิบหก · ดูเพิ่มเติม »

เวทเทอร์เกิลส์

วทเทอร์เกิลส์ เป็นกลุ่มไอดอลญี่ปุ่นจากประเทศไต้หวัน ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2010 เดิมเป็นผู้ประกาศข่าวพยากรณ์อากาศประเทศไต้หวันและสหรัฐอเมริกาทางโทรทัศน์และอินเทอร์เน็ต ต่อมา ได้รับความสนใจอย่างยิ่งในประเทศญี่ปุ่น จึงรวมเป็นกลุ่มไอดอลมีสมาชิกเจ็ดคนสำหรับวันเจ็ดวัน และเข้าสู่วงการบันเทิงในประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่ปลายปี 2013 นับเป็นกลุ่มไอดอลญี่ปุ่นกลุ่มแรกที่สมาชิกล้วนเป็นชาวไต้หวัน ในประเทศญี่ปุ่น เวทเทอร์เกิลส์สังกัดโพนีแคนยอน (Pony Canyon) มีริตซ์พรอดักชันส์ (Ritz Productions) บริหารจัดการ และมีเจฟ มิยะฮะระ (Jeff Miyahara) อำนวยการผลิต เมื่อเปิดตัวแล้ว ก็ได้แสดงในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศญี่ปุ่นอย่างครบถ้วนและต่อเนื่อง สมาชิกกลุ่มยังได้แสดงละครโทรทัศน์ เป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์ และร้องเพลงประกอบรายการโทรทัศน์ด้วย จนถึงบัดนี้ ได้ออกซิงเกิลภาษาญี่ปุ่นหกชุด อัลบั้มภาษาญี่ปุ่นอีกหนึ่งชุด นอกเหนือจากสิ่งอื่น ๆ ปลายปี 2013 เวทเทอร์เกิลส์ยังได้เปิดตัวในบ้านเกิดเมืองนอน ในประเทศไต้หวัน เวทเทอร์เกิลส์สังกัดเฟมซี (FEMC) มีแอลโมชันเอนเตอร์เทนเมนต์ (L Motion Entertainment) บริหารจัดการ และมีเฉิน กั๋วหฺวา (陳國華) อำนวยการผลิต เช่นเดียวกับในประเทศญี่ปุ่น เวทเทอร์เกิลส์ได้แสดงในละครโทรทัศน์และภาพยนตร์กับทั้งได้เป็นพิธีกรและร้องเพลงประกอบรายการโทรทัศน์ในประเทศไต้หวันด้วย เวทเทอร์เกิลส์ได้ออกอัลบั้มภาษาจีนสำเนียงกลางแล้วหนึ่งชุดนอกเหนือจากสิ่งอื่น ๆ ทว่า การบริการจัดการที่ด้อยคุณภาพของเฟมซี ทำให้เวทเทอร์เกิลส์ตกต่ำอย่างรวดเร็ว และทำให้สมาชิกบางคนเพิกถอนสัญญากับเฟมซี นำไปสู่คดีความในศาลหลายคดี สมาชิกปัจจุบันของกลุ่ม ได้แก่ ไฮจัง สำหรับวันจันทร์ รีอา สำหรับวันพุธ มีอา สำหรับวันพฤหัสบดี ยูมิ สำหรับวันเสาร์ และนิวนิว สำหรับวันอาทิตย์ ดารา สาววันพุธคนก่อนหน้า ออกจากกลุ่มไปเมื่อปลายปี 2013 รีอาจึงเข้าดำรงตำแหน่งแทนในภายหลัง ส่วนเอส สาววันอังคารนั้น ออกไปเมื่อปลายปี 2014 และมินิ สาววันศุกร์ ผู้ซึ่งเป็นทั้งหัวหน้า โฆษก และล่ามของกลุ่ม ออกจากกลุ่มเมื่อปลายปี 2015 ตำแหน่งของเอสและมินิก็ว่างลงนับแต่นั้นม.

ใหม่!!: อักษรละตินและเวทเทอร์เกิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เวด-ไจลส์

วด-ไจลส์ (Wade-Giles) หรือ เวยถัวหม่าพินอิน บางครั้งก็เรียกโดยย่อว่า เวด เป็นระบบถอดอักษรแบบถ่ายเสียงภาษาจีนกลางด้วยตัวอักษรโรมันใช้กันในปักกิ่ง พัฒนาจากระบบที่สร้างขึ้นโดย ทอมัส เวด (Thomas Wade) ในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 และปรากฏอยู่ในพจนานุกรมจีน-อังกฤษของ เฮอร์เบิร์ต ไจลส์ (Herbert Giles) ซึ่งตีพิมพ์ขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: อักษรละตินและเวด-ไจลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เสียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้อง

ียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้อง เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /t͡ɕ/ (เดิมใช้ /ʨ/) และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ ts\ เสียงนี้ในภาษาไทยจะสะกดด้วยตัวอักษร จ เมื่อไม่พ่นลม และ ฉ ช ฌ เมื่อพ่นลม.

ใหม่!!: อักษรละตินและเสียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เสียงนาสิก ปลายลิ้นม้วน

ียงนาสิก ปลายลิ้นม้วน เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา โดยเฉพาะกลุ่มภาษาอินโด-อารยัน เช่นภาษาฮินดี ภาษาอูรดู ภาษาทมิฬ ภาษามาลายาลัม ภาษาสันสกฤต ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ n` การทับศัพท์มักใช้ ณ ซึ่งตรงกับการจัดวรรคพยัญชนะของภาษากลุ่มนี้.

ใหม่!!: อักษรละตินและเสียงนาสิก ปลายลิ้นม้วน · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง

ียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง (voiced velar fricative) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา ยกเว้นภาษาไทย สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ ซึ่งเป็นรูปแปรหนึ่งของตัวอักษรกรีก γ (แกมมา) ที่ใช้เป็นพยัญชนะแทนเสียงนี้ในภาษากรีกสมัยใหม่ (เป็นสัทอักษรคนละตัวกับ ซึ่งแทนเสียงสระเออะ/เออของภาษาไทย) นอกจากนี้ บางครั้งมีการใช้สัญลักษณ์ แทนเสียงเปิด เพดานอ่อน (velar approximant) ซึ่งที่จริงหากเขียนโดยมีเครื่องหมายเสริมสัทอักษรกำกับอยู่ด้วยเป็น หรือ ก็จะถูกต้องกว.

ใหม่!!: อักษรละตินและเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง

ียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง (voiceless velar fricative) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่น ภาษาเยอรมัน, ภาษาสเปน, ภาษาโปรตุเกส, ภาษารัสเซีย, ภาษาจีนกลาง ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /x/ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ x เสียงนี้เป็นเสียงหนึ่งในบรรดาเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษเก่า และยังคงปรากฏในบางภาษาถิ่นของภาษาอังกฤษปัจจุบัน หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่างประเทศของราชบัณฑิตยสถานได้กำหนดให้เขียนทับศัพท์เสียง /x/ ในทุกภาษา (เท่าที่ได้กำหนดหลักเกณฑ์ไว้) ด้วย ค ยกเว้นภาษาอังกฤษให้ใช้ ก เมื่อเป็นตัวสะกด ส่วนภาษาจีนและภาษารัสเซียให้ใช้ ฮ อย่างไรก็ตาม ในการทับศัพท์ภาษารัสเซียนั้น ปัจจุบันนิยมใช้ ค แทนเสียงนี้ แม้แต่ในสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ที่มาจากราชบัณฑิตยสถานเอง ส่วนภาษาสเปน (ซึ่งพบเสียงนี้เป็นตัวสะกดท้ายพยางค์ไม่บ่อยนัก) บางคนนิยมทับศัพท์เสียงนี้ด้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของประวัติศาสตร์โบราณ

้นเวลาของประวัติศาสตร์โบราณ คือ เส้นเวลาที่บอกถึงการใช้ชีวิตของมนุษย์ในยุคประวัติศาสตร์ตอนต้น ซึ่งเส้นเวลานี้ต่อจากเส้นเวลาของยุคก่อนประวัติศาสตร์ของมนุษ.

ใหม่!!: อักษรละตินและเส้นเวลาของประวัติศาสตร์โบราณ · ดูเพิ่มเติม »

เอ ริกิพ

อ ริกิพ (ئه‌ی رەقیب) เป็นชื่อของเพลงชาติประจำสาธารณรัฐเคอร์ดิสถาน เนื้อร้องประพันธ์โดย ยีนิส รีอูฟ โดยเนื้อร้องประพันธ์ตั้งแต่ พ.ศ. 2481 ชื่อของเพลงนี้อาจแปลได้ว่า "ศัตรูที่รัก".

ใหม่!!: อักษรละตินและเอ ริกิพ · ดูเพิ่มเติม »

เอบีซี

ABC เป็นอักษรสามตัวแรกของอักษรละติน (รวมไปถึงอักษรอังกฤษด้วย) และยังอาจหมายถึง.

ใหม่!!: อักษรละตินและเอบีซี · ดูเพิ่มเติม »

เอสเซทท์

เอสเซทท์ในแบบอักษรต่าง ๆ เอสเซทท์ (Eszett: ß) หรือเรียกอีกชื่อว่า ชาร์เฟิสเอส (scharfes S) เป็นอักษรละตินชนิดพยัญชนะที่ใช้ในภาษาเยอรมัน ออกเสียง เหมือนดอพเพิลเอส (ss) พัฒนามาจากอักษรรวม เอสขนาดยาวกับเซท (ſz) และ เอสขนาดยาวกับเอส (ſs) ชื่อของมันก็มาจากการออกเสียง เอส-เซท (s-z) นั่นเอง เอสเซทท์ (ß) ใช้สะกดหลังสระเสียงยาวและสระประสมสองเสียงเท่านั้น ส่วนดอพเพิลเอส (ss) ใช้สะกดหลังสระเสียงสั้น ถึงแม้ว่าเอสเซทท์เคยใช้ในภาษาอื่นมาก่อนก็ตาม แต่ปัจจุบันก็มีใช้ในภาษาเยอรมันเพียงภาษาเดียว หมวดหมู่:อักษรละติน หมวดหมู่:ภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: อักษรละตินและเอสเซทท์ · ดูเพิ่มเติม »

เอโอเอ

AOA เอโอเอ (에이오에이; อักษรละติน: AOA) เป็นศิลปินเกิร์ลกรุ๊ปสัญชาติเกาหลีใต้ สังกัดค่าย FNC Entertainment ปัจจุบันมีสมาชิก 6 คน ฮเยจอง ซอลฮยอน ชานมี จีมิน ยูนา มินอา AOA ย่อมาจาก Ace of Angels แปลว่า ผู้ที่มีความสามารถในหมู่นางฟ้า และมีชื่อแฟนคลับคือ "เอลวิส (ELVIS/엘비스).

ใหม่!!: อักษรละตินและเอโอเอ · ดูเพิ่มเติม »

เฮ (ตัวอักษร)

เฮ (He) เป็นอักษรตัวที่ห้าในอักษรตระกูลเซมิติก รวมทั้งอักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ה‎, อักษรซีเรียค ܗ และอักษรอาหรับ ه‎; ฮาอ์ /h/) ใช้แทนเสียงไม่ก้อง เสียดแทรก เกิดที่สายเสียง อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก Epsilon, อักษรอีทรัสคัน ̄, อักษรละติน E และอักษรซีริลลิก Ye เฮในอักษรฟินิเชียใช้แทนเสียงพยัญชนะ แต่อักษรลูกหลานอื่น ๆ ใช้แทนเสียงสระ ในภาษากลุ่มเซมิติกตะวันตกโบราณ มีเสียงไม่ก้องและเป็นเสียงในลำคอสามเสียงคือ เกิดที่เพดานอ่อน ḫ เกิดที่สายเสียงและคอหอย ḥ ดังที่พบในอักษรอาระเบียใต้และอักษรเอธิโอปิก ในอักษรคานาอันไนต์, ḫayt และ ḥasir รวมเข้ากับ Heth "fence" ฮเฮ ms:Ha (huruf Arab).

ใหม่!!: อักษรละตินและเฮ (ตัวอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

เฮ สลาฟ

ลาฟ แปลได้ว่า "เรา ชาวสลาฟ" เป็นเพลงปลุกใจของชาวสลาฟ ประพันธ์คำร้องครั้งแรก พ.ศ. 2377 เพลงนี้มีชื่อเรียกอย่างอื่นดังนี้ เฮ สโลวัก (Hej, Slováci) โดย ซามูเอล โทมาสิค และตั้งแต่นั้นมาใช้เพลงนี้เป็นเพลงของกลุ่มอุดมการณ์ร่วมสลาฟ โดยเพลงนี้ใช้เป็นเพลงชาติของสหพันธ์สาธารณรัฐประชาชนยูโกสลาเวีย และเซอร์เบียและมอนเตเนโกร รวมทั้งเป็นเพลงชาติของชาวสโลวักอย่างไม่เป็นทางการ เพลงนี้ได้รับอิทธิพลมาจากเพลงชาติโปแลนด์ "มาซูแร็กดอมบรอฟสกีแยกอ" ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2469 โดยเพลงเฮ สลาฟมีท่วงทำนองบรรเลงที่ช้ากว่าเพลงมาซูแร็กดอมบรอฟสกีแยกอ ในภาษาเซอร์เบีย-โครเอเชีย มีความแตกต่างกันในการใช้อักษรลาติน และอักษรซีริลริก องเพลง เฮ สลาฟ ดังนี้.

ใหม่!!: อักษรละตินและเฮ สลาฟ · ดูเพิ่มเติม »

เฮท

เฮท (Heth) เป็นอักษรตัวที่ 8 ของอักษรคานาอันไนต์ ซึ่งพัฒนาต่อมาเป็นอักษรฟินิเชีย อักษรฮีบรู อักษรอาหรับ (ح: หาอ์ /ħ/) อักษรซีเรียค ใช้แทนเสียงไม่ก้อง และเป็นเสียงในลำคอซึ่งอาจเป็นทั้งเสียงที่เกิดจากคอหอย (หรือเพดานอ่อน ส่วนภาษาอาหรับแยกความแตกต่างโดยใช้ ح แทนเสียง และใช้ خ แทนเสียง อักษรฮีบรูเริ่มแรกใช้ ח แทน และ כ แทน ต่อมาทั้ง 2 ตัวใช้แทนเสียงไม่ก้องเกิดจากลิ้นไก่ และเป็นเสียงในลำคอ อักษรคานาอันไนต์ตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก “Η”, อักษรละติน "H” และอักษรซีริลลิก “И” โดย H ในอักษรละตินยังใช้แทนเสียงพยัญชนะ ส่วน Η ในอักษรกรีกและ И ใช้แทนเสียงสระ ในคำทับศัพท์จะแทนด้วย ฮ ฮเฮ br:Het ceb:Ḥet en:Heth fi:Ḥet it:Heth pl:Chet sv:Het zh:Heth.

ใหม่!!: อักษรละตินและเฮท · ดูเพิ่มเติม »

เจียง เจ๋อหมิน

เจียง เจ๋อหมิน (ภาษากวางตุ้ง, อักษรโรมัน: gong1 zaak6 man4) เกิดวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2469 (ค.ศ. 1926) เป็นบุคคลหลักของ "ผู้นำรุ่นที่สาม" ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน ระหว่าง พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) ถึง พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) และประธานาธิบดีระหว่าง พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1993) ถึง พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) เขายังเป็นผู้คิดทฤษฎีสามตัวแทนซึ่งนำมาใช้ในรัฐธรรมนูญของประเทศ และของพรรคคอมมิวนิสต์จีนด้วย เจียง เจ๋อหมิน เป็นชาวเมืองหยางโจว มณฑลเจียงซู หลังจากเติ้งเสี่ยวผิงได้แตกหักกับเจ้าจื่อหยาง เนื่องจากเหตุชุมนุมที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน เมื่อ พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) เติ้งเสี่ยวผิงจึงเลือกเจียง เจ๋อหมินเป็นทายาททางการเมืองของเขาแทน หมวดหมู่:ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน หมวดหมู่:เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน หมวดหมู่:ผู้นำสูงสุดแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน หมวดหมู่:บุคคลจากหยางโจว.

ใหม่!!: อักษรละตินและเจียง เจ๋อหมิน · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง

ตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง หรือ กวางสี หรือ กวางไซ (จ้วง: Gvangjsih Bouxcuengh Swcigih) หรือชื่อย่อว่า กุ้ย (桂; จ้วง: Gvei) เป็นเขตปกครองตนเองระดับจังหวัดตั้งอยู่ทางภาคใต้ของประเทศจีน มีเมืองเอกคือหนานหนิง.

ใหม่!!: อักษรละตินและเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองทิเบต

ตปกครองตนเองทิเบต (ทิเบต:བོད་- โบด์; ซีจ้าง) เป็นเขตปกครองตนเองของประเทศจีน มีเชื้อสายมาจากชาวอินเดีย ชาวทิเบต มีพระเป็นผู้นำของเขตปกครองพิเศษนี้ ชนพวกนี้นับถือศาสนาพุทธนิกายวัชรยาน คล้ายกับประเทศภูฏาน ทิเบตตั้งอยู่บนเทือกเขาหิมาลัย เป็นที่ราบสูงที่สูงที่สุดในโลก จนได้รับฉายาว่า หลังคาโลก ทิเบตมีอากาศที่หนาวเย็นมาก และมีความกดอากาศและอ๊อกซิเจนที่ต่ำ ฉะนั้นผู้ที่จะมาในทิเบตจะต้องปรับสภาพร่างกายก่อน และด้วยเหตุนี้ประชากรที่อาศัยอยู่ในทิเบตจึงน้อย พลเมืองชายของทิเบตกว่าครึ่งบวชเป็นพระ ก่อนจีนจะยึดครองทิเบต ทิเบตมีสามเณริกามากที่สุดในโลก ในทิเบตเคยมีคัมภีร์มากมาย พลเมืองนับถือศาสนาอย่างเคร่งครัด จนได้รับฉายาว่า "แดนแห่งพระธรรม" (land of dharma) ทิเบตมีเมืองหลวงชื่อ ลาซา (Lhasa).

ใหม่!!: อักษรละตินและเขตปกครองตนเองทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์

ตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ (شىنجاڭ ئۇيغۇر ئاپتونوم رايونى-; 新疆维吾尔自治区) เป็นเขตปกครองตนเองของจีนในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ เป็นเขตปกครองใหญ่ที่สุดของจีน เป็นเขตการปกครองชาติที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 8 ของโลก กินพื้นที่กว่า 1.6 ล้านตารางกิโลเมตรและเป็นเขตการปกครองที่มีประชากรมากที่สุดติดอันดับหนึ่งในสิบ มีดินแดนพิพาทอักไสชินที่จีนบริหารอยู่ ซินเจียงมีพรมแดนติดต่อกับประเทศรัสเซีย มองโกเลีย คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิซสถาน อัฟกานิสถาน ปากีสถานและอินเดีย นอกจากนี้ยังมีพรมแดนติดต่อกับทิเบต มีน้ำมันสำรองอุดมสมบูรณ์และเป็นภาคที่ผลิตแก๊สธรรมชาติใหญ่ที่สุดของจีน.

ใหม่!!: อักษรละตินและเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ · ดูเพิ่มเติม »

เด เวอร์มิส มิสเทรีส

วอร์มิส มิสเทรีส (อักษรละติน: De Vermis Mysteriis) หรือ ปริศนาแห่งหนอนเป็นตำราเวทย์สมมุติที่ปรากฏในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลู.

ใหม่!!: อักษรละตินและเด เวอร์มิส มิสเทรีส · ดูเพิ่มเติม »

เดชาวัต พุ่มแจ้ง

วัต พุ่มแจ้ง (โรมัน: Dechawat Poomjaeng) หรือ แจ๊ค สระบุรี เป็นนักสนุกเกอร์อาชีพชาวไท.

ใหม่!!: อักษรละตินและเดชาวัต พุ่มแจ้ง · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องร่อนกิมลี่

แอร์แคนาดา เที่ยวบินที่ 143 หรือที่เรียกกันว่า เครื่องร่อนกิมลี่ (อังกฤษ: Gimli Glider) เป็นเที่ยวบินภายในประเทศแคนาดาในเส้นทางมอนทรีอัลสู่เอ็ดมอนตัน เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2526 แต่หลังจากบินได้เพียงไม่กี่นาที น้ำมันของเครื่องเกิดหมดขณะที่กำลังบินอยู่ ทำให้เครื่องยนต์ดับทั้ง 2 ตัว จนนักบินตัดสินใจขับเครื่องบินแบบเครื่องร่อน และลงจอดฉุกเฉินที่สนามบินกิมลี่ในเมืองมานิโตบาได้สำเร็จ ทั้ง 69 คนบนเครื่องรอดชีวิตทั้งหม.

ใหม่!!: อักษรละตินและเครื่องร่อนกิมลี่ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องหมายเสริมสัทอักษร

รื่องหมายเสริมสัทอักษร เป็นเครื่องหมายที่ใช้กำกับอักษรโรมัน ซึ่งมีอยู่ในแป้นพิมพ์ ซึ่งได้แก่ เกรฟ และดับเบิลเกรฟ.

ใหม่!!: อักษรละตินและเครื่องหมายเสริมสัทอักษร · ดูเพิ่มเติม »

เคาะซแวโตะ

ซแวโตะ (ခေါက်ဆွဲသုပ်‌, อักษรโรมัน: hkauk hcwai: sup หรือ khauk swè thoke) เป็นอาหารประเภทยำของพม่า โดยนำเส้นหมี่ที่ทำจากแป้งสาลีและไข่หรือเส้นข้าวซอยมายำรวมกับกุ้งแห้ง กะหล่ำปลี แคร์รอต น้ำปลา น้ำมะนาว แต่งหน้าด้วยน้ำมันถั่วลิสง อาจจะใส่แตงกวา ต้นหอม ผักชี เต้าหู้ทอด ผงถั่วหัวช้างคั่ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและเคาะซแวโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เฉิงตู

ฉิงตู (Chengdu) เป็นเมืองเอกของมณฑลเสฉวน ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำหมินใจกลางมณฑล ประชากรเมืองเฉิงตูมีราว 10 ล้านคน จัดเป็นอันดับ 3 ของประเทศจีน ในปัจจุบันเป็นทั้งศูนย์กลางด้านการเมือง การทหาร และด้านการศึกษาของภูมิภาคตะวันตกเฉียงใต้ คำว่าเฉิงตูมีความหมายว่า ค่อย ๆ กลายเป็นเมือง เนื่องจากย้อนไปเมื่อราว 2,000 ปีที่แล้ว ในสมัยจิ๋นซีฮ่องเต้ ได้มีการจัดการชลประทานขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมที่เกิดเป็นประจำทุกปี เมื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมได้ ชาวนาชาวไร่เพาะปลูกได้ดี ชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น คนจึงเริ่มอพยพมาที่เมืองนี้มากขึ้นเรื่อย ๆ จึงได้ชื่อว่าเฉิงตู ไฟล์:Jingjiang.JPEG|แม่น้ำจินเจียงและสะพาน Anshun ไฟล์:Chunxilu.jpeg|ถนนถนนชุนซี ไฟล์:Chengdu-calles-w03.jpg|การจราจรในเฉิงตู หมวดหมู่:เมืองในประเทศจีน หมวดหมู่:มณฑลเสฉวน หมวดหมู่:เมืองเอกของมณฑลในจีน.

ใหม่!!: อักษรละตินและเฉิงตู · ดูเพิ่มเติม »

ตัวอักษร Ạ (ตัวเล็ก: ạ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน A ที่มีจุด (dot below) อยู่ด้านล่าง โดยถูกใช้ในภาษาเวียดนาม.

ใหม่!!: อักษรละตินและẠ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวอักษร Ẽ (ตัวเล็ก: ẽ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน E ที่มีทิลเดอ อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากล.

ใหม่!!: อักษรละตินและẼ · ดูเพิ่มเติม »

Ż

ตัวอักษร Ż (ตัวเล็ก: ż) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน Z ที่มีจุด อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากล.

ใหม่!!: อักษรละตินและŻ · ดูเพิ่มเติม »

Ĝ

ตัวอักษร Ĝ (ตัวเล็ก: ĝ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน G ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดยสัญลักษณ์ Ĝ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: อักษรละตินและĜ · ดูเพิ่มเติม »

Ō

ตัวอักษร Ō (ตัวเล็ก: ō) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน O ที่มีมาครอน (macron) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงเป็น หรือ.

ใหม่!!: อักษรละตินและŌ · ดูเพิ่มเติม »

Ŝ

ตัวอักษร Ŝ (ตัวเล็ก: ŝ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน S ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดยสัญลักษณ์  Ŝ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต หมวดหมู่:ภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: อักษรละตินและŜ · ดูเพิ่มเติม »

Ã

ตัวอักษร Ã (ตัวเล็ก: ã) เป็นรูปแบบตัวหนึ่งของอักษรละติน A ที่มีทิลเดอ อยู่ด้านบน ที่ใช้ในภาษาโปรตุเกสและภาษาเวียดนามในวรรณยุกต.

ใหม่!!: อักษรละตินและÃ · ดูเพิ่มเติม »

Ń

ตัวอักษร Ń (ตัวเล็ก: ń) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน N ที่มีอคิวต์แอ็กเซนต์ อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทหลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดยสัญลักษณ์ Ń เป็นตัวอักษรที่ใช่ในภาษาโปแลนด์และภาษาคาชูเบี.

ใหม่!!: อักษรละตินและŃ · ดูเพิ่มเติม »

Ĉ

ตัวอักษร Ĉ (ตัวเล็ก: ĉ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน C ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลเสียงนี้แสดงโดยสัญลักษณ์ Ĉ เป็นอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: อักษรละตินและĈ · ดูเพิ่มเติม »

Ñ

ตัวอักษรเอเลบนแป้นพิมพ์ภาษาสเปน Ñ (ตัวใหญ่: Ñ, ตัวเล็ก: ñ) เป็นตัวอักษรละตินยุคใหม่ซึ่งเกิดจากการใส่เครื่องหมายทิลเดบนตัวอักษร N ตัว Ñ ได้รับการจัดให้เป็นส่วนหนึ่งของชุดตัวอักษรภาษาสเปนอย่างเป็นทางการในพุทธศตวรรษที่ 23 แต่ก็มีการใช้ในภาษากาลิเซีย, ภาษาอัสตูเรียส, ภาษาบาสก์, ภาษาอารากอน, ภาษาชาบากาโน, ภาษาฟิลิปีโน, ภาษาเกชัว และภาษาเตตุม รวมไปถึงในการถอดอักษรกลุ่มภาษาโตคาเรียนและภาษาสันสกฤตเป็นอักษรละติน โดยแทนเสียงนาสิก เพดานแข็ง  แต่ในภาษาตาตาร์ไครเมียใช้แทนเสียงนาสิก เพดานอ่อน ส่วนในภาษาเบรอตงและภาษาโรฮีนจา ตัวอักษรนี้เป็นตัวบ่งชี้ว่าสระที่อยู่ข้างหน้าออกเสียงเป็นสระนาสิก Ñ แตกต่างกับตัวอักษรอื่น ๆ ที่มีเครื่องหมายเสริมสัทอักษรกำกับ (เช่น Ü ในภาษาสเปน, ภาษากาลิเซีย, ภาษาอัสตูเรียส และภาษาเลออน) ตรงที่มันมีฐานะเป็นตัวอักษรต่างหากตัวหนึ่งในภาษาเหล่านั้น (ยกเว้นภาษาเบรอตง) โดยมีชื่อเรียกเป็นของตัวเอง (ภาษาสเปนเรียก "เอเญ", eñe) และมีตำแหน่งเป็นของตัวเองในชุดตัวอักษร (ต่อจาก N) จากมุมมองนี้ ความเป็นเอกเทศของตัว Ñ จึงคล้ายคลึงกับตัว W ในภาษาอังกฤษ (ซึ่งมาจากการเขียนตัว V ติดกันในอดีต เหมือนกับตัว Ñ ซึ่งมาจากการเขียนตัว N ติดกัน).

ใหม่!!: อักษรละตินและÑ · ดูเพิ่มเติม »

Ò

ตัวอักษร Ò (ตัวเล็ก: ò) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน O ที่มีเกรฟแอกเซนต์ (grave accent) อยู่ด้านบน.

ใหม่!!: อักษรละตินและÒ · ดูเพิ่มเติม »

Ă

ตัวอักษร Ă (ตัวเล็ก: ă) เป็นตัวอักษรที่ใช้ภาษาโรมาเนียและภาษาเวียดนามโดยเฉพาะอักษรดังกล่าวก็คืออักษร A ที่มีบรีฟอยู่ด้านบน รูปร่างของหูถ้วยกาแฟได้นำไปใช้ สำหรับผู้ที่ต้องการใส่วรรณยุกต์ของภาษาเวียดนาม.

ใหม่!!: อักษรละตินและĂ · ดูเพิ่มเติม »

Ç

ตัวอักษร Ç (ตัวเล็ก: ç) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน C ที่มีซิดิลลา (cedilla) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดย (ช/ตช) Ç เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาตุรกี ภาษาเติร์กเมน ภาษาซาซากิ ภาษาแอลเบเนีย ภาษาตาตาร์ ภาษาเคิร์ด และ ภาษาอาเซอร์ไบจาน.

ใหม่!!: อักษรละตินและÇ · ดูเพิ่มเติม »

Ņ

ตัวอักษร Ņ (ตัวเล็ก: ņ) เป็นรูปแบบตัวหนึ่งของอักษรละติน N ที่มีซิดิลลา (cedilla) อยู่ด้านล่าง โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดย Ņ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาลัตเวี.

ใหม่!!: อักษรละตินและŅ · ดูเพิ่มเติม »

Ë

ตัวอักษร Ë (ตัวเล็ก: ë) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน E ที่มี:en:Diaeresis อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดยสัญลักษณ.

ใหม่!!: อักษรละตินและË · ดูเพิ่มเติม »

Û

ตัวอักษร Û (ตัวเล็ก: û) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน U ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากล.

ใหม่!!: อักษรละตินและÛ · ดูเพิ่มเติม »

Ā

ตัวอักษร Ā (ตัวเล็ก: ā) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน A ที่มีมาครอน (macron) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดย Ā เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาลัตเวียของตัวที่ 2.

ใหม่!!: อักษรละตินและĀ · ดูเพิ่มเติม »

B

B (ตัวใหญ่:B ตัวเล็ก:b ออกเสียง บี) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 2 ใช้แทนเสียงพยัญชนะจากริมฝีปาก (ขึ้นกับแต่ละภาษา) มักจะเป็นเสียงกัก ริมฝีปาก ก้อง.

ใหม่!!: อักษรละตินและB · ดูเพิ่มเติม »

C

C (ตัวใหญ่:C ตัวเล็ก:c) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 3.

ใหม่!!: อักษรละตินและC · ดูเพิ่มเติม »

Ch (ทวิอักษร)

Ch Ch เป็นทวิอักษรที่พบได้ในหลาย ๆ ภาษา ในบางภาษาจะจัดใช้ ch เป็นอักษรเดี่ยว โดยในพจนานุกรมก็จะไม่ได้รวมอยู่ในหมวดเดียวกับอักษร c แต่จะแยกออกไปต่างหาก อักษร ch ใช้แทนเสียงที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษ.

ใหม่!!: อักษรละตินและCh (ทวิอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

D

D (ตัวใหญ่:D ตัวเล็ก:d) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 4.

ใหม่!!: อักษรละตินและD · ดูเพิ่มเติม »

Dzs (สัทศาสตร์)

ตัวอักษร Dzs (ตัวเล็ก: dzs) เป็นรูปแบบสามของอักษรละติน D Z S ที่มี Dzs Dzs เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาฮังการีและจะออกเสียงเป็น ในสัทอักษรสากล.

ใหม่!!: อักษรละตินและDzs (สัทศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

E

E (ตัวใหญ่:E ตัวเล็ก:e) เป็นอักษรละตินตัวที่ 5.

ใหม่!!: อักษรละตินและE · ดูเพิ่มเติม »

Ȩ

ตัวอักษร Ȩ (ตัวเล็ก: ȩ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน E ที่มีซิดิลลา (cedilla) อยู่ด้านบน.

ใหม่!!: อักษรละตินและȨ · ดูเพิ่มเติม »

ʻOkina

อกีนา (okina) เป็นอักษรพยัญชนะตัวหนึ่งในชุดตัวเขียนละติน ใช้เขียนแทนเสียงกักที่เส้นเสียงที่ปรากฏในภาษากลุ่มโพลินีเซียหลายภาษา ซึ่งมีการเรียกชื่อโอกีนาแตกต่างกันออกไป.

ใหม่!!: อักษรละตินและʻOkina · ดูเพิ่มเติม »

F

F (ตัวใหญ่:F ตัวเล็ก:f) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 6.

ใหม่!!: อักษรละตินและF · ดูเพิ่มเติม »

G

G เป็นอักษรลำดับที่ 7 ในอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและG · ดูเพิ่มเติม »

H

H (ออกเสียงว่า เอช หรือเฮช"H" Oxford English Dictionary, 2nd edition (1989); Merriam-Webster's Third New International Dictionary of the English Language, Unabridged (1993); "aitch", op. cit.) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 8 ในการออกเสียงตามสัทอักษรสากลแสดงด้วยเสียง 2 เสียง คือ แสดงเสียงในลักษณะเสียงเสียดแทรก เส้นเสียง ไม่ก้อง และ แสดงเสียงในลักษณะเสียงเสียดแทรก ลิ้นปิดกล่องเสียง ไม่ก้อง.

ใหม่!!: อักษรละตินและH · ดูเพิ่มเติม »

Homo erectus

ม อีเร็กตัส (แปลว่า "มนุษย์ที่ยืนตรง" มาจากคำกริยาในภาษาละตินว่า ērigere ซึ่งแปลว่า ตั้งให้ตรง) เป็นสปีชีส์ของมนุษย์ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว ที่มีชีวิตอยู่เกือบทั้งสมัยไพลสโตซีน โดยมีหลักฐานซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ที่สุดประมาณ และหลักฐานที่ใหม่ที่สุดที่ 27,000 ปีก่อน เป็นสกุลที่เกิดในแอฟริกาและได้ย้ายถิ่นฐานกระจายไปจนถึงจอร์เจีย อินเดีย ลังกา จีน และเกาะชวาChauhan, Parth R. (2003) in An Overview of the Siwalik Acheulian & Reconsidering Its Chronological Relationship with the Soanian - A Theoretical Perspective.

ใหม่!!: อักษรละตินและHomo erectus · ดูเพิ่มเติม »

I

I เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 9.

ใหม่!!: อักษรละตินและI · ดูเพิ่มเติม »

ISO 11940

ISO 11940 เป็นมาตรฐานสากลสำหรับการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันซึ่งเผยแพร่ในปี พ.ศ. 2541 และปรับปรุงในปี พ.ศ. 2546 การถอดอักษรแบบนี้จะถอดตามรูปที่ปรากฏตามลำดับ ไม่เป็นไปตามอักขรวิธี เช่นคำว่า "เชียงใหม่" ระบบนี้จะถอดได้เป็น echīyngıh̄m̀ ซึ่งไม่สามารถอ่านได้ แม้ทำ Unicode Normalisation แล้วก็จะกลายเป็น "ชเ–ียงหใม่" ถอดได้เป็น cheīyngh̄ım̀ ซึ่งพอจะอ่านได้แต่ก็ยังไม่สมบูรณ์ นอกจากนั้นระบบนี้จำเป็นต้องใช้อักขระที่ไม่ได้อยู่บนแอสกี ระบบนี้จึงไม่เป็นที่นิยมใช้.

ใหม่!!: อักษรละตินและISO 11940 · ดูเพิ่มเติม »

ISO 3166

ISO 3166 คือมาตรฐานที่เผยแพร่โดยองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO) เพื่อกำหนดรหัสสำหรับประเทศ, ดินแดนในปกครอง, พื้นที่พิเศษที่น่าสนใจทางภูมิศาสตร์, และเขตการปกครองหลัก (เช่นจังหวัดหรือรัฐ) ชื่ออย่างเป็นทางการของมาตรฐานคือ รหัสสำหรับการแสดงชื่อประเทศและเขตการปกครอง (Codes for the representation of names of countries and their subdivisions).

ใหม่!!: อักษรละตินและISO 3166 · ดูเพิ่มเติม »

ISO 3166-1

ISO 3166-1 เป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐาน ISO 3166 ซึ่งกำหนดรหัสประเทศและดินแดนต่างๆ มี 3 มาตรฐานย่อย ได้แก.

ใหม่!!: อักษรละตินและISO 3166-1 · ดูเพิ่มเติม »

ISO 4217

ISO 4217 เป็นมาตรฐานสากลสำหรับรหัสสกุลเงินที่ใช้ในประเทศต่างๆ มักใช้ในการแลกเปลี่ยนสกุลเงินตามธนาคาร ประกอบด้วยอักษรละตินตัวใหญ่ 3 ตัวจากชื่อประเทศและชื่อของสกุลเงินที่ใช้ในประเทศนั้น.

ใหม่!!: อักษรละตินและISO 4217 · ดูเพิ่มเติม »

ISO 639-3

มาตรฐาน ISO 639-3 เป็นมาตรฐานกำหนดรหัสของภาษามนุษย์ทั้งหมดเท่าที่ทราบว่ามี โดยใช้ตัวอักษรละตินสามตัวเป็นรหัสแทนแต่ละภาษา ภาษาที่รวมใน ISO 639-3 นี้ รวมถึงภาษาที่มีใช้อยู่ในปัจจุบัน ภาษาโบราณ ภาษาที่ไม่มีการใช้แล้ว ตลอดทั้งภาษาที่ประดิษฐ์ขึ้น รวมถึงภาษาหลักและภาษารอง ทั้งที่มีตัวอักษรเขียนและที่ไม่มี.

ใหม่!!: อักษรละตินและISO 639-3 · ดูเพิ่มเติม »

J

J (เจ) เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 10 เป็นตัวอักษรตัวสุดท้ายที่ถูกเพิ่มเข้ามาในอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและJ · ดูเพิ่มเติม »

K

K (ตัวใหญ่:k ตัวเล็ก:k) เป็นอักษรละติน นับเป็นอักษรตัวที่ 11 ของอักษรในภาษาอังกฤษ.

ใหม่!!: อักษรละตินและK · ดูเพิ่มเติม »

L

L (ตัวใหญ่:L ตัวเล็ก:l) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 12.

ใหม่!!: อักษรละตินและL · ดูเพิ่มเติม »

M

M (ตัวใหญ่:M ตัวเล็ก:m) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 13.

ใหม่!!: อักษรละตินและM · ดูเพิ่มเติม »

N

N (ตัวใหญ่:N ตัวเล็ก:n) เป็นอักษรละตินในลำดับที่ 14.

ใหม่!!: อักษรละตินและN · ดูเพิ่มเติม »

O

O (ตัวใหญ่:O ตัวเล็ก:o) เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 15 โดยชื่อเรียกคือ "โอ".

ใหม่!!: อักษรละตินและO · ดูเพิ่มเติม »

Ґ

Ge (Ґ, ґ) บางครั้งก็เรียกว่า Ghe หรือ Ge with upturn (ในรหัสยูนิโคดใช้ชื่อว่า CYRILLIC CAPITAL/SMALL LETTER GHE WITH UPTURN) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้แทนเสียง // คล้ายกับเสียง g ของคำว่า go ในภาษาอังกฤษ ในภาษาเบลารุสและภาษายูเครนสมัยโบราณ บางครั้งมีการใช้อักษรละติน g และทวิอักษร КГ (kh) แทนเสียงของ g ในคำทับศัพท์จากภาษาละติน แต่ภายหลังการทำเช่นนี้รวมทั้งการใช้ทวิอักษร ได้เลือนหายไปจากอักขรวิธีของภาษาเบลารุส จนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 19 การใช้อักษร Ґ ได้ถูกนำมาพิจารณาใหม่และเพิ่มเข้าไปในภาษายูเครนและภาษารูซิน อักษร Ґ ของภาษายูเครนได้ถูกยกเลิกในการปฏิรูปอักขรวิธีของภาษารัสเซีย โดยสหภาพโซเวียต ใน พ.ศ. 2476 (ค.ศ. 1933) และถูกจัดให้เป็นอักษรเดียวกันกับ Г แต่อย่างไรก็ตาม อักษร Ґ ได้ถูกนำกลับมาใช้อีกครั้งหนึ่งโดยชาวพื้นเมืองของประเทศยูเครน ใน พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) ภายหลังการปฏิรูปกลาสนอสต์ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักภาษาศาสตร์ชาวเบลารุสบางท่าน โดยเฉพาะ เอียน สตานเคียวิช (Yan Stankyevich) ได้มีการเสนอแนะว่าควรจะนำการอักษรนี้มาแทนเสียงของ g อีกครั้ง อย่างน้อยก็เพื่อทับศัพท์คำใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน แต่คนส่วนใหญ่ไม่ยอมรับแนวความคิดนี้ แม้กระทั่งตัวอักษร Ґ ก็ไม่เคยได้ปรากฏรวมอยู่ในลำดับอักษรของภาษาเบลารุสเลย เนื่องจากเห็นว่าอักษรตัวนี้ไม่ได้ใช้มานานมากแล้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและҐ · ดูเพิ่มเติม »

Һ

Һ/һ เป็นหนึ่งรูปแบบอักษรซีริลลิก ชื่อว่า "Shha" จึงมีลักษณะคล้ายรูปร่างเปรียบเทียบอักษรละติน H/h และ Ч ตามดังภาพตัวอักษรดังกล่าว จะถูกคิดค้นโดยใช้ทุกภาษา ใน อักษร Һ จะออกเสียงเป็น และความเป็นจริงที่เป็นอักษร Һ ที่ใช้ได้.

ใหม่!!: อักษรละตินและҺ · ดูเพิ่มเติม »

Ph (ทวิอักษร)

Ph หรือ ph เป็นทวิอักษรที่พบได้ในภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน และภาษาอื่นโดยส่วนใหญ่ใช้แทนเสียง ฟ ซึ่งมีเสียง โดยคำศัพท์ในภาษาอังกฤษที่มีอักษร ph ส่วนใหญ่เป็นคำศัพท์ที่มาจากภาษากรีก ในการถอดจากอักษรไทยเป็นอักษรโรมัน กำหนดให้ ph ใช้แทนอักษร พ ภ ผ ซึ่งมีเสียง ในขณะที่การทับศัพท์จากภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นมาเป็นภาษาไทย กำหนดให้ ph แทนด้วยอักษร ฟ.

ใหม่!!: อักษรละตินและPh (ทวิอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

Q

Q (ตัวใหญ่:Q ตัวเล็ก:q) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 17.

ใหม่!!: อักษรละตินและQ · ดูเพิ่มเติม »

R

R (อาร์) เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 18 ในอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรละตินและR · ดูเพิ่มเติม »

Rr (ทวิอักษร)

ตัวอักษร Rr (ตัวเล็ก: rr) เป็นอักษรละติน R คู่กันเป็นทวิอักษรในระบบการเขียนตัว R ได้เป็น Rr ที่ใช้ในภาษาแอลเบเนีย แสดงเสียงเป็น.

ใหม่!!: อักษรละตินและRr (ทวิอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

S

S (ตัวใหญ่: S ตัวเล็ก: s) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 19.

ใหม่!!: อักษรละตินและS · ดูเพิ่มเติม »

T

T (ตัวใหญ่:T ตัวเล็ก:t) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 20.

ใหม่!!: อักษรละตินและT · ดูเพิ่มเติม »

Th (ทวิอักษร)

Th ในอักษรละตินเป็นทวิอักษรหรืออักษรสองตัวที่ใช้แทนเสียงเดียว โดยพบได้ในระบบการเขียนหลายภาษาของยุโรป ที่ใช้อักษรโรมันและกรีกเป็นหลัก ในภาษาอังกฤษ อักษร th มักจะออกเสียงในแบบเสียงเสียดแทรกจากฟันได้สองลักษณะ คือ ลักษณะเสียงก้อง ออกเสียงเป็น (ในคำว่า this) และลักษณะเสียงไม่ก้อง ออกเสียงเป็น (ในคำว่า think) อย่างไรก็ตาม ในภาษาอังกฤษสมัยกลาง (Middle English) มีการใช้อักษรสำหรับแต่ละเสียงโดยเฉพาะ นั่นคือ อักษร และ สำหรับในภาษาอื่น เช่น ภาษาเยอรมัน th ออกเสียงเป็นเสียง ในภาษาแอลเบเนีย ออกเสียง และยังคงถือว่าตัวอักษร Th เป็นตัวอักษรที่ 29 ของตัวอักษรทั้งหมด โดยอยู่ระหว่าง T และ U ในภาษาไทย เนื่องจากไม่มีเสียงอักษรไทยที่ใกล้เคียงกับ และ ตามกฎของราชบัณฑิตยสถานที่ใช้ในเอกสารของทางราชการไทย กำหนดให้ การถอดเสียงภาษาอังกฤษ มาเป็นภาษาไทย ให้ถอดตัวอักษร th มาเป็นตัวอักษร ด หรือ ท ขึ้นอยู่กับการออกเสียง (ซึ่งออกเสียง และ ใกล้เคียงกับเสียง และ ตามลำดับ) ในบางครั้งจะเกิดปัญหาที่คำทับศัพท์มีการซ้ำซ้อน เช่นคำว่า "thank" และ "tank" เมื่อทับศัพท์ออกมาตามหลัก แล้วรูปจะเหมือนกัน คือ "แทงก์" แต่การออกเสียงแตกต่างกัน นอกจากนี้ยังมีบางกลุ่มที่ถอดเสียง เป็น.ธง เพื่อเปรียบต่างกับเสียง ที่เป็น ท.ทหาร เช่นในคำว่า มาราธอน (marathon).ธง สำหรับในคำทับศัพท์นี้แสดงถึงเสียง สำหรับการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง กำหนดให้ตัวอักษร ฐ ฒ ถ ธ ท ถอดเป็นตัวอักษร th ในภาษาอังกฤษ ซึ่งออกเสียง.

ใหม่!!: อักษรละตินและTh (ทวิอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

U

U (ตัวใหญ่:U ตัวเล็ก:u) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 21 ซึ่งในภาษาอังกฤษอ่านว่า "ยู" ในขณะที่เยอรมัน อิตาลี สเปน และฝรั่งเศส เรียกว่า "อู" ในขณะเดียวกันในประเทศไทยนิยมเรียกว่า "ยู" เช่นเดียวกับใน ภาษาญี่ปุ่น เรียกว่า "ยู" (ユー).

ใหม่!!: อักษรละตินและU · ดูเพิ่มเติม »

V

V (ตัวใหญ่:V ตัวเล็ก:v) เป็นอักษรละติน ตัวที่ 22.

ใหม่!!: อักษรละตินและV · ดูเพิ่มเติม »

W

W (ตัวใหญ่:W ตัวเล็ก:w) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 23.

ใหม่!!: อักษรละตินและW · ดูเพิ่มเติม »

X

X เป็นอักษรละตินลำดับที่ 24 ซึ่งในภาษากรีกตัวอักษร X อ่านว่า "ไค" ตัวอักษร X เป็นตัวอักษรที่ไม่มีในภาษาอิตาลียกเว้นคำยืมจากภาษาอื่น และไม่มีคำศัพท์ภาษาอังกฤษดั้งเดิมขึ้นต้นด้วยตัวอักษร X ในภาษาอังกฤษบางครั้งจะอ่านเหมือนคำว่า ไค ใช้แทนคำว่า คริสต์ ซึ่งเห็นได้ใน X'mas (คริสต์มาส) และมีการใช้ซึ่งอ่านว่า "ครอส" แทนเครื่องหมายไขว้ เช่นในคำว่า Xing.

ใหม่!!: อักษรละตินและX · ดูเพิ่มเติม »

X (แก้ความกำกวม)

X อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อักษรละตินและX (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

Xh (ทวิอักษร)

ตัวอักษร Xh/xh เป็นหนึ่งทวิอักษร ที่มี อักษรละติน X และ H ที่ใช้ในภาษาแอลเบเนีย จะออกเสียงเป็น /d͡ʒ/ Xh ตัวที่ 33 ของภาษาแอลเบเนี.

ใหม่!!: อักษรละตินและXh (ทวิอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

Y

Y (ตัวใหญ่:Y ตัวเล็ก:y) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 25.

ใหม่!!: อักษรละตินและY · ดูเพิ่มเติม »

Z

Z (ตัวใหญ่:Z ตัวเล็ก:z) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 26 และเป็นลำดับสุดท้.

ใหม่!!: อักษรละตินและZ · ดูเพิ่มเติม »

К

Ka (К, к) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก มีลักษณะคล้ายอักษรละติน K ไม่ว่าจะเป็นตัวเล็กหรือตัวใหญ่ แตกต่างกันเล็กน้อยตรงที่เส้นขวาบน จะเป็นจะงอยเหมือนวงเล็บปีกกาเปิด.

ใหม่!!: อักษรละตินและК · ดูเพิ่มเติม »

Ў

Short U (Ў, ў) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง มีใช้เฉพาะในภาษาเบลารุส และอักษรนี้จะถูกเรียกว่า U Nieskładovaje ซึ่งหมายถึง U ที่ไม่มีเสียง เนื่องจากเสียงกึ่งสระนี้เทียบเท่ากับ У แต่ไม่ได้ใช้ออกเสียงเต็มพยางค์ อักษรนี้สามารถแปลงเป็นอักษรละตินได้เป็น Ŭ, ŭ ในคำต่างๆ ของภาษาเบลารุส อักษร Ў จะใช้คู่กับสระตัวอื่นให้เกิดเสียงสระประสมกับ // เหมือนมี ว สะกด เช่น хлеў (khleŭ เฮฺลว์) กระท่อม หรือ воўк (voŭk โวว์ก) หมาป่า บางครั้งก็ถูกใช้ทับศัพท์เสียง // ในภาษาต่างประเทศ เช่น ўіскі (ŭiski วิสกี) วิสกี้ เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม ชาวเบลารุสมักจะมีปัญหาเกี่ยวกับการออกเสียง // และตั้งใจจะออกเสียงเป็น // ในคำทับศัพท์ดังกล่าว ปกติแล้วอักษรนี้ไม่สามารถวางหน้าสระได้ แต่เมื่อไวยากรณ์บังคับให้เป็นเช่นนั้น จะต้องเปลี่ยน Ў ให้เป็น В เช่น.

ใหม่!!: อักษรละตินและЎ · ดูเพิ่มเติม »

Ё

Yo (Ё, ё) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก และเป็นอักษรตัวที่ 7 ของภาษารัสเซีย อักษรนี้ประดิษฐ์ขึ้นใน พ.ศ. 2340 (ค.ศ. 1797) โดยนักเขียนและนักประวัติศาสตร์ชาวรัสเซีย นิโคไล มิไฮโลวิช คารามซิน (Nikolai Mikhailovich Karamzin) เพื่อลดความสับสนระหว่างการใช้ Е กับ О สำหรับแทนเสียงสระ // ที่ตามหลังพยัญชนะซึ่งถูกอ่านโดยเลื่อนขึ้นไปทางเพดานแข็ง อักษรนี้ใช้ในภาษารัสเซียและภาษาเบลารุส และใช้น้อยครั้งในกลุ่มภาษาสลาวิกอื่นๆ โดยปกติแล้วอักษร Ё จะออกเสียงเป็น // (โย) แต่เมื่อตามหลังพยัญชนะเสียงเสียดแทรก ฐานปุ่มเหงือก ได้แก่ Ж, Ч, Ш, และ Щ จะออกเสียงเป็น // (โอ) ธรรมดา นอกจากนั้นพยางค์ที่มีอักษรนี้อยู่จะเป็นเสียงเน้นหนักเสมอ (stress) ลักษณะของ Yo นั้นสามารถระบุได้ว่าเอามาจาก Ye ซึ่งเหมือนอักษรละติน E เว้นแต่ด้านบนจะมีเครื่องหมายเสริมอักษรเป็นจุดสองจุดเรียกว่า umlaut หรือ diaeresis ซึ่งไม่มีที่ใช้ทั่วไปในอักษรอื่นของภาษารัสเซีย เครื่องหมายนี้ถูกใช้เพื่อให้เกิดความแตกต่างกับ Ye เท่านั้น อักษร Ё ได้นำไปใช้ในงานเขียนครั้งแรกเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 แต่ก็ไม่ได้ใช้ให้เป็นมาตรฐานจนถึง พ.ศ. 2483-2492 (ค.ศ. 1940-1949) และยังมีคำทับศัพท์มากมายที่ใช้ ЙО แทนอักษร Ё แม้ว่าหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง อักษร Yo ที่ใช้กันอย่างทั่วไปในงานพิมพ์ ก็ถูกเปลี่ยนไปใช้อักษร Ye เพื่อให้ตัวหนังสือกลมกลืนไปด้วยกัน และปริบทจะเป็นตัวบ่งบอกให้ผู้อ่านเองว่าควรจะออกเสียงอย่างไร แต่การใช้อักษรนี้ยังต้องจำเป็นต้องใช้ในการจัดทำพจนานุกรม หนังสือเรียน หรือตำราสำหรับชาวต่างประเทศ นักประพันธ์และนักวารสารศาสตร์บางท่าน อย่างเช่น อะเลคซันเดอร์ ซอลเจนิซืยน (Aleksandr Solzhenitsyn) หรือ ลีเตราตูร์นายากาเซตา (Literaturnaya Gazeta) ได้จัดพิมพ์หนังสือต่างๆ ด้วยอักษร Yo เสมอ และความเป็นจริงในการแทนอักษร Yo ด้วยอักษร Ye นั้น มักจะทำให้เกิดความสับสนให้กับผู้ที่ไม่ใช่ชาวรัสเซีย ซึ่งจะเกิดความยุ่งยากในการถ่ายทอดอักษรจากภาษารัสเซีย ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างหนึ่งคือนามสกุลของชาวรัสเซียที่มักจะลงท้ายด้วย -ев (-ev) และ -ёв (-ov) อย่างผู้นำสองท่านที่ชื่อว่า ฮรูชอฟ (Khrushchev) กับ กอร์บาชอฟ (Gorbachev) ซึ่งนามสกุลของท่านนั้นลงท้ายด้วย -ёв และควรจะถ่ายอักษรด้วย -ov สำหรับภาษาเบลารุส ชาวเบลารุสเห็นว่าการแทนอักษร Yo ด้วยอักษร Ye นั้นไม่เหมาะสม จึงยังคงใช้อักษรนี้เป็นปรกต.

ใหม่!!: อักษรละตินและЁ · ดูเพิ่มเติม »

А

อา (А, а) เป็นอักษรตัวแรกในอักษรซีริลลิก มีพัฒนาการโดยตรงมาจากอักษรกรีก แอลฟา ในอักษรซีริลลิกยุคเก่า อักษรตัวนี้มีชื่อว่า azǔ และมีค่าของตัวเลขเท่ากับ 1 ในหลายๆ ภาษาที่ใช้อักษรซีริลลิก เช่น ภาษารัสเซีย ภาษาเซอร์เบีย ภาษามาซิโดเนีย และภาษาบัลแกเรีย อ่านอักษรนี้ว่า // (อา) บางครั้งอาจจะอ่านเป็น // (อา ปากกว้าง) หรือ // (เออ) ในภาษาอย่างเช่น ภาษาอิงกุช หรือ ภาษาเชอเชน ในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา อักษรนี้มีหลากหลายลักษณะ แต่ทุกวันนี้ถูกทำให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน จึงดูเหมือนอักษรละติน A (รวมทั้งรูปแบบตัวเอนด้วย).

ใหม่!!: อักษรละตินและА · ดูเพิ่มเติม »

Н

En (Н, н) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้แทนเสียง // เหมือน n ในภาษาอังกฤษ หรือ น ในภาษาไทย แต่จะเปลี่ยนเป็น // เมื่ออักษรตัวนี้อยู่ก่อนหน้าสระที่เลื่อนเสียงไปทางเพดานแข็ง อักษรนี้มีลักษณะเหมือนกับอักษรละติน H ทั้งตัวเล็กและตัวใหญ่ อักษรนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก นิว (Ν, ν) ซึ่งมีชื่อเดิมคือ našǐ และมีค่าเลขซีริลลิกเท่ากับ 50.

ใหม่!!: อักษรละตินและН · ดูเพิ่มเติม »

Р

Er (Р, р) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก โร ซึ่งมีรูปร่างเหมือนอักษรตัวใหญ่ อีกทั้งยังเหมือนอักษรละติน P อีกด้วย อักษรนี้มีชื่อเดิมว่า rǐci และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 100 อักษรนี้ใช้แทนเสียง // เหมือน ร ในภาษาไทย (เสียงรัวลิ้น) และกลายเป็น // เมื่ออยู่หน้าสระที่ออกเสียงเลื่อนไปทางเพดานแข็ง การเขียนอักษรละติน R ซึ่งมีขีดเพิ่มขึ้นมาทางด้านล่าง เป็นการทำให้เกิดความแตกต่างกับอักษรละติน P ที่กำหนดโดยชาวโรมัน ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับรูปร่างของอักษร Er.

ใหม่!!: อักษรละตินและР · ดูเพิ่มเติม »

С

Es (С, с) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียง // เหมือน s ในภาษาอังกฤษ หรือ ซ ในภาษาไทย หรือเปลี่ยนเป็น // เมื่อสะกดด้วยสระที่เลื่อนเสียงไปทางเพดานแข็ง อักษรตัวนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ซิกมา ที่มีรูปร่างคล้ายจันทร์เสี้ยวซึ่งมีใช้ในยุคกลาง เรียกว่า ลูเนตซิกมา (Ϲ, ϲ) อักษรนี้ยังมีลักษณะเหมือนอักษรละติน C แต่ไม่มีความเกี่ยวข้องกันแต่อย่างใด ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ slovo และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 200.

ใหม่!!: อักษรละตินและС · ดูเพิ่มเติม »

Т

Te (Т, т) คืออักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียง // เหมือน t ในภาษาอังกฤษ หรือ ต หรือ ท ในภาษาไทย หรือเปลี่ยนเป็น // เมื่อสะกดด้วยสระที่เลื่อนเสียงไปทางเพดานแข็ง อักษรตัวนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก เทา ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ tvr̥do และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 300.

ใหม่!!: อักษรละตินและТ · ดูเพิ่มเติม »

Ф

Ef (Ф, ф) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียง // เหมือน f ในภาษาอังกฤษหรือ ฟ ในภาษาไทย อักษรนี้มีวิวัฒนาการโดยตรงมาจากอักษรกรีก ไฟ และใช้แทนอักษร Fita (Ѳ) ตั้งแต่ พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) ซึ่งเคยมีใช้ในภาษารัสเซีย อักษรตัวนี้สามารถถ่ายอักษรให้เป็น f ไม่ใช่ ph ถึงแม้ว่าอักษรละติน F จะมีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ไดแกมมา (Ϝ) ที่เลิกใช้ไปแล้วก็ตาม และไม่เกี่ยวข้องกับอักษรกรีก ไฟ แต่อย่างใด อักษร Ef มีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 500 และมีชื่อเดิมคือ fr̤̥tǔ.

ใหม่!!: อักษรละตินและФ · ดูเพิ่มเติม »

Х

Kha หรือ Ha (Х, х) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียง // เหมือนเสียงของ ch ในคำว่า Bach ของภาษาเยอรมัน แต่เมื่ออักษรตัวนี้สะกดตามมาด้วยสระที่ออกเสียงเลื่อนไปทางเพดานแข็ง จะออกเสียงเป็น // ซึ่งมักจะออกเสียงรวมไปกับพยางค์อื่นแทนที่จะออกเสียงแยกกัน อักษรตัวนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ไค (Χ, χ) มีรูปร่างเหมือนอักษรละติน X ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ xěrǔ และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 600.

ใหม่!!: อักษรละตินและХ · ดูเพิ่มเติม »

Ц

Tse (Ц, ц) คืออักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง มีลักษณะคล้ายอักษรละติน U ที่เป็นเหลี่ยมและมี "ติ่ง" ที่มุมล่างขวา ใช้แทนเสียง เหมือนในคำว่า cats ในภาษาอังกฤษ อักษร Tse เป็นอักษรตัวที่ 23 ในภาษารัสเซีย และถูกพิจารณาว่ามีพัฒนาการมาจากอักษรฮีบรู Tsadi ในลักษณะของอักษรท้ายคำ (ץ) และอักษรกลาโกลิต Tsi (รูปภาพ: 14px) อักษรนี้มีชื่อเดิมว่า ci หรือ tsi และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 900 อักษร Tse สามารถถ่ายอักษรได้เป็น ts แต่อย่างไรก็ดี ชื่อเฉพาะบางอย่างอาจถ่ายอักษรเป็น c, z, cz หรือ tz ก็มี สำหรับภาษารัสเซีย คำที่ใช้อักษรนี้ส่วนใหญ่เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น โดยเฉพาะคำในภาษาละตินที่มีอักษร C เช่น цирк (circus), центр (center) และภาษาเยอรมันที่มีอักษร Z เช่น плац (Platz), цинк (Zink) เป็นต้น ส่วนคำที่เป็นภาษารัสเซียแท้ก็พบได้น้อย อย่างเช่น царь (Tsar) และแทบจะไม่ปรากฏเลยในภาษาสลาวิกยุคเริ่มแรก ตามอักขรวิธีของภาษารัสเซีย อักษร Ц แทบจะไม่ถูกต่อท้ายด้วย Ы เว้นแต่จะเป็นจำนวนพหูพจน์ หรือคำคุณศัพท์บอกจำนวน.

ใหม่!!: อักษรละตินและЦ · ดูเพิ่มเติม »

Ч

Che หรือ Cherv (Ч, ч) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง มีลักษณะคล้ายอักษรละติน h ตัวเล็กที่กลับหัว ใช้แทนเสียง เหมือนทวิอักษร ch ในภาษาอังกฤษ (คล้าย ช) บางครั้งก็ออกเสียงเป็น เหมือน จ ในภาษาไทย อักษรนี้ยังไม่ทราบพัฒนาการที่แน่ชัด บ้างก็เข้าใจว่าเป็นอักษรรูปหนึ่งที่เพี้ยนมาจาก Ц หรือ Ҁ อักษรนี้มีชื่อเดิมคือ čr̤̥vǐ ปัจจุบันใช้แทนค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 90 แทนอักษร Ҁ ที่เลิกใช้ไปแล้ว "Ч" ในภาษาอังกฤษจะถอดเป็น "ch" หรือบางทีจะถอดเป็น "tch" ถ้าอยู่เป็นตัวแรก ส่วนภาษาเยอรมันจะถอดเป็น "tch".

ใหม่!!: อักษรละตินและЧ · ดูเพิ่มเติม »

Ш

Sha (Ш, ш) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้แทนเสียงพยัญชนะ // หรือ // ซึ่งออกเสียงคล้ายกับ sh ในภาษาอังกฤษ ch ในภาษาฝรั่งเศส sch ในภาษาเยอรมัน ş ในภาษาตุรกี หรือ sz ในภาษาโปแลนด์ ส่วนกลุ่มภาษาสลาวิกที่ใช้อักษรละตินจะเขียนอักษร š แทนเสียงดังกล่าว ซึ่งนักภาษาศาสตร์ก็ใช้อักษร š สำหรับถ่ายอักษร Ш ไปเป็นอักษรละตินเช่นกัน ลักษณะตัวพิมพ์ของอักษรนี้มีรูปร่างคล้ายอักษรละติน W หรือเหมือนยิ่งกว่าโดยนำอักษร E มาวางตะแคง อักษร Ш ถูกใช้ในทางที่หลากหลาย อย่างในทางคณิตศาสตร์ Tate-Shafarevich group จะใช้สัญลักษณ์เป็น Ш ซึ่งแนะนำให้ใช้เป็นครั้งแรกโดย เจ. ดับบลิว. เอส. แคสเซลส์ (ก่อนหน้านั้นใช้สัญลักษณ์ TS ซึ่งไม่ได้มีความหมายอะไรพิเศษ) และในอีกทางหนึ่ง รูปแบบของกราฟที่คล้ายอักษร Ш และได้ชื่อว่า Shah function ก็เป็นส่วนหนึ่งของฟังก์ชัน Dirac comb สัทอักษร // เป็นการอธิบายเสียงเสียดแทรกหลังปุ่มเหงือกแบบไม่ก้อง เนื่องจากเสียงประเภทนี้เป็นสาเหตุหลักที่อักษรกลาโกลิตและอักษรซีริลลิกต้องประดิษฐ์ขึ้น เพราะเสียงเหล่านี้ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปของอักษรละตินหรืออักษรกรีก โดยที่ไม่ใช้เครื่องหมายเสริมอักษรหรือทวิอักษรได้ ภาษาในกลุ่มสลาวิกจึงมีอักษรแทนเสียงเสียดแทรกและเสียงกึ่งเสียดแทรกมากมาย และอักษร Sha เองก็เป็นหนึ่งในนั้น.

ใหม่!!: อักษรละตินและШ · ดูเพิ่มเติม »

Э

E หรือ E Oborotnoye (Э, э) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก มีใช้ในภาษารัสเซียและภาษาในกลุ่มสลาวิกเป็นส่วนมาก ยกเว้นภาษายูเครน อักษรนี้ใช้แทนเสียงสระ // (เอ).

ใหม่!!: อักษรละตินและЭ · ดูเพิ่มเติม »

Ј

Je (Ј, ј) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิกมีใช้เฉพาะในภาษาเซอร์เบีย ภาษามาซิโดเนีย ภาษาอาเซอร์ไบจาน และภาษาอัลไต มีรูปร่างคล้ายอักษรละติน J ใช้แทนเสียงของอักษร Й แบบดั้งเดิมคือ // (ย).

ใหม่!!: อักษรละตินและЈ · ดูเพิ่มเติม »

И

I หรือ Y (И, и) บางครั้งก็เรียกว่า Octal I เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ออกเสียงสระ // (อี) ในภาษารัสเซียและ // (อิ) ในภาษายูเครน แต่ไม่มีในภาษาเบลารุส อักษรนี้มีลักษณะคล้ายอักษรละติน N ตัวใหญ่ที่เขียนกลับข้าง อักษรนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก อีตา ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ iže และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 8 อักษร И เมื่อต้องการถ่ายอักษรจะใช้ I สำหรับภาษารัสเซีย และใช้ Y หรือ I สำหรับภาษายูเครน.

ใหม่!!: อักษรละตินและИ · ดูเพิ่มเติม »

Ж

Zhe (Ж, ж) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก ที่ใช้แทนเสียง เหมือนเสียง s ในคำว่า treasure ของภาษาอังกฤษ หรือ ż ในภาษาโปแลนด์ Zhe เป็นอักษรตัวที่ 7 ของภาษาบัลแกเรีย เป็นอักษรตัวที่ 8 ของภาษาเบลารุส ภาษามาซิโดเนีย ภาษารัสเซีย และภาษาเซอร์เบีย และเป็นอักษรตัวที่ 9 ของภาษายูเครน อักษรตัวนี้ยังใช้ในกลุ่มภาษาอื่นที่ไม่ใช่สลาวิกเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งออกเสียงเป็น หรือ ในอักษรซีริลลิกโบราณ Ж เป็นอักษรตัวที่ 7 มีชื่อเดิมคือ živěte แต่ไม่มีค่าของเลขซีริลลิก กบที่มีลักษณะ คล้ายอักษร Ж ปัจจุบันยังไม่ทราบว่าอักษรนี้มีพัฒนาการมาอย่างไร เนื่องจากไม่มีอักษรกรีก หรืออักษรละติน หรืออักษรในภาษาอื่นที่คล้ายกันเลย แม้ว่าจะมีอักษรกลาโกลิต Zhivete ในสมัยก่อนที่ใช้แทนเสียง และมีรูปร่างคล้ายกันก็ตาม (รูปภาพ: 14px) อย่างไรก็ตาม จุดกำเนิดของ Zhivete นั้นยังคลุมเครือเหมือนอักษรกลาโกลิตอื่นๆ ความเป็นไปได้อย่างหนึ่งคือ อักษร Zhe อาจประกอบด้วยอักษรฮีบรู Shin (ש) สองอันต่อกันโดยที่ส่วนล่างกลับหัว ซึ่งอักษรฮีบรูตัวนี้เป็นต้นกำเนิดของ Sha (Ш, ш) อยู่แล้ว อักษร Zhe บ่อยครั้งมักจะถูกถ่ายอักษรเป็น zh หรือ zx ซึ่งพบได้ยากกว่า เว้นแต่ภาษาเซอร์เบีย ภาษามาซิโดเนีย และระบบการถ่ายทอดอักษรบางระบบของภาษาบัลแกเรีย จะใช้ ž หรือ z แทน อักษร Zhe ยังเป็นอักษรตัวแรกสำหรับเยาวชนที่ต้องการศึกษากลุ่มภาษาสลาวิก เนื่องจากอักษรตัวนี้มีลักษณะคล้ายลูกอ๊อดของกบในช่วงเปลี่ยนรูปร่าง อีกทั้งในกลุ่มภาษาเหล่านี้ คำที่มีความหมายว่า กบ หรือ ลูกอ๊อด จะเขียนเป็น жаба (zhaba จาบา) อีกด้ว.

ใหม่!!: อักษรละตินและЖ · ดูเพิ่มเติม »

З

Ze (З, з) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้แทนเสียง // เหมือนภาษาทั่วไปที่ใช้อักษรละติน z อักษรตัวนี้มักจะทำให้สับสนได้ง่ายกับเลขอารบิก 3 และอักษร E (Э, э) ของภาษารัสเซีย อักษร Ze มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ซีตา ชื่อดั้งเดิมของอักษรนี้คือ zemlja และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 7.

ใหม่!!: อักษรละตินและЗ · ดูเพิ่มเติม »

Б

Be (Б, б) เป็นอักษรตัวที่ 2 ในอักษรซีริลลิก ออกเสียงเป็น // เหมือนกับ b ในภาษาอังกฤษหรือ บ ในภาษาไทย ในภาษารัสเซียบางครั้งอักษรตัวนี้อ่านเป็น // ที่ไร้เสียงที่ตำแหน่งสุดท้ายของคำหรือพยัญชนะที่ไม่ออกเสียง หรืออ่านเป็น // ที่หน้าเสียงสระซึ่งเลื่อนไปทางเพดานแข็งในช่องปาก ตัวอักษรนี้มีลักษณะคล้ายเลข 6 และไม่ควรจำสับสนกับ Ve (В, в) ที่ซึ่งมีรูปร่างเหมือนอักษรละติน B อักษรทั้งสองนี้ต่างก็มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก บีตา เหมือนกัน เมื่อตัวอักษรนี้ถูกเขียนด้วยลายมือ อักษร б ตัวเล็กจะดูคล้ายกับอักษรกรีก เดลตา ตัวเล็ก (δ) ชื่อเดิมของตัวอักษรนี้คือ bukū และไม่มีค่าทางตัวเลข เนื่องจากอักษร В ได้รับการนับเลขซีริลลิกจากอักษรกรีกไปแล้ว ดังนั้นอักษร Б จึงไม่มีค่าใ.

ใหม่!!: อักษรละตินและБ · ดูเพิ่มเติม »

В

Ve (В, в) เป็นอักษรตัวที่ 3 ในอักษรซีริลลิก อ่านได้เป็นเสียง // และมีรูปร่างเหมือนอักษรละติน B แต่ออกเสียงต่างกัน อักษรตัวนี้และ Б มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก บีตา ซึ่งมีการใช้แทนเสียง // ของภาษากรีกในเวลาใกล้เคียงกับสมัยที่อักษรซีริลลิกถูกสร้างขึ้น ชื่อเดิมของอักษรตัวนี้คือ vědě และมีค่าตัวเลขเท่ากับ 2 ในระบบเลขซีริลลิก ในภาษารัสเซีย อักษรตัวนี้ออกเสียงเหมือน // เหมือนภาษาอังกฤษ ยกเว้นเมื่ออักษรตัวนี้ปรากฏท้ายคำจะเป็น // ที่ไร้เสียง หรืออ่านเป็น // ก่อนเสียงสระซึ่งเลื่อนไปทางเพดานแข็ง ในการออกเสียงภาษายูเครนแบบมาตรฐาน (ซึ่งมีสำเนียงโพลทาวาเป็นฐาน) อักษร В จะออกเสียงเป็น // ในภาษาอังกฤษ (เหมือนมี ว สะกด) เมื่ออยู่ที่ท้ายคำ เช่น Владислав แปลงเป็นอักษรละตินจะได้ Vladyslaw อ่านว่า วลาดีสลาว แต่สำหรับชาวยูเครนกลุ่มหนึ่ง จะออกเสียงอักษรนี้เป็น // เสมอไม่ว่าจะปรากฏอยู่ที่ใด ในภาคตะวันออกของประเทศยูเครน อักษร В อาจจะถูกอ่านเป็น // ที่ไร้เสียงให้คล้ายกับภาษารัสเซีย ซึ่งไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ยกตัวอย่างคำว่า сказав ภาษายูเครนมาตรฐานจะอ่านว่า skazaw สคาซาว ในขณะที่ภาคตะวันออกจะอ่านว่า skazaf สคาซาฟ ในภาษาเบลารุส อักษร В จะออกเสียงเป็น // เท่านั้น แต่เมื่ออักษรตัวนี้ไปปรากฏอยู่ท้ายคำหรือหน้าพยัญชนะอีกตัวจะเปลี่ยนรูปเป็นอักษร Ў ซึ่งเป็นอักษรที่มีใช้ในภาษานี้เท่านั้นที่แทนเสียง // ตัวอย่าง คำศัพท์ мова (mova โมวา) ที่เป็นคำนาม เมื่อเปลี่ยนรูปไปเป็นคำคุณศัพท์จะกลายเป็น моўный (mownyy โมวนืยอี) และคำนามที่เป็นพหูพจน์จะกลายเป็น моў (mow โมว).

ใหม่!!: อักษรละตินและВ · ดูเพิ่มเติม »

Ђ

Dje (Ђ, ђ) เป็นอักษรตัวหนึ่งของอักษรซีริลลิก มีใช้เฉพาะภาษาเซอร์เบียเป็นตัวอักษรลำดับที่ 6 อักษรนี้ใช้แทนเสียง ซึ่งดัดแปลงมาจาก Tshe (Ћ, ћ) โดย วุก สเตฟาโนวิจ คารัดซิจ (Vuk Stefanović Karadžić) เพื่อใช้แปลงศัพท์ที่สะกดด้วยอักษร Gje (Ѓ, ѓ) ของภาษามาซิโดเนีย สำหรับชื่อ Dje เป็นเพียงชื่อที่ตั้งขึ้นชั่วคราว เนื่องจากอักษรของภาษาเซอร์เบียไม่มีชื่อเรียกอยู่แล้ว เมื่อต้องการสะกดทีละตัว อักษรนี้จึงจะอ่านว่า Dje สามารถถ่ายอักษรให้คล้ายอักษรละตินได้เป็น Đ, đ หรือบ่อยครั้งก็แปลงเป็น dj ซึ่งมีผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่ามันไม่ค่อยจะถูกต้องนัก.

ใหม่!!: อักษรละตินและЂ · ดูเพิ่มเติม »

Д

De (Д, д) เป็นอักษรตัวหนึ่งของอักษรซีริลลิก อักษรตัวนี้ใช้ออกเสียง // เหมือนเสียง d ในภาษาอังกฤษ หรือ ด ในภาษาไทย แต่เมื่อไปปรากฏเป็นตัวสุดท้ายของคำจะกลายเป็น // ที่ไม่ออกเสียง และกลายเป็น // เมื่ออยู่ก่อนหน้าเสียงสระเพดานแข็ง อักษร Д มีพัฒนาการโดยตรงมาจากอักษรกรีก เดลตา ลักษณะแตกต่างที่เห็นได้ชัดจากเดลตาคืออักษรนี้มี "เท้า" อยู่ที่มุมด้านล่าง อย่างไรก็ตาม อักษรตัวนี้สามารถเขียนได้สองรูปแบบคือ ยอดด้านบนที่ตัดเป็นเหลี่ยม หรือยอดมุมแหลมเหมือนเดลตา สำหรับอักษร El (Л, л) ก็เขียนในลักษณะนี้เช่นกัน อักษรนี้มีชื่อเดิมว่า dobro และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 4.

ใหม่!!: อักษรละตินและД · ดูเพิ่มเติม »

Е

Ye หรือ E (Е, е) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก มีรูปร่างลักษณะเหมือนอักษรละติน E มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก เอปไซลอน ชื่อเดิมของตัวอักษรนี้คือ estǐ และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 5 ในภาษาบัลแกเรีย ภาษามาซิโดเนีย ภาษาเซอร์เบีย และภาษายูเครน จะเรียกอักษรนี้ว่า "E" และใช้แทนเสียง // หรือ // (เอ หรือ แอ) ส่วนภาษาเบลารุสและภาษารัสเซีย จะเรียกตัวอักษรนี้ว่า "Ye" และใช้แทนเสียงสระที่เลื่อนขึ้นไปทางเพดานแข็ง โดยอ่านเป็น /, / หรือ /, / (เย หรือ แย) ให้ควบเสียงเข้ากับพยัญชนะที่อยู่ข้างหน้า แต่เสียงที่เปล่งออกมานั้นไม่ค่อยมีความแตกต่างจาก "E" มากนัก สำหรับภาษายูเครน เมื่อต้องการอ่านเสียงให้เป็น "Ye" จะเปลี่ยนไปใช้ Є แทน.

ใหม่!!: อักษรละตินและЕ · ดูเพิ่มเติม »

Ѕ

Dze (Ѕ, ѕ) คืออักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้เฉพาะในภาษามาซิโดเนียและภาษาเชิร์ชสลาโวนิก มีลักษณะคล้ายอักษรละติน S และออกเสียงเป็น เหมือนในคำว่า kids ของภาษาอังกฤษ อักษรตัวนี้เป็นเสียงโฆษะคู่กับ Tse (Ц, ц) เนื่องจากอักษร Dze มีพัฒนาการมาจากอักษรกลาโกลิต Dzelo (รูปภาพ: 14px) อักษรนี้จึงมีชื่อเดิมเป็น dzělo ตามอักษรกลาโกลิต แต่ก่อนหน้านั้นยังมีความคลุมเครือเกี่ยวกับที่มา อักษรนี้ยังใช้แทนค่า 6 ในระบบเลขซีริลลิกอีกด้วย อักษรนี้เดิมเคยมีใช้ในภาษารัสเซีย แต่ถูกตัดออกหลังจากการปฏิรูปอักขรวิธีของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: อักษรละตินและЅ · ดูเพิ่มเติม »

Ћ

Tshe (Ћ, ћ) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง มีใช้เฉพาะภาษาเซอร์เบียเป็นตัวอักษรลำดับที่ 23 ใช้แทนเสียง เหมือน จ ในภาษาไทย อักษรนี้เป็นอักษรที่มีมาแต่ดั้งเดิมและยังคงอยู่หลังจาก วุก สเตฟาโนวิจ คารัดซิจ (Vuk Stefanović Karadžić) ได้มีการปฏิรูปอักขรวิธีใหม่ สำหรับชื่อ Tshe เป็นเพียงชื่อที่ตั้งขึ้นชั่วคราว เนื่องจากอักษรของภาษาเซอร์เบียไม่มีชื่อเรียกอยู่แล้ว เมื่อต้องการสะกดทีละตัว อักษรนี้จึงจะอ่านว่า Tshe สามารถถ่ายอักษรให้คล้ายอักษรละตินได้เป็น ć หรือ c แต่ก็มีส่วนน้อยที่ถ่ายอักษรเป็น tj, ty, cj, cy, ch และ tch.

ใหม่!!: อักษรละตินและЋ · ดูเพิ่มเติม »

26

26 (ยี่สิบหก) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 25 (ยี่สิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 27 (ยี่สิบเจ็ด).

ใหม่!!: อักษรละตินและ26 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Latin alphabetอักษรลาตินอักษรอังกฤษอักษรโรมันตัวอักษรละติน🔤

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »