โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อะซิโตนเพอร์ออกไซด์

ดัชนี อะซิโตนเพอร์ออกไซด์

อะซิโตนเพอร์ออกไซด์ อะซิโตนเพอร์ออกไซด์ (อังกฤษ:acetone peroxide) เป็นสารประกอบจากอะซิโตน และไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ มีคุณสมบัติไวต่อความร้อนและความสั่นสะเทือน ซึ่งเมื่อได้รับความร้อนหรือความสั่นสะเทือนเพียงเล็กน้อย จะทำให้พันธะระหว่างออกซิเจนที่เกาะตัวกันอย่างหลวมๆ แตกตัวออก และเกิดแรงอัดของแก๊สจำนวนมากออกมา ทำให้เกิดการระเบิด อะซิโตนเพอร์ออกไซด์ มีลักษณะเป็นผลึกคล้ายกับน้ำตาล ทำให้ตรวจจับยาก และสามารถผลิตด้วยสารตั้งต้นที่หาได้ง่าย ประกอบด้วยอะซิโตน ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ และกรดไฮโดรคลอริก หรือกรดซัลฟิวริก จึงเป็นที่นิยมในหมู่ผู้ก่อการร้าย อะซิโตนเพอร์ออกไซด์ มีชื่อเรียกอีกหลายชื่อได้แก.

4 ความสัมพันธ์: ระเบิดแสวงเครื่องสิงหาคม พ.ศ. 2549เหตุระเบิดในบรัสเซลส์ พ.ศ. 2559เหตุโจมตีในปารีส เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558

ระเบิดแสวงเครื่อง

กระสุนปืนใหญ่สำหรับระเบิดแสวงเครื่องที่ตำรวจอิรักค้นพบในกรุงแบกแดดเมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2005 คูการ์คันนี้ในอัลอันบาร์ ประเทศอิรัก ถูกโจมตีโดยตรงจากระเบิดแสวงเครื่อง ที่มีขนาดประมาณ 300-500 ปอนด์ ระเบิดแสวงเครื่อง (Improvised explosive device; อักษรย่อ: IED) เป็นระเบิดที่สร้างขึ้นและใช้งานในรูปแบบอื่นนอกเหนือจากการปฏิบัติการทางการทหารแบบเดิม ๆ มันอาจจะสร้างขึ้นจากวัตถุระเบิดทางทหารตามแบบแผน เช่น ปืนใหญ่แนบกับกลไกการระเบิด ซึ่งระเบิดแสวงเครื่องมักใช้เป็นระเบิดข้างถนน ระเบิดแสวงเครื่องมักพบเห็นได้ในการกระทำของผู้ก่อการร้ายแบบรุนแรง หรือสงครามนอกแบบอสมมาตรโดยกองโจร หรือหน่วยคอมมานโดในปฏิบัติการเขตสงคราม ส่วนในสงครามอิรักครั้งที่สอง ระเบิดแสวงเครื่องถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวางต่อกองกำลังของสหรัฐ และในช่วงท้ายปี..

ใหม่!!: อะซิโตนเพอร์ออกไซด์และระเบิดแสวงเครื่อง · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อะซิโตนเพอร์ออกไซด์และสิงหาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดในบรัสเซลส์ พ.ศ. 2559

้าวันที่ 22 มีนาคม 2559 เกิดเหตุระเบิดตะปูไล่เลี่ยกันสามครั้งในประเทศเบลเยียม สองครั้งที่ท่าอากาศยานบรัสเซลส์ในซาเฟินเตม และอีกหนึ่งครั้งที่สถานีรถไฟใต้ดินมาลบีค/มาลเบคในกรุงบรัลเซลส์ จากเหตุดังกล่าว มีผู้เสียชีวิต 31 คนและมือระเบิดฆ่าตัวตาย 3 คน และมีผู้ได้รับบาดเจ็บ 300 คน พบระเบิดอีกลูกหนึ่งระหว่างการค้นหาท่าอากาศยาน ผู้ต้องสงสัยคนที่สี่กำลังหลบหนี องค์การรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ (ISIL) อ้างความรับผิดชอบสำหรับการโจมตีดังกล่าว เหตุระเบิดเหล่านี้เป็นการก่อการร้ายครั้งที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์เบลเยียม รัฐบาลเบลเยียมประกาศไว้ทุกข์ทั่วประเทศสามวัน.

ใหม่!!: อะซิโตนเพอร์ออกไซด์และเหตุระเบิดในบรัสเซลส์ พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุโจมตีในปารีส เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558

ในช่วงกลางคืนของวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 เกิดเหตุก่อการร้ายซึ่งประกอบด้วยการกราดยิง การระเบิดฆ่าตัวตาย และการจับตัวประกันในกรุงปารีสและเมืองแซ็ง-เดอนี (ย่านชานกรุงปารีสทางทิศเหนือ) ประเทศฝรั่งเศส เริ่มตั้งแต่เวลา 21:16 น. ตามเวลายุโรปกลาง เกิดเหตุกราดยิงผู้คน 6 จุด และระเบิดฆ่าตัวตายอีก 4 จุด รวมถึงที่บริเวณใกล้กับสตาดเดอฟร็องส์ (สนามกีฬาแห่งชาติ) ซึ่งกำลังมีการแข่งขันฟุตบอลนัดกระชับมิตรระหว่างทีมชาติฝรั่งเศสกับทีมชาติเยอรมนี การโจมตีที่ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดอยู่ที่โรงมหรสพบาตากล็อง (Bataclan) ที่ซึ่งผู้ก่อเหตุได้จับผู้ชมคอนเสิร์ตเป็นตัวประกันและเผชิญหน้ากับตำรวจจนสิ้นสุดลงเมื่อเวลา 00:58 น. ของวันที่ 14 พฤศจิกายน จากเหตุการณ์นี้ มีพลเรือนเสียชีวิตอย่างน้อย 153 คน โดย 89 คนในจำนวนนี้อยู่ที่โรงมหรสพบาตากล็อง และมีผู้ได้รับบาดเจ็บระหว่างเหตุโจมตีอีก 352 คน โดยมี 99 คนที่ได้รับการระบุว่ามีอาการสาหัส นอกจากพลเรือนที่ประสบความสูญเสียแล้วยังมีผู้ก่อเหตุเสียชีวิต 7 คน และทางการกำลังค้นหาผู้ร่วมก่อเหตุที่ยังหลบหนี ก่อนที่จะถูกโจมตี ฝรั่งเศสอยู่ในภาวะประกาศเตือนภัยขั้นสูงมาตั้งแต่เหตุโจมตีในแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 ซึ่งส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 17 คน ประกอบด้วยพลเรือนและเจ้าหน้าที่ตำรวจ ฟร็องซัว ออล็องด์ ประธานาธิบดีของฝรั่งเศสได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินระดับชาติเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เหตุจลาจลในปี พ.ศ. 2548 และได้ประกาศใช้มาตรการควบคุมชายแดนเป็นการชั่วคราว นอกจากนี้ยังสั่งห้ามบุคคลออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืนทั่วกรุงปารีสเป็นครั้งแรกนับตั้งแต..

ใหม่!!: อะซิโตนเพอร์ออกไซด์และเหตุโจมตีในปารีส เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

TATPTCAPอะซิโตนเปอร์ออกไซด์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »