เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ออสโล

ดัชนี ออสโล

แผนที่กรุงออสโล ออสโล (Oslo; ในภาษานอร์เวย์ออกเสียง อุสลู หรือ อุชลู) เป็นเมืองหลวงของประเทศนอร์เวย์ ออสโลมีประชากรประมาณ 811,688 (เมื่อ 1 มกราคม ค.ศ.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 168 ความสัมพันธ์: บทบาททางเพศบ็อบบี มัวร์ฟริดท์จอฟ นันเซนฟลอร์บอลชิงแชมป์โลกฟาสต์ฟุตบอลชายทีมชาติสหรัฐฟุตบอลทีมชาติซานมารีโนฟุตบอลทีมชาติแคเมอรูนฟุตบอลทีมชาติเช็กเกียฟุตบอลทีมชาติเยอรมนีฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนยุโรป – กลุ่ม ซีพ.ศ. 2549พ.ศ. 2551พ.ศ. 2554กริฟฟิน ไมนอสกอเทนเบิร์กการบินไทยการทัพนอร์เวย์การประกวดเพลงยูโรวิชันการใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซลการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์กีฬาผู้พิการทางการได้ยินโลกกีฬาโอลิมปิกภาษาซิมูลามิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016มิสเวิลด์ 2013มิสเวิลด์ 2015ม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ยัสเซอร์ อาราฟัตยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952รายชื่อระบบรถรางและรถไฟฟ้ารางเบารายชื่อระบบรถไฟในเมืองรายชื่อตอนในสารคดี ๑๐๐ ปี ไกลบ้าน ตามเสด็จพระพุทธเจ้าหลวงรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อเทศบาลในประเทศนอร์เวย์รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษรายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิกรายพระนามและรายนามผู้จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิกรายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกรางวัลโนเบลรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพรถไฟใต้ดินออสโลลุยส์ ซัวเรซวันเดอร์ฟูลทาวน์วิดคัน ควิสลิงสมาคมโรคมะเร็งแห่งประเทศนอร์เวย์สมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์... ขยายดัชนี (118 มากกว่า) »

บทบาททางเพศ

ทบาททางเพศ (gender role หรือ sex role) คือบทบาททางสังคม ครอบคลุมทั้งพฤติกรรมและทัศนคติของแต่ละคนที่เชื่อว่าเหมาะสม เป็นที่ยอมรับและน่าชื่นชมโดยใช้เพศสภาพเป็นตัวกำหนด บทบาททางเพศนั้นเน้นแนวคิดของความเป็นผู้หญิงและความเป็นผู้ชาย แม้ว่าจะมีข้อยกเว้นและรูปแบบหลากหลาย ซึ่งอาจแตกต่างไปแล้วแต่วัฒนธรรม หลายกลุ่มโดยเฉพาะกลุ่มเคลื่อนไหวสิทธิสตรีพยายามเปลี่ยนแปลงบทบาททางเพศนี้ที่พวกเขาเชื่อว่าเป็นการกดขี่หรือไม่ถูกต้อง.

ดู ออสโลและบทบาททางเพศ

บ็อบบี มัวร์

รอเบิร์ต เฟรเดอริก เชลซี "บ็อบบี" มัวร์ โอบีอี (Robert Frederick Chelsea "Bobby" Moore; 12 เมษายน ค.ศ. 1941 – 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1993) เป็นอดีตนักฟุตบอลชาวอังกฤษ ผู้ทำหน้าที่กัปตันทีมเวสต์แฮมยูไนเต็ด มากกว่า 10 ปี และเป็นกัปตันทีมชาติอังกฤษ ในชุดชนะเลิศฟุตบอลโลก 1966 เขาได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในกองหลังที่ดีที่สุดตลอดกาล และถูกกล่าวถึงโดยเปเล่ ว่าเป็นกองหลังที่ดีที่สุดตั้งแต่ที่ตนเองได้เล่นมา มัวร์ลงเล่นให้กับทีมชาติอังกฤษเป็นจำนวน 108 นัด ในช่วงเวลาที่เขาเลิกเล่นให้กับทีมชาติในปี..

ดู ออสโลและบ็อบบี มัวร์

ฟริดท์จอฟ นันเซน

ฟริดท์จอฟ เวเดล จาร์ลสเบิร์ก นันเซน (Fridtjof Wedel-Jarlsberg Nansen) เกิดเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ปี พ.ศ. 2404 ที่หมู่บ้านโฟรน ใกล้เมืองคริสเตียนเนีย ประเทศนอร์เวย์ และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ปี พ.ศ.

ดู ออสโลและฟริดท์จอฟ นันเซน

ฟลอร์บอลชิงแชมป์โลก

ฟลอร์บอลชิงแชมป์โลก (Floorball World Championships) เป็นการแข่งขันฟลอร์บอลระหว่างประเท.

ดู ออสโลและฟลอร์บอลชิงแชมป์โลก

ฟาสต์

ฟาสต์ (FAST คำย่อแบบกล่าวซ้ำจาก Fast Search & Transfer) เป็นบริษัทเทคโนโลยีสารสนเทศจากออสโล ประเทศนอร์เวย์ ในด้านการค้นหาข้อมูล ก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู ออสโลและฟาสต์

ฟุตบอลชายทีมชาติสหรัฐ

ฟุตบอลชายทีมชาติสหรัฐ (United States men's national soccer team) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของสหรัฐในการการแข่งขันฟุตบอลระดับชาติ ควบคุมโดยสหพันธ์ฟุตบอลสหรัฐ โดยเป็นทีมชาติในภูมิภาคคอนคาแคฟ ทีมชาติสหรัฐเคยลงแข่งขันในฟุตบอลโลกทั้งหมด 10 สมัย โดยเป็นเจ้าภาพในฟุตบอลโลก 1994 นอกจากนี้ยังลงแข่งขันในรายการคอนเฟเดอเรชันส์คัพ, คอนคาแคฟ โกลด์คัพ และเป็นทีมชาติรับเชิญในการแข่งขันโคปาอเมริกา โดยผลงานที่ดีที่สุดของทีมชาติสหรัฐคือการคว้าอันดับ 3 ในฟุตบอลโลก 1930 ที่ประเทศอุรุกวัย ซึ่งถือได้ว่าเป็นผลงานที่ดีที่สุดในฟุตบอลโลกของทีมที่ไม่ได้มาจากทวีปยุโรปและอเมริกาใต้จวบจนปัจจุบัน แม้ว่าฟุตบอลจะเป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมน้อยเทียบกับกีฬาประเภทอื่น ทีมชาติสหรัฐได้อันดับโลกฟีฟ่าที่ 32 ของโลก และอันดับหนึ่งของภูมิภาค ผลงานของทีมสหรัฐได้อันดับสูงสุดคืออันดับที่สามในฟุตบอลโลก 1930 ในการแข่งขันโอลิมปิก ได้หนึ่งเหรียญเงินและหนึ่งเหรียญทองแดง สำหรับในระดับภูมิภาคทีมอเมริกาได้ชนะเลิศโกลด์คัพมาแล้ว 5 ครั้ง.

ดู ออสโลและฟุตบอลชายทีมชาติสหรัฐ

ฟุตบอลทีมชาติซานมารีโน

ฟุตบอลทีมชาติซานมารีโน (Nazionale di calcio di San Marino) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของสาธารณรัฐซานมารีโน ควบคุมและบริหารงานโดยสหพันธ์ฟุตบอลซ​​านมารีโน (FSGC) โดยเป็นชาติสมาชิกที่มีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับสองของยูฟ่า รองจากทีมชาติยิบรอลตาร์ ทีมชาติซานมารีโนลงแข่งขันอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน..1990 ในรายการฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1992 รอบคัดเลือก โดยแพ้ให้กับทีมชาติสวิตเซอร์แลนด์ 0–4 ซึ่งก่อนหน้าการแข่งขันนัดดังกล่าวทีมชาติซานมารีโนเคยลงแข่งขันอย่างไม่เป็นทางการกับทีมชาติแคนาดาชุดโอลิมปิกและแพ้ไป 0–1 หลังจากลงแข่งขันอย่างเป็นทางการ ทีมชาติซานมารีโนก็ได้เข้าร่วมลงแข่งขันในรอบคัดเลือกของฟุตบอลโลกและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปอยู่ทุกสมัย แต่ยังไม่เคยประสบกับชัยชนะเลยแม้แต่นัดเดียว โดยชัยชนะเพียงครั้งเดียวในประวัติศาสตร์ของทีมชาติซานมารีโนเกิดขึ้นเมื่อเดือนเมษายน..2004 ในการแข่งขันฟุตบอลนัดกระชับมิตรกับทีมชาติลิกเตนสไตน์ ซึ่งซานมารีโนเอาชนะไปได้ 1–0 ในเดือนพฤศจิกายน..2014 ทีมชาติซานมารีโน เคยถูกจัดให้อยู่ในอันดับสุดท้ายของอันดับโลกฟีฟ่าร่วมกับทีมชาติภูฏาน และมักจะถูกวิจารณ์ให้เป็นทีมชาติที่มีผลงานย่ำแย่ที่สุดในวงการกีฬาอยู่เสมอๆ โดยนับตั้งแต่ที่ก่อตั้งทีมชาติมาประสบกับชัยชนะเพียงแค่ครั้งเดียวซึ่งเป็นการแข่งขันนัดกระชับมิตร เสียประตูไปแล้วมากเกินกว่า 600 ลูก และยิงประตูได้เพียง 23 ประตู มีค่าเฉลี่ยในการเสียประตูมากถึงนัดละ 4 ประตู.

ดู ออสโลและฟุตบอลทีมชาติซานมารีโน

ฟุตบอลทีมชาติแคเมอรูน

ฟุตบอลทีมชาติแคเมอรูน (Cameroon national football team) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศแคเมอรูน อยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลแคเมอรูน และเป็นทีมจากแอฟริกาที่ประสบความสำเร็จที่สุด โดยทีมชาติแคเมอรูนเข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลโลก 6 ครั้ง คือในปี 1982, 1990, 1994, 1998, 2002 และ 2010 มากกว่าชาติใดในแอฟริกา นอกจากนั้นยังเป็นทีมที่เข้ารอบ 8 ทีมสุดท้ายในฟุตบอลโลก โดยในปี 1990 ทีมชาติแคเมอรูนพ่ายให้กับฟุตบอลทีมชาติอังกฤษในช่วงต่อเวลาพิเศษ พวกเขาชนะการแข่งขันแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 4 ครั้ง และยังได้รเหรียญทองในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2000.

ดู ออสโลและฟุตบอลทีมชาติแคเมอรูน

ฟุตบอลทีมชาติเช็กเกีย

2014 ฟุตบอลทีมชาติเช็กเกีย เป็นทีมฟุตบอลประจำ ประเทศเช็กเกีย โดยอยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลแห่งสาธารณรัฐเช็ก โดยผลงานที่ดีที่สุดในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปของเช็กคือ การเข้าไปถึงรอบรองชนะเลิศใน ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2004 แต่ก็แพ้ กรีซไป 1-0 หลังต่อเวลาพิเศษ ทั้งที่ทำผลงานทั้งในรอบแบ่งกลุ่มและรอบ 8 ทีมสุดท้ายได้ดีแล้ว และส่วนฟุตบอลโลกเช็กในปี 1996 เช็กเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศ แต่ก็พ่ายแพ้ให้กับ "อินทรีเหล็ก" เยอรมนีไป 2-1 หลังต่อเวลาพิเศษ ปัจจุบันอยู่ภายใต้การคุมทีมของ มิชาล บิเล็ค ทีมชาติก่อตั้งขึ้นในปี 1901 ในสมัยราชอาณาจักรโบฮีเมียที่ถูกปกครองโดยจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ต่อมาได้ก่อตั้งเชโกสโลวาเกีย ก่อนจะแยกประเทศกับสโลวาเกียในปี 1992 การแข่งขันระหว่างประเทศของพวกเขาเป็นครั้งแรกที่สาธารณรัฐเช็กคือยูโร 1996 ที่พวกเขาเสร็จสิ้นการวิ่งขึ้นเสร็จที่ดีที่สุดของพวกเขาในการแข่งขันระหว่างประเทศใด ๆ แม้จะมีความสำเร็จแรกของพวกเขาที่พวกเขาได้ให้ความสำคัญเฉพาะในฟุตบอลโลก 2006 ทัวร์นาเมนต์ที่พวกเขาถูกกำจัดในรอบแรกของการแข่งขัน พวกเขาเผชิญชะตากรรมเดียวกันที่ ยูโร 2008 ลักษณะที่ปรากฏล่าสุดของพวกเขาในขั้นตอนสุดท้ายของการแข่งขันที่สำคัญ ล่าสุดผลงานในศึก ยูโร 2012 ที่โปแลนด์และยูเครนเป็นเจ้าภาพร่วมกัน เช็กสามารถผ่านรอบคัดเลือกและทะลุมาถึงรอบ 8 ทีมสุดท้าย ได้ โดยในกลุ่ม เช็กอยู่สายเดียวกับ รัสเซีย,กรีซ และ เจ้าภาพ โปแลนด์ โดยเช็กเป็นแชมป์กลุ่ม ซึ่ง ชนะ 2 เสมอ 0 แพ้ 1 และผ่านเข้าไปสู่รอบ 8 ทีมสุดท้ายไปเจอกับ รองแชมป์กลุ่ม B คือ โปรตุเกส ซึ่งเช็กเน้นในเกมส์รับมาตลอดและจะรุกเป็นบางครั้ง แต่สุดท้ายก็พ่ายแพ้ให้กับ โปรตุเกส ไป 1-0 แต่ มิชาล บิเล็ค ผู้จัดการทีมของเช็ก ยอมรับว่าทีมของตนสู้เต็มที่แล้วและทำผลงานได้ดีกว่าความคาดหม.

ดู ออสโลและฟุตบอลทีมชาติเช็กเกีย

ฟุตบอลทีมชาติเยอรมนี

ฟุตบอลทีมชาติเยอรมนี (Deutsche Fußballnationalmannschaft) เป็นทีมฟุตบอลประจำประเทศเยอรมนี ในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ เป็นทีมที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในทวีปยุโรป ซึ่งชนะฟุตบอลโลก 4 ครั้ง คอนเฟเดอเรชันส์คัพ 1 ครั้ง ฟุตบอลยูโร 3 ครั้ง และฟุตบอลในกีฬาโอลิมปิก 1 ครั้งในนามของเยอรมนีตะวันออก มีฉายาในภาษาไทยตามสัญลักษณ์ว่า "อินทรีเหล็ก".

ดู ออสโลและฟุตบอลทีมชาติเยอรมนี

ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนยุโรป – กลุ่ม ซี

การแข่งขัน ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนยุโรป กลุ่ม ซี เป็นหนึ่งในเก้า กลุ่มจากโซนยุโรป สำหรับ ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก.

ดู ออสโลและฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนยุโรป – กลุ่ม ซี

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ออสโลและพ.ศ. 2549

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ออสโลและพ.ศ. 2551

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ออสโลและพ.ศ. 2554

กริฟฟิน ไมนอส

กริฟฟิน ไมนอส หรือ กริฟฟอน มินอส เป็นตัวละครในการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง "เซนต์เซย่า ภาคเจ้านรกฮาเดส" เป็น 1 ใน 108 สเป็คเตอร์ เป็น 1 ใน 3 ขุนพลผู้พิพากษาแห่งยมโลก คู่กับ ไวเวิร์น ราดาแมนทีส และ การูด้า ไออาคอ.

ดู ออสโลและกริฟฟิน ไมนอส

กอเทนเบิร์ก

กอเทนเบิร์ก (Gothenburg) หรือ เยอเตอบอร์ย (Göteborg) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศสวีเดน และเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 5 ของกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสวีเดน ในเมืองมีประชากรประมาณ 580,000 คน หากนับในเขตมหานครจะมีทั้งหมดประมาณหนึ่งล้านคน กอเทนเบิร์กถูกก่อตั้งใน..

ดู ออสโลและกอเทนเบิร์ก

การบินไทย

ริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (Thai Airways International Public Company Limited; ชื่อย่อ: ไทย, THAI) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ทำหน้าที่ดำเนินธุรกิจการบินพาณิชย์ ในฐานะสายการบินแห่งชาติของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ.

ดู ออสโลและการบินไทย

การทัพนอร์เวย์

การทัพนอร์เวย์ หรือปฏิบัติการเวแซร์รืบุง (9 เมษายน - 10 มิถุนายน ค.ศ. 1940) นั้นเป็นการเผชิญหน้ากันอย่างเต็มรูปแบบเป็นครั้งแรกของสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรกับนาซีเยอรมนี เยอรมนีนั้นต้องการที่จะครอบครองนอร์เวย์เพื่อเหล็กและโลหะจากสวีเดนอีกต่อหนึ่ง ซึ่งขนส่งทางเรือจากเมืองท่านาร์วิก ด้วยการยึดครองเมืองท่าอย่างสมบูรณ์ ก็จะทำให้การขนส่งทรัพยากรดังกล่าวเพื่อป้อนเข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรม แม้ว่าจะถูกขัดขวางด้วยการปิดล้อมทางทะเลจากอังกฤษ นอกจากนั้นแล้ว มันยังทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรและเยอรมนีสามารถรบกันได้ด้วยการรบแบบสนามเพลาะซึ่งทั้งสองฝ่ายหวาดกลัว ต่อมาเมื่อยุทธนาวีมหาสมุทรแอตแลนติกขยายออกไป สนามบินของนอร์เวย์ เช่น สนามบินโซลา ในเมืองสตาแวนเจอร์ ซึ่งเครื่องบินสำรวจเยอรมันใช้เพื่อออกปฏิบัติการในภาคพื้นมหาสมุทรแอตแลนติก.

ดู ออสโลและการทัพนอร์เวย์

การประกวดเพลงยูโรวิชัน

การประกวดเพลงชิงชนะเลิศแห่งยุโรป หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงยูโรวิชัน คือการประกวดเพลงประจำปี ในกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก สหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป (European Broadcasting Union: EBU) โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดโดยใช้ผู้แสดงไม่เกินหกคน ที่จะแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง คณะกรรมการคือประชาชนในประเทศสมาชิก EBU ซึ่งอาจรวมไปถึงประเทศอิสราเอล โมร็อกโกและออสเตรเลีย แต่ไม่รวมลิกเตนสไตน์ โดยแต่ละประเทศจะใช้คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นและการโหวตจากผู้ชมทางโทรศัพท์ ซึ่งแต่ละประเทศไม่มีสิทธิตัดสินหรือโหวตให้กับประเทศของตัวเอง ทุกประเทศจะได้มีคะแนนเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วยเหตุนั้นประเทศรัสเซียจึงมีคะแนนเท่ากับโมนาโก โดยประเทศที่ได้คะแนนมากที่สุดสองอันดับแรกจะได้คะแนน 12 และ 10 คะแนน ส่วนอันดับสามถึงสิบจะได้คะแนนตั้งแต่ 8 จนถึง 1 คะแนน มีผู้ชนะเพียงอันดับเดียว (ยกเว้นปี 1969 ที่มีผู้ชนะถึง 4 ประเทศ ได้แก่ สเปน สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศส) เท่านั้น (หากเกิดกรณีที่มีประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเท่ากัน จะตัดสินที่จำนวนคะแนนที่ได้ เรียงจากคะแนนสูงสุดที่ได้รับไปยังคะแนนต่ำสุด หากยังเท่ากันอีก ประเทศที่มีลำดับการแสดงก่อนจะเป็นผู้ชนะ) ประเทศของผู้ชนะจะได้รับโล่หรือเหรียญรางวัล และเป็นเจ้าภาพจัดการประกวดปีต่อไป โดยประเทศเจ้าภาพกับสี่ประเทศที่ออกค่าใช้จ่ายให้กับทาง EBU มากที่สุด ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน จะสามารถส่งทีมเข้าประกวดในรอบชิงชนะเลิศได้โดยอัตโนมัติ (ภายหลังได้เพิ่มอิตาลีเข้าไปด้วย ส่วนออสเตรเลียได้รับสิทธิ์เข้ารอบชิงชนะเลิศโดยอัตโนมัติเป็นกรณีพิเศษในปี 2015 ในโอกาสครบรอบ 60 ปีการประกวด) ส่วนประเทศที่เหลือทั้งหมดต้องเข้าประกวดรอบคัดเลือก ซึ่งมีสองวันและคัดประเทศเข้ารอบชิงชนะเลิศวันละสิบประเทศ ทำให้รอบชิงชนะเลิศมีประเทศเข้าประกวดทั้งหมด 25 ประเทศ ผู้ชนะเลิศจากปี 2006 จากฟินแลนด์ วงลอร์ดิ การประกวดเริ่มมีการออกอากาศทุกปีตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู ออสโลและการประกวดเพลงยูโรวิชัน

การใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซล

ตัวอย่างราคาน้ำมันจากประเทศเยอรมนีเมื่อปี พ.ศ. 2550 ราคาอยู่ที่ 1.319 €/L.

ดู ออสโลและการใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซล

การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์

250px 250px การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ (royal intermarriage) คือการแต่งงานระหว่างสมาชิกของราชวงศ์ผู้ปกครองสองราชวงศ์ ซึ่งในอดีตถือเป็นยุทโธบายทางการทูตที่ใช้กันโดยทั่วไปเพื่อผลประโยชน์ของชาติ ในบางครั้งการเสกสมรสนี้เกิดขึ้นด้วยการบังคับใช้กระบวนการทางกฎหมายต่อบุคคลผู้สืบเชื้อสายราชวงศ์ และในหลาย ๆ ครั้งเกี่ยวข้องกับนโยบายทางการเมืองและ/หรือขนบธรรมเนียมของระบอบราชาธิปไตยเสียเป็นส่วนใหญ่ ในทวีปยุโรป การเสกสมรสในลักษณะนี้เป็นที่แพร่หลายอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงตั้งแต่สมัยกลางจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในขณะที่หลักฐานของการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ในส่วนอื่น ๆ ของโลก สามารถสืบค้นย้อนไปได้ไกลที่สุดถึงยุคสัมฤทธิ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่พระมหากษัตริย์ในอดีตมักจะพยายามแผ่ขยายราชวงศ์ของพระองค์ออกไปทั้งในและนอกประเทศ ดังนั้นสายสัมพันธ์ทางเครือญาติซึ่งเกิดจากการเสกสมรสนี้ จึงเป็นปัจจัยที่ช่วยทั้งกระตุ้นและยับยั้งความขัดแย้งและการรุกรานระหว่างรัฐBucholz, p.228 ทั้งยังช่วยริเริ่ม ส่งเสริม และรับประกันสันติภาพระหว่างรัฐได้อีกด้วย นอกจากนี้สายสัมพันธ์ทางเครือญาติจากการเสกสมรสยังสามารถรักษามิตรไมตรีของสองราชวงศ์ ที่ต่างพยายามหลีกเลี่ยงภัยคุกคามจากการรุกรานและความขัดแย้งอันมีชนวนเหตุมาจากการยุยงของราชวงศ์ที่สาม พร้อมเสริมสร้างโอกาสที่จะผนวกรวมดินแดนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตนจากการอ้างสิทธิ์ทางกฎหมายเหนือราชบัลลังก์ หรือแม้กระทั่งการอ้างสิทธิ์เหนือส่วนหนึ่งของรัฐ เช่น อาณานิคม ผ่านการรับช่วงสืบทอดอำนาจการปกครองในกรณีที่รัฐนั้นเกิดปัญหาไร้รัชทายาทสืบทอดราชบัลลังก์ หรือในกรณีที่พระมหากษัตริย์องค์ก่อนหน้าไม่มีรัชทายาทเพศชายไว้สืบทอดราชสมบัติโดยปราศจากข้อกังขาได้ ในบางส่วนของทวีปยุโรป ราชวงศ์ต่าง ๆ ยังคงนิยมเสกสมรสระหว่างกันเป็นปกติ (สมาชิกราชวงศ์เสกสมรสกับตระกูลขุนนางต่าง ๆ ภายในรัฐ) ไปจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16 และนับแต่นั้นเป็นต้นมา จึงเริ่มหันมานิยมการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ของรัฐอธิปไตยต่าง ๆ มากขึ้น แต่ในส่วนอื่น ๆ ของโลก การเสกสมรสเช่นนี้กลับได้รับความนิยมน้อยกว่ามากและเริ่มลดจำนวนลงตามกาลเวลาที่ผ่านไป หรือแปรเปลี่ยนไปตามขนบธรรมเนียมและนโยบายการต่างประเทศในขณะนั้น.

ดู ออสโลและการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์

กีฬาผู้พิการทางการได้ยินโลก

กีฬาผู้พิการทางการได้ยินโลก (Deaflympics) เป็นมหกรรมกีฬาของผู้พิการทางการได้ยิน ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันโดยคณะกรรมการกีฬาผู้พิการการทางการได้ยินสากล.

ดู ออสโลและกีฬาผู้พิการทางการได้ยินโลก

กีฬาโอลิมปิก

กีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic Games, ฝรั่งเศส: les Jeux olympiques, JO) หรือโอลิมปิกส์ (อังกฤษ: Olympics) สมัยใหม่ เป็นการแข่งขันระหว่างประเทศที่สำคัญ ทั้งกีฬาฤดูร้อนและฤดูหนาว โดยมีนักกีฬาหลายพันคนเข้าร่วมการแข่งขันหลายชนิดกีฬา กีฬาโอลิมปิกถูกมองว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่สำคัญที่สุดของโลก โดยมีประเทศเข้าร่วมกว่า 200 ประเทศ ปัจจุบัน กีฬาโอลิมปิกจัดขึ้นทุกสองปี ผลัดกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อนกับโอลิมปิกฤดูหนาว หมายความว่า โอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาวจะจัดห่างกันสี่ปี การสร้างสรรค์กีฬาโอลิมปิกได้รับแรงบันดาลใจจากกีฬาโอลิมปิกโบราณ ซึ่งจัดขึ้นในโอลิมเปีย กรีซ จากศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 บารอน ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง ก่อตั้งคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ใน..

ดู ออสโลและกีฬาโอลิมปิก

ภาษาซิมูลา

ษาซิมูลา (Simula) เป็นชื่อเรียกรวมของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 ภาษาคือ ภาษาซิมูลา 1 (Simula 1) และภาษาซิมูลา 67 (Simula 67) ภาษาโปรแกรมดังกล่าวนี้ได้เริ่มพัฒนาขึ้นประมาณปี..

ดู ออสโลและภาษาซิมูลา

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014 (Miss Grand International 2014.) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 2 กำหนดจัดกิจกรรมกองประกวด ณ จังหวัดสุโขทัย และประกวดรอบตัดสินในวันที่ 7 ตุลาคม..

ดู ออสโลและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015 (Miss Grand International 2015) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 3 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายถูกจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ดู ออสโลและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 (Miss Grand International 2016) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 4 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ดู ออสโลและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสเวิลด์ 2013

มิสเวิลด์ 2013, ครั้งที่ 63 จัดขึ้นในวันที่ 28 กันยายน..

ดู ออสโลและมิสเวิลด์ 2013

มิสเวิลด์ 2015

มิสเวิลด์ 2015 มีเรยา ลาลากูนา, สเปน มิสเวิลด์ 2015 การประกวดครั้งที่ 65 จัดขึ้นในวันที่ 19 ธันวาคม..

ดู ออสโลและมิสเวิลด์ 2015

ม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์

้าหญิงม็อดแห่งเวลส์ (ม็อด ชาร์ล็อต แมรี วิกตอเรีย ต่อมาทรงเป็น สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์; 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2412 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู ออสโลและม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์

ยัสเซอร์ อาราฟัต

ัสเซอร์ อาราฟัต (ياسر عرفات ยาซิร อะเราะฟาต; 24 สิงหาคม พ.ศ. 2472 — 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547) เป็นที่รู้จักในชื่อในการรบว่า อะบู อัมมาร์ (ابو عمّار) ชื่อจริงคือ โมฮัมหมัด อับดุล ราห์มาน อัลดุล ราอูฟ อาราฟัต อัล กุดวา (محمد عبد الرؤوف القدوة الحسيني) เป็นผู้นำชาวปาเลสไตน์ เป็นประธานองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ (PLO) ประธานองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ (PNA) และผู้นำฟะตะห์ (Fatah) พรรคการเมืองและอดีตกลุ่มกำลังกึ่งทหารที่เขาก่อตั้งขึ้นใน..

ดู ออสโลและยัสเซอร์ อาราฟัต

ยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ูโกสลาเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

รายชื่อระบบรถรางและรถไฟฟ้ารางเบา

รายชื่อระบบรถรางและรถไฟฟ้ารางเบาทั่วโลก.

ดู ออสโลและรายชื่อระบบรถรางและรถไฟฟ้ารางเบา

รายชื่อระบบรถไฟในเมือง

ประเทศที่มีระบบรถไฟในเมือง นครและเมืองที่มีระบบรถไฟในเมือง รายชื่อระบบรถไฟในเมือง (Metro) ของประเทศต่าง ๆ มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก โดยที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ.

ดู ออสโลและรายชื่อระบบรถไฟในเมือง

รายชื่อตอนในสารคดี ๑๐๐ ปี ไกลบ้าน ตามเสด็จพระพุทธเจ้าหลวง

รายชื่อตอนในสารคดี ๑๐๐ ปี ไกลบ้าน ตามเสด็จพระพุทธเจ้าหลวง เรียงตามลำดับตอน.

ดู ออสโลและรายชื่อตอนในสารคดี ๑๐๐ ปี ไกลบ้าน ตามเสด็จพระพุทธเจ้าหลวง

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ดู ออสโลและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

รายชื่อเทศบาลในประเทศนอร์เวย์

ทศบาลในประเทศนอร์เวย์ ประเทศนอร์เวย์ ได้แบ่งการปกครองเป็น 18 เทศมณฑล (fylker) และอีก 422 เทศบาล โดยมีกรุง ออสโล เป็นเมืองหลวง นอกเขตเทศบาล เทศบาลในนอร์เวย์ถือเป็นส่วนเล็กๆ ของรัฐบาลในแต่ละท้องถิ่น ของประเทศนอร์เวย์ซึ่งได้ดูแลรับผิดชอบเรื่องการศึกษาระดับประถม (จนถึงเกรด 10) การบริการสุขภาพผู้ป่วยนอกบริการผู้สูงอายุ, การว่างงานและบริการสังคมอื่น ๆ การแบ่งเขตการพัฒนาเศรษฐกิจและถนนเทศบาล การบังคับใช้กฎหมายในแต่ละมณฑลด้วย ในปี 1930 มีเทศบาลในประเทศนอร์เวย์อยู่ 747 เทศบาล.

ดู ออสโลและรายชื่อเทศบาลในประเทศนอร์เวย์

รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ

ต่อไปนี้คือรายพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งในปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และประเทศในเครือจักรภพ สำหรับรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะซึ่งประกอบกันเป็นสหราชอาณาจักรปัจจุบันดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร.

ดู ออสโลและรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ

รายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์

ตราประจำพระองค์ของพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ ปี 1280 สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 กษัตริย์แห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ปี 1991 ร่วมกับพระมเหสีของพระองค์ สมเด็จพระราชินีซอนยา ในปี 2010 รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรนอร์เว.

ดู ออสโลและรายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์

รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก

2012 ณ กรุงลอนดอน, ประเทศสหราชอาณาจักร 1972 ณ เมืองซัปโปะโระ 1956 ณ เมืองกอร์ตีนาดัมเปซโซ 1936 ณ เมืองการ์มิช-พาร์เทนเคียร์เชิน กีฬาโอลิมปิก ในปัจจุบันเป็นการแข่งขันหลากหลายประเภทกีฬาทั้งฤดูร้อน ฤดูหนาว รวมถึงเยาวชน โดยจะจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี สลับกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อน และโอลิมปิกฤดูหนาว ในระหว่างพิธีเปิดโอลิมปิก ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลในสมัยนั้นๆจะกล่าวสุนทรพจน์ก่อนที่จะเชิญประธานในพิธีกล่าวเปิดอย่างเป็นทางการ ตามกฎบัตรโอลิมปิก ผู้ที่จะกล่าวเปิดกีฬาโอลิมปิกอย่างเป็นทางการจะต้องเป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศเจ้.

ดู ออสโลและรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก

รายพระนามและรายนามผู้จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิก

ตามธรรมเนียมการนำเพลิงโอลิมปิกจากเมืองโอลิมเปียไปยังประเทศเจ้าภาพได้นำมาใช้เป้นครั้งแรกในปี 1936 ซึ่งผู้ถือคบเพลิงคนสุดท้ายในพิธีเปิดโอลิมปิก นั้นอาจจะเป็นนักกีฬาที่มีชื่อเสียง (เลิกเล่น หรือยังเล่นอยู่ก็ได้) ซึ่งเป็นผู้สร้างผลงานทางด้านกีฬาให้แก่ประเทศเจ้าภาพ หรืออาจจะเป็นเยาวชน หรือบุคคลทางสัญลักษณ.

ดู ออสโลและรายพระนามและรายนามผู้จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิก

รายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก

การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก เป็ยพิธีการของการวิ่งเพลิงโอลิมปิกจากเมืองโอลิมเปีย, ประเทศกรีซ ไปยังสถานที่จัดกีฬาโอลิมปิก ในครั้งนั้นๆ โดยครั้งแรกได้เริ่มในโอลิมปิกเบอร์ลิน 1936 และต่อจากนั้นก็ได้มีการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกในทุกๆครั้ง โอลิมปิกครั้งก่อนๆได้มีการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกในหลายประเทศ แต่ในปัจจุบันคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ได้จำกัดให้วิ่งคบเพลิงภายในประเทศ หลังเกิดการประท้วงใน การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 2008.

ดู ออสโลและรายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก

รางวัลโนเบล

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบล (Nobelpriset; Nobel Prize) เป็นรางวัลประจำปีระดับนานาชาติ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย พิจารณาผลงานวิจัยหรือความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญที่โดดเด่น หรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาวสวีเดน ผู้ประดิษฐ์ไดนาไมท์ โดยก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี..

ดู ออสโลและรางวัลโนเบล

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ดู ออสโลและรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รถไฟใต้ดินออสโล

รถไฟใต้ดินออสโล (Oslo T-bane หรือ Oslo Tunnelbane หรือ T-banen) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าขนาดใหญ่ในกรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ ดำเนินการโดย Oslo T-banedrift ปัจจุบันมีหกเส้นทาง ระยะทางทั้งสิ้น ผู้โดยสาร 221,917 คนต่อวัน (2011) ต่อจำนวนสถานีรถไฟฟ้า 95 สถานี โดย 16 สถานี เป็นสถานีใต้ดิน.

ดู ออสโลและรถไฟใต้ดินออสโล

ลุยส์ ซัวเรซ

ลุยส์ อัลเบร์โต ซัวเรซ ดิอัซ (Luis Alberto Suárez Díaz) เกิดเมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1987 ที่เมืองซัลโต ประเทศอุรุกวัย เป็นนักฟุตบอลชาวอุรุกวัย ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา ตำแหน่งกองหน้า ซัวเรซ เกิด ณ เมืองซัลโต ประเทศอุรุกวัย ไม่นานนักครอบครัวได้ย้ายมาตั้งรกรากที่กรุงมอนเตวิเดโอ ที่นี่เองที่เด็กชายเติบโตขึ้นมาจากการเลี้ยงดูของมารดาเพียงลำพัง ร่วมกับพี่น้อง 8 คน ต่อมา ในปี..

ดู ออสโลและลุยส์ ซัวเรซ

วันเดอร์ฟูลทาวน์

วันเดอร์ฟูลทาวน์ หรือ เมืองเหงาซ่อนรัก เป็นภาพยนตร์ความยาว 92 นาที กำกับโดย อาทิตย์ อัสสรัตน์ ออกฉายครั้งแรกเมื่อ..

ดู ออสโลและวันเดอร์ฟูลทาวน์

วิดคัน ควิสลิง

วิดคัน อับราฮัม เลาริทซ์ ยอนสซัน ควิสลิง (Vidkun Abraham Lauritz Jonssøn Quisling; 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1887 – 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945) เป็นเจ้าหน้าที่ทหารของนอร์เวย์และเป็นนักการเมืองในนามของผู้นำรัฐบาลนอร์เวย์ในช่วงการยึดครองโดยนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ควิสลิงได้เข้าสู่วงการการเมืองเป็นครั้งแรกโดยเป็นผู้ประสานงานที่ใกล้ชิดกับฟริดท์จอฟ นันเซน ผู้จัดการบรรเทามนุษยธรรมในช่วงความอดอยากในรัสเซีย ค.ศ.

ดู ออสโลและวิดคัน ควิสลิง

สมาคมโรคมะเร็งแห่งประเทศนอร์เวย์

ำนักงานสมาคมโรคมะเร็งแห่งประเทศนอร์เวย์ ในกรุงออสโล สมาคมโรคมะเร็งแห่งประเทศนอร์เวย์ (Kreftforeningen; Norwegian Cancer Society) เป็นองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไรในประเทศนอร์เวย์ องค์กรนี้ได้รับการก่อตั้งขึ้นในฐานะสมาคมต่อต้านโรคมะเร็งแห่งประเทศนอร์เวย์ (Norsk Forening til Kreftens Bekjempelse) ในปี..

ดู ออสโลและสมาคมโรคมะเร็งแห่งประเทศนอร์เวย์

สมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (2 กรกฎาคม 1903 - 17 มกราคม 1991) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์ ตั้งแต่ปี 1957 จนกระทั่งพระองค์เสด็จสวรรคต พระองค์เป็นสมาชิกราชวงศ์ชเลสวิก-ฮอลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก สมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 เสด็จพระราชสมภพที่สหราชอาณาจักร พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์และสมเด็จพระราชินีม็อดแห่งนอร์เวย์ พระองค์ทรงเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร กับ อเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักร ผ่านทางสายพระราชมาร.

ดู ออสโลและสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์

สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์ (พระนามเดิม เจ้าชายคาร์ลแห่งเดนมาร์กและไอซ์แลนด์ พระนามเต็ม คริสเตียน เฟรเดอริก คาร์ล จอร์จ วัลเดมาร์ แอกเซล; Christian Frederik Carl Georg Valdemar Axel, ต่อมาเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์) 3 สิงหาคม พ.ศ.

ดู ออสโลและสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์

สมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ (Sonja av Norge; พระนามเดิม: Sonja Haraldsen ซอนยา เฮรัลด์เซ็น; ประสูติเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 ณ กรุงออสโล) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ พระองค์ทรงเป็นสามัญชน ทรงเป็นบุตรีของนายคาร์ล ออกัส เฮรันด์เซ็น กับ นางเดกนี อูริชเซ็น พระองค์ได้หมั้นหมายกับมกุฎราชกุมารฮารันด์ในเดือนมีนาคม พ.ศ.

ดู ออสโลและสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

หพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

หรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

สหราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์

หราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์ หรือ สหภาพสวีเดน–นอร์เวย์ หรือ สวีเดน–นอร์เวย์ (Svensk-norska unionen; Den svensk-norske union) คือรัฐร่วมประมุขระหว่างสวีเดนและนอร์เวย์ภายใต้การปกครองของราชวงศ์เบอร์นาดอตต์ ระหว่างปี..

ดู ออสโลและสหราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์

สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

หราชอาณาจักร เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและสหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

สาวเอ๊าะเดือดร้อน

นักบุญจอร์จปะทะพญานาค โดย เพาโล อูเชลโล ราว ๆ ค.ศ. 1470 แสดงแก่นเรื่องยอดนิยม ที่มีอัศวินขี่ม้าขาว สาวน้อยประสบปัญหา และอสุรกาย (damsel in distress) เป็นหญิงสาวตามท้องเรื่องแบบดั้งเดิมและยอดนิยมในวรรณกรรม ศิลปะ และภาพยนตร์ส่วนใหญ่ของโลก โดยเธอมักเป็นหญิงงาม อ่อนหวาน และอ่อนวัย กำลังถูกเหล่าร้ายหรืออสุรกายคุกคาม และต้องการวีรบุรุษโดยด่วน ปรกติแล้ว "สาวน้อย" มักเป็นมนุษย์ธรรมดา แต่ในหลาย ๆ เรื่องเป็นเทพธิดา, พราย, เงือก หรือสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ก็มี แต่ลักษณะสากลของสาวน้อยประสบปัญหา คือ ต้องช่วยเหลือตนเองมิได้ (helpless) และบางทีก็ "ไม่ฉลาดนัก" (partly foolish) และ "อ่อนต่อโลก" (naive) ซึ่งเป็นลักษณะที่ชายหนุ่มทั่วไปต้องใจRobert K.

ดู ออสโลและสาวเอ๊าะเดือดร้อน

สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

รณรัฐโปรตุเกส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและสาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

สนามกีฬาบิสเลตต์

นามกีฬาบิสเลตต์ (Bislett Stadium,Bislett stadion) ตั้งอยู่ที่กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ เริ่มก่อสร้างในปี..

ดู ออสโลและสนามกีฬาบิสเลตต์

สนามกีฬาโอลิมปิก

นามกีฬาโอลิมปิก (Olympic Stadium) เป็นชื่อที่มักจะตั้งให้กับสนามกีฬากลางขนาดใหญ่ สำหรับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน โดยตามธรรมเนียมปฏิบัติ เป็นสนามซึ่งใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีเปิดและพิธีปิด รวมถึงการแข่งขันประเภทลู่และลาน ซึ่งส่วนใหญ่มักใช้คำว่า “สนามกีฬาโอลิมปิก” เป็นส่วนหนึ่งของชื่อสนามแข่งขันเหล่านี้ อนึ่ง สนามกีฬากลางของโอลิมปิกฤดูหนาวไม่ใช้ชื่อนี้ อย่างไรก็ตาม อาคารกีฬาบางแห่งอาจใช้ชื่อนี้ก็ได้ ซึ่งมักจะใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีเปิดและพิธีปิด โดยสนามกีฬาโอลิมปิกแต่ละแห่ง ใช้รองรับการแข่งขันเพียงครั้งเดียว ดังนั้นจึงมีสนามกีฬาโอลิมปิกมากกว่าหนึ่งแห่ง ในเมืองซึ่งเป็นเจ้าภาพมาแล้วสองครั้งขึ้นไป ขณะที่มีเพียง โคลิเซียมอนุสรณ์แห่งลอสแอนเจลิส (Los Angeles Memorial Coliseum) แห่งเดียวที่เป็นสนามกีฬาหลักถึงสองครั้ง สำหรับพิธีเปิดและพิธีปิดการแข่งขันครั้งที่ 30 ในปี พ.ศ.

ดู ออสโลและสนามกีฬาโอลิมปิก

สแกนดิเนเวีย

แกนดิเนเวีย (Scandinavia; Skandinavia; Skandinavien) เป็นภูมิภาคทางภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ มีศูนย์กลางอยู่ที่คาบสมุทรสแกนดิเนเวียในยุโรปเหนือ มาจากชื่อเดิมว่า มณฑลสกาเนียน (Scanian Province) ประเทศในกลุ่มสแกนดิเนเวีย ได้แก่ ราชอาณาจักรสวีเดน นอร์เวย์ และเดนมาร์ก อาจรวมถึงประเทศอื่น ๆ ในกลุ่มนอร์ดิก เช่น ประเทศไอซ์แลนด์ และประเทศฟินแลนด์ จากความสัมพันธ์ใกล้ชิดทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภาษาและวัฒนธรรม นิยามของสแกนดิเนเวียอาจขยายไปถึงดินแดนที่เคยมีการพูดภาษานอร์เวย์โบราณและดินแดนที่มีการพูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกเหนือ ดังนั้น ในทางภาษาและวัฒนธรรม สแกนดิเนเวียจึงรวมถึงประเทศไอซ์แลนด์และหมู่เกาะแฟโร นอกจากนี้ ในทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม สแกนดิเนเวียอาจรวมถึงฟินแลนด์ จากการที่ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนมายาวนาน ถึงแม้ว่าฟินแลนด์จะมีความเกี่ยวข้องทางวัฒนธรรมกับชาติสแกนดิเนเวียอื่นๆ แต่ชาวฟินแลนด์มีเชื่อชาติและภาษาแบบฟินโน-ยูกริก ซึ่งมีลักษณะของทั้งยุโรปตะวันตกและตะวันออก ถึงแม้ว่าความหมายของสแกนดิเนเวียอาจขึ้นอยู่กับบริบท กลุ่มนอร์ดิก นั้นหมายถึงนอร์เวย์ สวีเดน เดนมาร์ก ฟินแลนด์ และไอซ์แลนด์ รวมถึงหมู่เกาะแฟโร กรีนแลนด์ และหมู่เกาะโอลันด์ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันทั้งในด้านการเมืองและด้านวัฒนธรรม.

ดู ออสโลและสแกนดิเนเวีย

สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2013–14

ูกาล 2013-14 ของ สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา ซึ่งเป็นฤดูกาลที่ 114 ของสโมสรและเป็นฤดูกาลที่ 83 ของการได้อยู่บนลีกสูงสุดของสเปน.

ดู ออสโลและสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2013–14

สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2013–14

ูกาล 2013-14 เป็นฤดูกาลที่ 122 ของสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล และเป็นฤดูกาลที่ 22 พรีเมียร์ลีก ลีกชั้นสูงสุดของฟุตบอลอังกฤษ โดยในครั้งนี้ลิเวอร์พูลได้มีสิทธิไปเล่นพรีเมียร์ลีก ผ่านเข้าไปเล่นในเอฟเอคัพและลีกคั.

ดู ออสโลและสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2013–14

สโมสรฟุตบอลทอตนัมฮอตสเปอร์ในฤดูกาล 2016–17

การแข่งขัน ฤดูกาล 2016–17 จะเป็นฤดูกาลที่ 25 ของ ทอตนัมฮอตสเปอร์ ในฟุตบอล พรีเมียร์ลีก และเป็นฤดูกาลที่ 39 ที่ยังคงโลดแล่นอย่างต่อเนื่องอยู่บนลีกสูงสุดของระบบฟุตบอลอังกฤษ พร้อมกับพรีเมียร์ลีก, สโมสรจะแข่งขันใน เอฟเอคัพ, ลีกคัพ และ แชมเปียนส์ลีก ฤดูกาลเริ่มต้นระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม..

ดู ออสโลและสโมสรฟุตบอลทอตนัมฮอตสเปอร์ในฤดูกาล 2016–17

สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในฤดูกาล 2015–16

การแข่งขัน ฤดูกาล 2015–16 ของ สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด ซึ่งเป็นฤดูกาลที่ 112 ของสโมสร และเป็นฤดูกาลที่ 85 ของการได้อยู่บนลีกสูง.

ดู ออสโลและสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในฤดูกาล 2015–16

สเปรย์ละอองลอย

ทธิบัตร สเปรย์ละอองลอย หรือที่เรียกกันติดปากว่า กระป๋องสเปรย์ สเปรย์ละอองลอย หมายถึง กระป๋อง หรือสิ่งที่ออกมาจากกระป๋อง ซึ่งฉีดสารที่มีสภาพเป็น ละอองลอย ในภาษาพูดทั่วไป เรียกสั้นๆว่า สเปรย์ เป็นผลิตภัณฑ์บรรจุกระป๋องชนิดหนึ่ง ที่สามารถฉีดพรมของเหลวที่บรรจุออกมาในรูปฝอยของอนุภาคละอองลอย เพราะสเปรย์ละอองลอยชนิดนี้บรรจุสาร 2 กลุ่ม กลุ่มหนึ่งเป็น ของเหลวบรรจุภัณฑ์ที่ต้องการฉีดให้ฟุ้งกระจาย และอีกกลุ่มหนึ่งเป็น ไอภายใต้ความกดดันสูงจนอยู่ในรูปของเหลว ซึ่งมักเป็นแก๊สเฉื่อย ละลายรวมอยู่ในบรรจุภัณฑ์เพื่อเป็น กำลังขับดัน เมื่อลิ้นถูกเปิด ของเหลวถูกดันให้ไหลออกผ่านรูเล็ก และปรากฏเป็นอนุภาคละอองลอย คล้ายหมอก ขณะที่แก๊สขยายและขับบรรจุภัณฑ์ออก กำลังขับดันบางส่วนกลายเป็นไอภายในกระป๋อง และรักษาความดันให้คงที่ เมื่อออกนอกกระป๋อง หยดละอองของของเหลวที่เป็นกำลังขับดันกลายเป็นไออย่างรวดเร็ว ทิ้งให้หยดละอองของของเหลวบรรจุภัณฑ์ แขวนลอยในรูปของอนุภาคหรือหยดละอองที่ละเอียดมาก ของเหลวที่ผสมดังกล่าว เช่น ยาฆ่าแมลง, ยาดับกลิ่น และสีสเปรย์ เครื่องมือฉีดพ่นทางการเกษตร ก็ใช้หลักการคล้ายกันนี้ คือเพิ่มกำลังกดอากาศด้วยมือสูบ ซึ่งให้ผลดีกว่า สเปรย์ละอองลอย ซึ่งใช้เพียงแก๊สที่เก็บอัดไว้.

ดู ออสโลและสเปรย์ละอองลอย

อภินันท์ ปวนะฤทธิ์

อภินันท์ ปวนะฤทธิ์ (6 กุมภาพันธ์ 2489 -) อดีตรองปลัดกระทรวงการต่างประเทศ และ รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี จบการศึกษารัฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริก.

ดู ออสโลและอภินันท์ ปวนะฤทธิ์

อองซาน ซูจี

อองซาน ซูจี (90px, เกิด 19 มิถุนายน 2488) เป็นนักการเมืองชาวพม่าและประธานพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย (NLD) ผู้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และรัฐมนตรีประจำทำเนียบประธานาธิบดี ในการเลือกตั้งทั่วไปปี 2533 NLD ได้คะแนนเสียงทั้งประเทศ 59% และที่นั่ง 81% (392 จาก 485 ที่นั่ง) ในรัฐสภา ทว่า เธอถูกควบคุมตัวในบ้านก่อนการเลือกตั้ง เธอยังอยู่ภายใต้การควบคุมตัวในบ้านในประเทศพม่าเป็นเวลาเกือบ 15 จาก 21 ปีตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม 2532 จนการปล่อยตัวครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2553 ทำให้เธอเป็นนักโทษการเมืองที่ขึ้นชื่อที่สุดคนหนึ่งของโลก ซูจีได้รับรางวัลราฟโต (Rafto Prize) และรางวัลซาฮารอฟสำหรับเสรีภาพทางความคิด (Sakharov Prize for Freedom of Thought) ในปี 2533 และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปี 2534 ในปี 2535 เธอได้รับรางวัลชวาหระลาล เนห์รูเพื่อความเข้าใจระหว่างประเทศ (Jawaharlal Nehru Award for International Understanding) โดยรัฐบาลอินเดีย และรางวัลซีมอง โบลีวาร์ระหว่างประเทศ (International Simón Bolívar Prize) จากรัฐบาลเวเนซุเอลา ในปี 2555 รัฐบาลปากีสถานมอบรางวัลชาฮิด เบนาซีร์ บุตโตเพื่อประชาธิปไตย (Shaheed Benazir Bhutto Award For Democracy) ในปี 2550 รัฐบาลแคนาดาประกาศให้เธอเป็นพลเมืองกิตติมศักดิ์ของประเทศ เป็นคนที่สี่ที่ได้รับเกียรตินี้ ในปี 2554 เธอได้รับเหรียญวัลเลนเบิร์ก (Wallenberg Medal) วันที่ 19 กันยายน 2555 อองซาน ซูจีได้รับเหรียญทองรัฐสภา ซึ่งร่วมกับเหรียญเสรีภาพประธานาธิบดี เป็นเกียรติยศพลเรือนสูงสุดในสหรัฐอเมริกา วันที่ 1 เมษายน 2555 พรรคสันนิบาติแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตยประกาศว่าเธอได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งในปีตูลุ้ดดอ (Pyithu Hluttaw) สภาล่างของรัฐสภาพม่า ซึ่งเป็นตัวแทนของเขตเลือกตั้งกอว์มู (Kawhmu) พรรคของเธอยังได้ที่นั่งว่าง 43 จาก 45 ที่นั่งในสภาล่าง คณะกรรมการการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการยืนยันผลการเลือกตั้งในวันรุ่งขึ้น วันที่ 6 มิถุนายน 2556 ซูจีประกาศบนเว็บไซต์ของเวิลด์อีโคโนมิกฟอรัมว่าเธอต้องการลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีในการเลือกตั้งปี 2558 ทว่า ซูจีถูกห้ามมิให้เป็นประธานาธิบดีภายใต้รัฐธรรมนูญปัจจุบัน ซึ่งมิอาจแก้ไขได้โดยปราศจากการรับรองจากสมาชิกสภานิติบัญญัติทหารอย่างน้อยหนึ่งคน ในปี 2557 นิตยสารฟอบส์จัดให้เธอเป็นหญิงทรงอำนาจที่สุดในโลกอันดับที่ 61 ในการเลือกตั้งทั่วไปปี พ.ศ.

ดู ออสโลและอองซาน ซูจี

อา-ฮา

อา-ฮา (a-ha) เป็นวงดนตรีจากนอร์เวย์ มีชื่อเสียงในช่วงทศวรรษ 1980 และประสบความสำเร็จต่อเนื่องในทศวรรษ 1990 และ 2000 อา-ฮา ประสบความสำเร็จกับผลงานอัลบั้มเปิดตัวและซิงเกิ้ลในปี 1985 Hunting High and Low ขึ้นชาร์ตบิลบอร์ดสูงสุดอันดับ 15 และมีซิงเกิ้ลอันดับ 1 ในระดับนานาชาติกับเพลง "Take on Me" และยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลแกรมมี่ในสาขาศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม และอัลบั้มนี้ถือเป็นอัลบั้มที่ขายดีที่สุดในปี 1986 ในปี 1994 พวกเขาแยกวงกัน ในปีนั้นเองพวกเขามียอดขายอัลบั้มถึง 20 ล้านอัลบั้มทั่วโลก หลังจากนั้นเขาแสดงในงานคอนเสิร์ตแจกรางวัลโนเบล ปี 1998 วงกลับมาทำผลงานเพลงอีกครั้งกับอัลบั้มในปี 2002 ชุด Minor Earth Major Sky พวกเขาออกทัวร์อีกครั้ง และในปี 2000 นี้เขามียอดขายอัลบั้มกว่า 36 ล้านชุดทั่วโลก และยอดขายซิงเกิ้ลกว่า 2 ล้านชุด ในปี 2002 พวกเขาออกผลงานสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 7 ชื่อ Lifelines.

ดู ออสโลและอา-ฮา

อินอะโมเมนต์ไลก์ดิส

อินอะโมเมนต์ไลก์ดิส (In a Moment Like This) เป็นเพลงที่ร้องโดยคริสตินา ชานี และโทมัส เนเวอร์กรีน ที่เขียนโดย โทมัส จีซอน, เฮนริก เซธซอน, อีริก เบิร์นโฮลม์ ซึ่งเป็นเพลงที่เดนมาร์กส่งเข้าแข่งขันการประกวดร้องเพลงในยูโรวิชันส์ซองคอนเทสต์ 2010 ที่จัดขึ้นในกรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู ออสโลและอินอะโมเมนต์ไลก์ดิส

อีลิทซีเรียน (ฟุตบอล)

อีลิทซีเรียน (Eliteserien) เป็นลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศนอร์เวย์ ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1937.

ดู ออสโลและอีลิทซีเรียน (ฟุตบอล)

อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย

อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการห้ามใช้ มีไว้ครอบครอง ผลิต ขนย้าย และกักตุนซึ่งอาวุธยุทธภัณฑ์ประเภทระเบิดลูกปราย (cluster bomb หรือ cluster monition) โดยได้รับสัตยาบันจากประเทศหนึ่งร้อยสิบเก้าประเทศในการประชุมที่กรุงดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2551 และจะได้มีการให้ปฏิญญาอย่างเป็นทางการที่กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ ในเดือนธันวาคม ปีเดียวกัน ประเทศที่ให้สัตยาบันในการประชุมที่กรุงดับลินจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ทุกกรณี, การประชุมหารือทางการทูตเพื่อการกำหนดใช้อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย, 30 พฤษภาคม 2551.

ดู ออสโลและอนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย

อเล็กซานเดอร์ รืยบัค

อเล็กซานเดอร์ อีการาวิช รืยบัค (Аляксандр І́гаравіч Рыбак Alyaxandr Igaravich Rybak) เกิดเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1986 เมืองมินสค์ ในเบลารุส แต่เติบโตในเนซอดเดน ซึ่งอยู่นอกกรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ เป็นนักร้อง-นักแต่งเพลง นักไวโอลิน นักเปียโน นักเขียนและนักแสดง ชาวนอร์เวย์ เขาชนะรางวัลชนะเลิศ ในการประกวดแสดงความสามารถของนอร์เวย์ จากเพลงที่เขาแต่ง โดยในปี 2009 เขาเป็นตัวแทนของประเทศนอร์เวย์ในการแข่งขันการประกวดเพลงยูโรวิชัน‎ ในมอสโคว์ ประเทศรัสเซีย โดยเขาชนะเลิศการแข่งขันด้วยคะแนน 387 คะแนน ถือเป็นสถิติคะแนนที่สูงที่สุดในการแข่งขัน กับเพลง "Fairytale" ที่เขาทั้งเขียนทั้งเนื้อร้องและทำนอง.

ดู ออสโลและอเล็กซานเดอร์ รืยบัค

ฮิสทรีเวิลด์ทัวร์

อนเสิร์ตทัวร์ฮิสทรี (HIStory World Tour) เป็นคอนเสิร์ตทัวร์เดี่ยวครั้งที่ 3 โดย นักร้องชาวอเมริกัน ไมเคิล แจ็กสัน โดยจัดทั้งหมด 82 รอบ และมีผู้เข้าร่วมประมาณ 4.5 ล้านคน ซึ่งก่อนหน้านี้ในคอนเสิร์ตทัวร์แบด 4.4 ล้านคน เป็นคอนเสิร์ตทัวร์ที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยโดยศิลปินเดี่ยวในแง่ของการเข้าร่วมประชุมในช่วงเวลาที่ทำรายได้รวมมากกว่ากว่า 165 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ (ยกเว้นคอนเสิร์ตฟรี).

ดู ออสโลและฮิสทรีเวิลด์ทัวร์

ผู้เร่ร่อนดิจิทัล

ผู้เร่ร่อนดิจิทัล (Digital nomad)ยังไม่มีศัพท์บัญญัติภาษาไทย แต่คำ nomad (เอกพจน์) หมายถึงสมาชิกแห่งชนเผ่าเร่ร่อนหรือคนเร่ร่อนที่อยู่ไม่เป็นหลักแหล่ง ตาม ใช้ ชนร่อนเร่ ส่วนพจนานุกรมศัพท์ประชากรศาสตร์ฯ ใช้ ผู้เร่ร่อน หรือ คนพเนจร การใช้ ผู้เร่ร่อนดิจิทัล หรือ คนเร่ร่อนดิจิทัล จึงเหมาะสมมากกว่าทับศัพท์โดยตรง คือบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่หาเลี้ยงชีพด้วยธุรกิจออนไลน์ การรับจ้างทำของ หรือทำงานกับนายจ้างของตนซึ่งตั้งอยู่ที่อื่นผ่านทางระบบโทรคมนาคม พร้อมกับเดินทางท่องเที่ยวไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่งคล้ายกับชนเร่ร่อน บุคคลเหล่านี้บางคนอาจเลือกอาศัยเป็นหลักแหล่งในประเทศใดประเทศหนึ่งเป็นถิ่นพำนัก เพื่อใช้เป็นฐานสำหรับทำงานและท่องเที่ยวในประเทศข้างเคียง โดยมากแล้ว ผู้เร่ร่อนดิจิทัลมักอยู่ในสถานที่ ๆ สามารถสมาคมกับผู้อื่นได้ง่ายและราคาค่าใช้งานไม่แพง อาทิ ห้องสมุดสาธารณะ ร้านกาแฟ หรือสถานสำหรับทำงานร่วมกันและสนทนา และมักเลือกประเทศที่ตนใช้สิทธิ์ยกเว้นใบอนุญาตเข้าเมืองหรือมีค่าธรรมเนียมไม่สูงไปพร้อม ๆ กับได้่คุณภาพชีวิตที่เหมาะแก่เงินที่ต้องจ่ายได้ ยิ่งไปกว่านั้นประเทศหรือเมืองใดที่มีผู้เร่ร่อนดิจิทัลอาศัยมากก็มักจะมีการบอกต่อกันให้มาอยู่อาศัยด้วย ผู้เร่ร่อนดิจิทัลบางคนกล่าวว่า การเดินทางพเนจรไปพร้อมกับการทำงานช่วยเพิ่มความคิดสร้างสรรค์และเพิ่มศักยภาพให้ไม่จำกัดแต่ในกรอบหรือจำกัดด้วยแรงงานท้องถิ่น.

ดู ออสโลและผู้เร่ร่อนดิจิทัล

จุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์

รายชื่อต่อไปนี้เป็นจุดหมายปลายของสายการบินบริติช แอร์เวย์ โดยที่ไม่ได้รวมจุดหมายปลายทางของสายการบินลูก และสายการบินแฟรนไชส์ (บีเอ คอนเนคท์, จีบีแอร์เวย์, บริติชเมดิเตอร์เรเนียน แอร์เวย์).

ดู ออสโลและจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์

จุดหมายปลายทางของการบินไทย

โบอิง 747-400 ของการบินไทยกำลังบินขึ้น ในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 การบินไทย ได้ให้บริการการบินไปยังท่าอากาศยานทั้งหมด 64 แห่ง ใน 35 ประเทศ (รวมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและประเทศไทย) ครอบคลุม 3 ทวีป ดังรายการต่อไปนี้ โดยมีท่าอากาศยานนานาชาติเวียนนา เมืองเวียนนา เป็นท่าอากาศยานที่ 64 ที่ทำการบินไทยทำการบินประจำ ในปี..

ดู ออสโลและจุดหมายปลายทางของการบินไทย

จุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์

ประเทศจุดหมายปลายทางของโคเรียนแอร์ แอร์บัส เอ 380 ของสายการบินโคเรียนแอร์ โคเรียนแอร์ ให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทาง 13 แห่งในประเทศ และ 115 แห่งใน 50 ประเทศใน 5 ทวีป เมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ.

ดู ออสโลและจุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์

ทรีฟ ลี

ทรีฟ ลี (Trygve Lie; 16 กรกฎาคม 1896 – 30 ธันวาคม 1968) เป็นนักการเมือง ผู้นำกรรมกร เจ้าหน้าที่รัฐและผู้ประพันธ์ชาวนอร์เวย์ เขาเป็นรัฐมนตรีต่างประเทศนอร์เวย์ระหว่างปีวิกฤตของรัฐบาลนอร์เวย์พลัดถิ่นในกรุงลอนดอนตั้งแต่ปี 1940 ถึง 1945 ตั้งแต่ปี 1946 ถึง 1952 เขาเป็นเลขาธิการสหประชาชาติคนแรก ลีมีชื่อเสียงเป็นนักการเมืองที่เน้นการปฏิบัติและเด็ดเดี่ยว.

ดู ออสโลและทรีฟ ลี

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู ออสโลและทวีปยุโรป

ท่าอากาศยานออสโล การ์เดอร์มอน

ท่าอากาศยานออสโล, การ์เดอร์มอน (Oslo lufthavn, Gardermoen) ตั้งอยู่ที่การ์เดอร์มอน ในเขตยูลเลนแซเกอร์ ประเทศนอร์เวย์ ห่างจากตัวเมืองกรุงออสโลไปทางเหนือประมาณ 48 กิโลเมตร เริ่มเปิดใช้ในเชิงพาณิชย์ตั้งแต่ปี..

ดู ออสโลและท่าอากาศยานออสโล การ์เดอร์มอน

ดาวเทียมแบล็กไนต์

วเทียมแบล็กไนต์ (Black Knight satellite) เป็นดาวเทียมที่โคจรอยู่ใกล้กับวงโคจรขั้วโลก ถูกคาดการณ์โดยนักทฤษฎีสมคบคิด ว่าเป็นดาวเทียมที่ถูกส่งมาจากสิ่งมีชีวิตจากต่างดาวเมื่อราว 13,000 ปีที่แล้ว นักวิจารณ์และสถาบันกระแสหลักได้เรียกข้อมูลดังกล่าวว่าเป็นทฤษฎีสมคบคิดเนื่องจากประกอบด้วยข้อมูลที่ยังไม่ถูกเปิดเผยจำนวนมาก อย่างไรก็ตาม ในปี..

ดู ออสโลและดาวเทียมแบล็กไนต์

ดิมมูบอร์เกียร์

Shagrath ขณะแสดงสดในเทศกาลดนตรีกอดส์ออฟเมทัล ปี 2007 ดิมมูบอร์เกียร์ (Dimmu Borgir แปลว่า เมืองแห่งความมืด) เป็นวงดนตรีในแนวซิมโฟนิคแบล็กเมทัลจากประเทศนอร์เวย์ สามารถติดอันดับชาร์ตเพลงในประเทศกลุ่มสแกนดิเนเวียและในประเทศเยอรมนี และจัดได้ว่าเป็นวงแบล็กเมทัลที่ประสบความสำเร็จอย่างสูง ดิมมูบอร์เกียร์ ในช่วงก่อตั้งนั้นเล่นดนตรีแนวแบล็กเมทัล ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนมาเล่นในแนวซิมโฟนิคแบล็กเมทัล.

ดู ออสโลและดิมมูบอร์เกียร์

ดิอะเมซิ่งเรซ 6

อะเมซิ่ง เรซ 6 (The Amazing Race 6) เป็นฤดูกาลที่ 6 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ดู ออสโลและดิอะเมซิ่งเรซ 6

ดินแดนปาเลสไตน์

นแดนปาเลสไตน์หรือดินแดนปาเลสไตน์ที่ถูกยึดครองประกอบด้วยเวสต์แบงก์ (รวมเยรูซาเลมตะวันออก) และฉนวนกาซา ในปี 2536 ตามข้อตกลงออสโล ในทางการเมือง บางส่วนของดินแดนดังกล่าวอยู่ภายใต้เขตอำนาจขององค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ (พื้นที่เอและบี) ในปี 2550 ฉนวนกาซาที่ฮามาสปกครองแยกจากองค์การบริหารปาเลไสตน์อย่างรุนแรง และปกครองพื้นที่กาซาเป็นอิสระนับแต่นั้น อิสราเอลยังควบคุมทางทหาร (military control) สมบูรณ์ และตามข้อตกลงออสโล ควบคุมทางพลเรือน (civil control) เหนือ 61% ของเวสต์แบงก์ (พื้นที่ซี) ในเดือนเมษายน 2554 ภาคีปาเลสไตน์ลงนามความตกลงปรองดอง แต่การนำไปปฏิบัติยังสะดุดอยู่หลังจากนั้น ความพยายามปรองดองต่อมาในปี 2555 ก็ไม่ประสบความสำเร็จเช่นเดียวกัน พื้นที่เวสต์แบงก์และฉนวนกาซาเป็นส่วนของดินแดนทางตะวันตกของแม่น้ำจอร์แดนในปาเลสไตน์ในอาณัติภายใต้การปกครองของอังกฤษ ซึ่งก่อตั้งในปี 2465 นับแต่สงครามอาหรับ–อิสราเอล ปี 2491 กระทั่งสงครามหกวัน ปี 2510 เวสต์แบงก์ถูกจอร์แดนยึดครองและผนวก (เฉพาะสหราชอาณาจักรและปากีสถานรับรองการผนวก) และฉนวนกาซาถูกอียิปต์ยึดครอง แม้รัฐบาลปาเลสไตน์ล้วน (All-Palestine Government) ใช้อำนาจอย่างจำกัดในกาซาตั้งแต่เดือนกันยายน 2491 ถึงปี 2502 ก็ตาม แนวพรมแดนซึ่งเป็นเรื่องของการเจรจาในอนาคต ประชาคมนานาชาติถือโดยทั่วไปว่านิยามโดยเส้นสีเขียวอันแทนเส้นการสงบศึกภายใต้ความตกลงการสงบศึกปี 2492 ซึ่งประกาศเส้นการสงบศึกอย่างชัดเจน มิใช่พรมแดนระหว่างประเทศ เนื่องจากอิสราเอลยึดดินแดนเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาจากจอร์แดนและอียิปต์ตามลำดับในสงครามหกวัน ปี 2510 และได้รักษาการควบคุมดินแดนดังกล่าวนับแต่นั้น ประชาคมนานาชาติ รวมทั้งสหประชาชาติและองค์การกฎหมายระหว่างประเทศจึงมักเรียกพื้นที่ดังกล่าวว่า "ดินแดนปาเลสไตน์ที่ถูกยึดครอง" ในปี 2523 อิสราเอลผนวกเยรูซาเลมตะวันออกอย่างเป็นทางการ การผนวกดังกล่าวถูกนานาชาติประณามและคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติประกาศให้ "ไม่มีผลและเป็นโมฆะ" ขณะที่ชาติอิสราเอลมองว่า เยรูซาเลมทั้งหมดเป็นเมืองหลวงของประเทศ ในปี 2531 ด้วยองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์มีเจตนาประกาศรัฐปาเลสไตน์ จอร์แดนจึงยอมสละการอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนเวสต์แบงก์ รวมเยรูซาเลมตะวันออก ตั้งแต่คำประกาศอิสรภาพปาเลสไตน์ในปี 2531 มีชาติสมาชิกสหประชาชาติประมาณ 130 ชาติรับรองรัฐปาเลสไตน์ อันประกอบด้วยดินแดนปาเลสไตน์ แต่อิสราเอลและชาติตะวันตกบางชาติ รวมทั้งสหรัฐอเมริกา ยังไม่รับรอง ทว่า ไม่นาน องค์การบริหารปาเลสไตน์ถูกตั้งขึ้นตามผลของข้อตกลงออสโล ปี 2536 โดยควบคุมเหนือบางส่วนของเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาอย่างจำกัด องค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ สหภาพยุโรป ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศและกาชาดสากลถือว่าเยรูซาเลมตะวันออกเป็นส่วนหนึ่งของเวสต์แบงก์ และจึงเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนปาเลสไตน์ตามลำดับ ขณะที่อิสราเอลถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของตนอันเป็นผลจากการผนวกในปี 2523 ตามศาลสูงสุดอิสราเอล อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สี่ ซึ่งห้ามการผนวกดินแดนที่ถูกยึดครองฝ่ายเดียว ใช้ไม่ได้กับเยรูซาเลมตะวันออก เพราะอิสราเอลและพันธมิตรไม่รับรอง "องค์อธิปัตย์ที่ชอบด้วยกฎหมาย" ที่เดิมเคยควบคุมดินแดนนั้น องค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ (ซึ่งล่าสุดเปลี่ยนชื่อเป็นรัฐปาเลสไตน์ อันเป็นผลจากสหประชาชาติรับรองเอกราช) ซึ่งรักษาการอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนเยรูซาเลมตะวันออก ไม่เคยใช้อำนาจอธิปไตยเหนือพื้นที่ดังกล่าว ทว่า ไม่มีประเทศใดรับรองอำนาจอธิปไตยของอิสราเอล นับแต่การผนวกดินแดนที่ถูกยึดครองระหว่างสงครามฝ่ายเดียวโดยฝ่าฝืนอนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สี่ ข้อตกลงออสโล (2538) สถาปนาการออกสู่ทะเลสำหรับกาซาภายใน 20 ไมล์ทะเลจากฝั่ง ข้อผูกมัดเบอร์ลินปี 2545 ลดเหลือ 19 กิโลเมตร ในเดือนตุลาคม 2549 อิสราเอลกำหนดขีดจำกัด 6 ไมล์ และผลของสงครามกาซาจำกัดการออกลงเหลือขีดจำกัด 3 ไมล์ทะเล ซึ่งเกินกว่านั้นมีเขตห้ามเข้า (no-go zone) ผลคือ ชาวประมงกว่า 3,000 คนถูกปฏิเสธการออกสู่ 85% ของพื้นที่ทะเลตามที่ตกลงกันในปี 2538 พื้นที่เดดซีส่วนใหญ่ถูกห้ามไม่ให้ชาวปาเลสไตน์ใช้ และชาวปาเลสไตน์ถูกห้ามไม่ให้ออกสู่แนวชายฝั่ง การยึดกาซาของฮามาสแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ทางการเมือง โดยฟาตาห์ของอับบาสส่วนใหญ่ปกครองเวสต์แบงก์ และนานาชาติรับรองเป็นองค์การบริหารปาเลสไตน์อย่างเป็นทางการ ฉนวนกาซาภายในพรมแดนถูกฮามาสปกครอง ขณะที่พื้นที่เวสต์แบงก์ส่วนมากปกครองโดยองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ซึ่งตั้งอยู่ที่รอมัลลอฮ์ ทว่า มีความตกลงเมื่อเดือนเมษายน 2557 ระหว่างสองกลุ่มการเมืองจะจัดการเลือกตั้งในปลายปี 2557 และตั้งรัฐบาลเอกภาพปรองดอง.

ดู ออสโลและดินแดนปาเลสไตน์

ดีร์ก ฟัน บาบือเริน

ีร์ก ยัสเปิร์สโซน ฟัน บาบือเริน (Dirck Jasperszoon van Baburen) หรือ เตโอดูร์ ฟัน บาบือเริน (Teodoer van Baburen; ราว ค.ศ. 1595 - 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1624) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพประวัติศาสตร์, คริสต์ศาสนา และชีวิตประจำวัน.

ดู ออสโลและดีร์ก ฟัน บาบือเริน

คริสตินา ชานี

ริสตินา ชานี (Christina Chanée, เกิด 6 มกราคม พ.ศ. 2522 —) มีชื่อจริงว่า คริสตินา รัชนี เบิร์ช วงศ์สกุล นักร้องเพลงป็อปลูกครึ่งเดนมาร์ก-ไทย ซึ่งมีบิดาเป็นชาวไทย และมารดาชาวเดนมาร์ก เธอชนะเลิศในการประกวด Dansk Melodi Grand Prix 2010 ร่วมกับโทมัส เนเวอร์กรีน ด้วยบทเพลง "In a Moment Like This" ซึ่งเธอและเนเวอร์กรีนได้ขับร้องเพลงนี้ในแข่งขันยูโรวิชันส์ซองคอนเทสต์ 2010 ในนามของประเทศเดนมาร์ก และได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 4 โดยได้คะแนนถึง 149 คะแนน.

ดู ออสโลและคริสตินา ชานี

คริสเตียนซาน

ริสเตียนซาน (Kristiansand) เป็นเมือง เทศบาล และเมืองหลวงเทศมณฑลเวสต์-อักแดร์ ประเทศนอร์เวย์ เป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 5 ของนอร์เวย์ มีประชากร 84,476 คน (ข้อมูล 1 มกราคม ค.ศ.

ดู ออสโลและคริสเตียนซาน

คล็อกทาวเวอร์

ล็อกทาวเวอร์ (Clock Tower; เป็นเกมแนวสยองขวัญที่ผลิตโดยบริษัท HUMAN Entertainment วางจำหน่ายครั้งแรกบนเครื่องซูเปอร์ฟามิคอมในปี 1995 และมีภาคต่อตามออกมาอีกหลายชุด หลังจากที่บริษัท HUMAN เลิกกิจการไปในปี 2002 ก็ได้ขายลิขสิทธิ์เกมนี้ให้กับบริษัท แคปคอม และทำเกมภาคต่อออกมาโดยเปลี่ยนรูปแบบการเล่นจากแนว point 'n click เป็นเกม Horror Adventure ทำให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารย์จากแฟนเกมซีรีส์นี้อยู่ไม่น้อย เกมนี้เป็นที่นิยมเนื่องจากบรรยากาศการเล่นที่ไม่เน้นสัตว์ประหลาดหรือภาพสยดสยอง แต่จะเน้นไปที่อารมณ์ความกลัวจากการหลบหนีผู้ที่มีอำนาจเหนือกว่าในสิ่งแวดล้อมจำกัด และต้องใช้อุปกรณ์หรือสถานที่ซ่อนตัวช่วยในการเอาชีวิตรอดให้ได้.

ดู ออสโลและคล็อกทาวเวอร์

คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย

แผนที่แสดงคาบสมุทรต่างๆในยุโรปเหนือ คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย (Scandinavian Peninsula) ตั้งอยู่บริเวณยุโรปเหนือ มีพื้นที่ประมาณ 770,000 ตารางกิโลเมตร พื้นที่หลักๆคือดินแดนของประเทศสวีเดนและประเทศนอร์เวย์ เป็นคาบสมุทรที่ใหญ่ที่สุดในทวีปยุโรป มีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 500 กิโลเมตร แกนกลางคาบสมุทรเป็นเทือกเขาสูงชัน ยอดเขาที่สูงที่สุดบนคาบสมุทรอยู่ในประเทศนอร์เวย์ สูงกว่า 2,400 เมตร ทิศเหนือของคาบสมุทรอยู่ในเขตอาร์กติก สามารถชมปรากฏการณ์พระอาทิตย์เที่ยงคืนได้ ทั้ง สวีเดน นอร์เวย์ และ ฟินแลนด์ แต่จุดชมที่สวยที่สุดอยู่ในนอร์เวย์บริเวณแหลมเหนือ ชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณคาบสมุทรมักจะอาศัยกระจุกตัวอยู่ทางทิศใต้ของคาบสมุทร เพราะมีอากาศที่อบอุ่นกว่า มีเมืองใหญ่ๆตั้งอยู่ อาทิเช่น สตอกโฮล์ม ออสโล เมลโม เฮลซิงบอร์ก เป็นต้น.

ดู ออสโลและคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์

นทูตและสถานกงสุลฟิลิปปินส์ในประเทศต่าง.

ดู ออสโลและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่น

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตญี่ปุ่นประจำอยู่ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศญี่ปุ่นในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ดู ออสโลและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่น

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกา

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศศรีลังกาในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ดู ออสโลและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกา

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตสเปน ประเทศสเปนเป็นประเทศหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกว้างขวางเกือบทั่วโลก รายชื่อข้างล่างนี้คือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของสเปนในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ดู ออสโลและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปน

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลี

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตอิตาลี รายชื่อข้างล่างคือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศอิตาลีในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ดู ออสโลและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลี

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตจีน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของสาธารณรัฐประชาชนจีนในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ดู ออสโลและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีน

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศคาซัคสถาน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตคาซัคสถาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลของคาซัคสถานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ดู ออสโลและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศคาซัคสถาน

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศปากีสถาน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตปากีสถาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศปากีสถานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ดู ออสโลและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศปากีสถาน

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกส

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตโปรตุเกส ประเทศโปรตุเกสเป็นประเทศหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกว้างขวางเกือบทั่วโลก รายชื่อข้างล่างนี้คือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของโปรตุเกสในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ดู ออสโลและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกส

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางทูตไทย สถานทูตและสถานกงสุลไทยในต่างแดน.

ดู ออสโลและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทย

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเกาหลีใต้ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของเกาหลีใต้ในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ดู ออสโลและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้

ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร

รถไฟฟ้าเมืองเนือร์นแบร์ก ประเทศเยอรมนี ภายในรถไฟฟ้าเมืองเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร (Siemens Modular Metro) เป็นตระกูลรถรางไฟฟ้าเพื่อระบบขนส่งด่วนพิเศษ ซึ่งผลิตโดย ซีเมนส์ทรานสพอร์เทชันซิสเทมส์ และผู้ประกอบการรถไฟใช้ทั่วโลก แนวคิดของยานพาหนะดังกล่าวเปิดตัวในกรุงเวียนนา เมื่อ..

ดู ออสโลและซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร

ประวัติการบินไทย

ำนักงานการบินไทย สาขาท่าอากาศยานดอนเมือง ประวัติบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) กำเนิดจากที่รัฐบาลไทยให้ บริษัท เดินอากาศไทย จำกัด กับสายการบินสแกนดิเนเวียน ทำสัญญาร่วมทุนระหว่างกัน เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.

ดู ออสโลและประวัติการบินไทย

ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศบัลแกเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศชิลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศฟินแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศกรีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศญี่ปุ่น เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศฝรั่งเศส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศลัตเวีย

ลัตเวีย (Latvia; Latvija) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐลัตเวีย (Republic of Latvia; Latvijas Republika) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับอีก 2 รัฐบอลติก คือ เอสโตเนียทางทิศเหนือ และลิทัวเนียและเบลารุสทางทิศใต้ จดรัสเซียทางทิศตะวันออก ส่วนทางทิศตะวันตกนั้น ลัตเวียมีอาณาเขตทางทะเลติดต่อกับสวีเดน กรุงรีกา เมืองหลวงของลัตเวียเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาเมืองที่อยู่ในกลุ่มรัฐบอลติก.

ดู ออสโลและประเทศลัตเวีย

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศสวีเดน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศสเปน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศออสเตรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศออสเตรเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศอาร์เจนตินา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศอิตาลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศฮังการี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

ดู ออสโลและประเทศนอร์เวย์

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศนิวซีแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศแคนาดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศโรมาเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศโปแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศไอซ์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเบลเยียม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเช็กโกสโลวาเกีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเลบานอน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเดนมาร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเนเธอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ดู ออสโลและประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

นางงามจักรวาล 2012

นางงามจักรวาล 2012 (Miss Universe 2012) เป็นการจัดประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 61 จัดขึ้นในวันที่ 20 ธันวาคม..

ดู ออสโลและนางงามจักรวาล 2012

นีลส์ คริสตี

นีลส์ คริสตี (Nils Christie; 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2471 – 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นนักสังคมวิทยาและผู้เชี่ยวชาญอาชญาวิทยาชาวนอร์เวย์ เขาเป็นศาสตราจารย์ด้านอาชญาวิทยาที่มหาวิทยาลัยออสโล ตั้งแต..

ดู ออสโลและนีลส์ คริสตี

นีนา โซลไฮม์

นีนา โซลไฮม์ (Nina Solheim; 니나 솔헤임) มีชื่อในภาษาเกาหลีคือ โชมีซุน (조미선) เกิดวันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 1979 เป็นนักกีฬาเทควันโดชาวนอร์เวย์ ผู้ซึ่งเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน ค.ศ.

ดู ออสโลและนีนา โซลไฮม์

แอร์ลิง ลอเรนต์ซัน

แอร์ลิง ลอเรนต์ซัน เป็นพระภัสดาในเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์ พระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ เขาและเจ้าหญิงรัญฮิลด์มีโอรส-ธิดารวม 3 คน ด้วยการเสกสมรสต่างฐานันดร ทำให้พระชายาของเขาต้องใช้ฐานันดรในระดับ เฮอร์ ไฮนีส ตัวของเขาเองก็ถือเป็นพระบรมวงศานุวงศ์แห่งนอร์เวย์เด้วย ปัจจุบัน เจ้าหญิงรัญฮิลด์ได้สิ้นพระชนม์ลงแล้ว.

ดู ออสโลและแอร์ลิง ลอเรนต์ซัน

แอลทีอี

แอลทีอี (LTE - Long Term Evolution) เป็นชื่อโครงการของระบบสื่อสารโทรศัพท์มือถือ 4G โดยมีเป้าหมายในการออกแบบให้สามารถส่งผ่านข้อมูลได้มากขึ้นและเร็วขึ้น แอลทีอีได้มีการเปิดตัวในชื่อโทรศัพท์มือถือ 4G LTE โดยเทเลียโซเนรา ในสตอกโฮล์ม และ ออสโล ในวันที่ 14 ธันวาคม 2552 โดยพัฒนาเพิ่มเติมจากระบบยูเอ็มทีเอส ของระบบ 3G 4G LTE มีความสามารถดาวโหลดได้สูงถึง 100Mbps ความเร็วอับโหลด 50Mbps และปิงต่ำกว่า 10 มิลลิวินาที โดยมีแบนด์วิทธ์อยู่ในช่วงระหว่างช่วง 1.4 เมกกะเฮิร์ตถึง 20 เมกกระเฮิร์ต ในวันที่ 18 สิงหาคม 2552 ทาง European Commission ได้ประกาศลงทุนเป็นจำนวนเงิน 18 ล้านยูโรในงานวิจัยและพัฒนา LTE Advanced.

ดู ออสโลและแอลทีอี

แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

แอนน์แห่งเดนมาร์ก (Anne of Denmark; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1574 — 2 มีนาคม ค.ศ. 1619) เป็นพระธิดาองค์ที่สองของพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์กและโซฟีแห่งเมคเลนบูร์ก-กึสโทร สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ เป็นพระมเหสีในพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ และที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ แอนน์แห่งเดนมาร์กเป็นพระราชินีแห่งสกอตแลนด์ระหว่างวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ.

ดู ออสโลและแอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

แอนเดอส์ เบห์ริง เบรวิก

แอนเดอส์ เบห์ริง เบรวิก (Anders Behring Breivik ออกเสียงตามภาษานอร์เวย์ อันเดิช เบห์ริง บไรวีก, เกิด 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522) เป็นมือสังหารหมู่และผู้ก่อการร้ายชาวนอร์เวย์ ในเหตุระเบิดและกราดยิงหมู่ต่อเนื่องเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม..

ดู ออสโลและแอนเดอส์ เบห์ริง เบรวิก

โยชูอา คิมมิช

ัว คิมมิช (Joshua Kimmich) เกิดเมื่อ 8 กุมภาพัน..

ดู ออสโลและโยชูอา คิมมิช

โรงเรียนฮากาส

ปากทางนีลส์ฌูลส์ 52 ร่วมกับโรงเรียนฟรอกเนอร์ โรงเรียนฮากาส (Haagaas Artiumskursus มีชื่ออย่างไม่เป็นทางการคือ Haagaas skole, Haagaas private gymnas หรือ Haagaas' studentfabrikk; Haagaas School) หรือที่เรียกกันในชื่อ ฮากาส เป็นโรงเรียนเตรียมเข้ามหาวิทยาลัยของเอกชนในกรุงออสโล ซึ่งดำเนินการเรียนการสอนในปี..

ดู ออสโลและโรงเรียนฮากาส

โอลิมปิกฤดูหนาว

อลิมปิกฤดูหนาว (Winter Olympic Games) เป็นการแข่งขันระดับโอลิมปิกด้านกีฬาฤดูหนาวที่จัดขึ้นทุก 4 ปี ลักษณะของกีฬาฤดูหนาวจะจัดขึ้นในภูมิประเทศที่เป็นน้ำแข็งหรือหิมะ เช่นสเกตน้ำแข็งและสกี โดยคณะกรรมการโอลิมปิกของชาติต่าง ๆ (NOCs) บางประเทศนั้นจะเป็นคณะเดียวกันกับโอลิมปิกฤดูร้อนที่จะเป็นผู้ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันกับนักกีฬาของชาติอื่น เพื่อชิงเหรียญทอง เหรียญเงิน และเหรียญทองแดง สำหรับจำนวนประเทศที่มีส่วนร่วมในกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวน้อยกว่าโอลิมปิกฤดูร้อน ด้วยเหตุผลชัดเจนของสภาพภูมิประเทศ และประเทศส่วนใหญ่อยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร ซึ่งไม่มีโอกาสที่จะเข้าถึงการฝึกกีฬาฤดูหนาวนั่นเอง ทั้งนี้ การแข่งขันครั้งแรก จัดขึ้นที่เมืองชาโมนิคซ์ ประเทศฝรั่งเศส เมื่อปี พ.ศ.

ดู ออสโลและโอลิมปิกฤดูหนาว

โอลิมปิกฤดูหนาว 1952

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6 ประจำปี..

ดู ออสโลและโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

โอลิมปิกฤดูหนาว 2022

ระวังสับสนกับ พาราลิมปิกฤดูหนาว 2022 กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 24 (XXIV Olympic Winter Games) เป็นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 24 จัดขึ้น ณ กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน ระหว่างวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ถึง 20 กุมภาพัน..

ดู ออสโลและโอลิมปิกฤดูหนาว 2022

โฮกุ้น ลอเรนต์ซัน

กุ้น ลอเรนต์ซัน.

ดู ออสโลและโฮกุ้น ลอเรนต์ซัน

โดนต์เซย์ยูเลิฟมี

"โดนต์เซย์ยูเลิฟมี" (Don't Say You Love Me) เป็นซิงเกิลเปิดตัวของวงเอ็มทูเอ็ม ดูโอแนวป็อปจากนอร์เวย์ที่ประกอบด้วยสมาชิกคือ เมเรียน เรเวน และ มาริต ลาร์เซน เพลงออกอากาศครั้งแรกทางเรดิโอดิสนีย์ ก่อนที่จะออกอากาศอย่างเป็นทางการทางสถานีวิทยุอเมริกันและออกจำหน่ายเป็นซิงเกิลในเดือนตุลาคม..

ดู ออสโลและโดนต์เซย์ยูเลิฟมี

เพียร์ กินต์

ียร์ ฉบับปี 1876 รับบทโดยเฮนริก คลาวเซน เพียร์ กินต์ (Peer Gynt;; ออกเสียงแบบอังกฤษ: /ˈpɪər ˈɡɪnt/) เป็นบทละครความยาว 5 องก์ แต่งโดยเฮนริก อิบเซ็น (1828 – 1906) กวีชาวนอร์เวย์ ดัดแปลงจากตำนานพื้นบ้านนอร์เวย์เกี่ยวกับนายพราน ชื่อ Per Gynt บทละครเรื่องนี้ตีพิมพ์ครั้งแรกที่โคเปนเฮเกน เมื่อ..

ดู ออสโลและเพียร์ กินต์

เมย์เฮม

มย์เฮม เป็นวงแบล็กเมทัลจากออสโล, นอร์เวย์ ก่อตั้งในปี 1984 มีสมาขิกดั้งเดิมคือเอสไตน์ ยูโรนิมัส อาร์เซธ์ (Øystein 'Euronymous' Aarseth) มือกีตาร์, ยอร์น 'เนโครบัดเชอร์' สตับเบรัด (Jørn 'Necrobutcher' Stubberud) มือเบส และเคอร์วิน แมนไฮม์ (Kjetil "Manheim") มือกลอง โดยในการอัดเสียงแรกของวง "เดธครัช" (Deathcrush) มีนักร้องนำชื่อ สเวน เอลิค คริสเตียนเซน (Sven Erik Kristiansen)http://www.metal-archives.com/albums/Mayhem/Deathcrush/252 ก่อนจะเปลี่ยนนักร้องนำใหม่เป็นเปอร์ "เดด" โฮลิน (Per "Dead" Ohlin) ที่ทำหน้าที่ทั้งแต่งเพลงและร้องนำ โดยในปัจจุบันนักร้องนำคือ อัตติลา ไซฮาร์ (Attila Csihar) ที่ผันตัวจากวิศวกรไฟฟ้าและครูสอนฟิสิกส์และคณิตศาสตร์ มาเป็นนักร้องนำ โดยเขายังเคยทำงานร่วมกับ "เดด" ในอัลบั้ม De Mysteriis Dom Sathanas อีกด้วย วงเริ่มจากการอัดเทปเสียงในรูปของ EP โดยปราศจากค่ายเพลง จนภายหลัง "ยูโรนิมัส" ไปตั้งค่ายเพลงเอง คือ เดธไลค์ ไซเลินซ์ โปรดักชันส์ (Deathlike Silence Productions) เมย์แฮมสะสมชื่อเสียงจากการแสดงสดที่เล่นในรูปแบบใต้ดิน และการสร้างภาพลักษณ์ฉาวโฉดต่อกระแสแฟนเพลงด้วยการเผาโบสถ์ไม้นอร์เวย์หลายแห่ง รวมถึงการใช้ความรุนแรงกับสมาชิกในวง โดย"ยูโรนิมัส" มือกีตาร์ได้ถูกวาร์จ วิเคอร์เนสมือเบสคนใหม่และสมาชิกวงเบอร์ซัมฆาตรกรรม ในปี 1993 ก่อนออกอัลบั้มแรกของเมย์แฮมเล็กน้อย และการฆ่าตัวตายของ "เดด" ด้วยการใช้ลูกซองยิงเข้าที่ศีรษะของตน ภาพการตายของเขาถูกถ่ายโดย "ยูโรนิมัส" แล้วนำไปทำเป็นปกอัลบั้มคอนเสิร์ต Dawn of the Black Hearts ในปี 1991 เมย์แฮมได้ออกอัลบั้มแรก De Mysteriis Dom Sathanas ในปี 1994 ซึ่งได้รับการพิจารณาให้เป็นอัลบั้มที่มีอิทธิพลต่อวงการแบล็กเมทัลมากที่สุด โดยมีซิงเกิล Freezing Moon เป็นเพลงหลักของอัลบั้มที่ได้รับการโหวตให้เป็นหนึ่งในเพลงแบล็กเมทัลที่ดีที่สุด ในปี 2007 เมย์แฮมได้รับรางวัลจาก Spellemannprisen ของนอร์เวย์ ในอัลบั้มที่ 4 Ordo Ad Chao สำหรับอัลบั้มเมทัลที่ดีที.

ดู ออสโลและเมย์เฮม

เมเรียน เรเวน

มาริออน เอลิเซ ราเวน (Marion Elise Ravn) หรือ มาริออน ราเวน (Marion Raven) เป็นนักร้องแนวป๊อป-ร็อค, และโฟล์ค-ร็อค ชาวนอร์เวย์ เป็นหนึ่งในอดีตสมาชิกวง M2M วงดูโอที่มีเพื่อนร่วมวงอีกหนึ่งคน คือ Marit Larsen ปัจจุบันเธอเป็นนักร้องในสังกัด Blackbird Music และ Sony Music (ในอดีต Eleven Seven, Atlantic Records) นอกจากจะเป็นนักร้องแล้ว เธอยังมีความสามารถทางด้านการแสดงและเล่นดนตรีหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการ กีตาร์ไฟฟ้า, กลอง, คีย์บอร์ด, เพอร์คัชชัน เป็นต้น หลังจากที่ M2M ได้ประกาศแยกวงอย่างเป็นทางการแล้ว มาริออน ราเวน ได้ออกอัลบั้มเดี่ยวไปแล้ว 3 อัลบั้ม แนวป๊อป-ร็อค, และโฟล์ค-ร็อค ซึ่งอัลบั้มทั้งสาม ถือว่าประสบความสำเร็จและได้รับการตอบรับอย่างดี โดยเฉพาะ อัลบั้มแรกของเธอ Here I Am ที่ประสบความสำเร็จทางด้านยอดขายในประเทศแถบตะวันออกเฉียงใต้และซิงเกิ้ล Break You ซึ่งสามารถขึ้นสู่อันดับที่ 1 โอริกอนชาร์ตของญี่ปุ่นได้สำเร็.

ดู ออสโลและเมเรียน เรเวน

เสียงเรียกของคธูลู

"เสียงเรียกของคธูลู" (The Call of Cthulhu) เป็นเรื่องสั้นที่ประพันธ์โดยเอช. พี. เลิฟคราฟท์ในปีพ.ศ. 2469 และตีพิมพ์ครั้งแรกในวารสาร Weird Tales ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู ออสโลและเสียงเรียกของคธูลู

เส้นขนานที่ 60 องศาเหนือ

้นขนานที่ 60 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 60 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 18 ชั่วโมง 52 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 5 ชั่วโมง 52 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ดู ออสโลและเส้นขนานที่ 60 องศาเหนือ

เหตุโจมตีในนอร์เวย์ พ.ศ. 2554

หตุโจมตีในนอร์เว..

ดู ออสโลและเหตุโจมตีในนอร์เวย์ พ.ศ. 2554

เอวัน (วงดนตรี)

อวัน (A1) เป็นกลุ่มดนตรีแนวป็อปอังกฤษ–นอร์เวย์ ก่อตั้งวงในปี..

ดู ออสโลและเอวัน (วงดนตรี)

เอ็มทูเอ็ม

อ็มทูเอ็ม (M2M) คือ นักร้องคู่เพลงป๊อปจากนอร์เวย์ มีสมาชิกได้แก่ Marion Raven และ Marit Larsen สังกัดแอตแลนด์ติคเรคคอร์ต และ วอร์เนอร์มิวสิก ทั้งสองคนได้ออกอัลบั้มร่วมกันทั้งหมด 2 อัลบั้ม ได้แก่ Shades of Purple, The Big Room และยังมีอัลบั้มรวม "Greatest Hits" (ออกวางจำหน่ายหลังจากที่แยกวงโดยต้นสังกัดของพวกเธอ) ก่อนหน้าที่จะมาเป็น M2M พวกเธอยังเคยร้องเพลงตอนเด็กร่วมกัน โดยมีชื่อวงว่า "Hubba Bubba" พวกเธอรู้จักกันตั้งแต่ก่อนพวกเธออายุ 5 ขวบก่อนจะรวมเป็นวงเมื่อกลางปี ค.ศ.

ดู ออสโลและเอ็มทูเอ็ม

เอ็ดเวิร์ด มุงค์

อ็ดเวิร์ด มุงค์ (Edvard Munch; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1863 – 23 มกราคม ค.ศ. 1944) ศิลปินชาวนอร์เวย์ที่โด่งดังมากที่สุดคนหนึ่ง เป็นทั้งจิตรกรและช่างภาพพิมพ์ไม้ หินและเอ็ชชิ่ง เขาเป็นหนึ่งในศิลปินลัทธิสัญลักษณ์นิยม และได้รับการกย่องให้เป็นคนสำคัญในการพัฒนาลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ (Expressionism) ในเยอรมันและยุโรปกลาง ผลงานของมุงค์สะท้อนความทุกข์ยากและความขัดแย้งต่าง ๆ ในชีวิต ความทรงจำที่โหดร้ายในวัยเด็กและแผลในจิตใจทำให้เขาแสดงทัศนคติเรื่องความรัก สุราและความเลวร้ายของชีวิตลงในผลงาน ภาพของเขามักแสดงปัญหาสังคมและความกังวลของมนุษย์ เอ็ดเวิร์ด มุงค์โด่งดังในเยอรมนีทันทีที่ผลงานของเขาร่วมแสดงในนิทรรศการ Verein Berliner Künstler ในปี..

ดู ออสโลและเอ็ดเวิร์ด มุงค์

เจ้าชายกุสตาฟ ดยุกแห่งอัปป์ลันด์

้าชายกุสตาฟ ดยุกแห่งอัปป์ลัน.

ดู ออสโลและเจ้าชายกุสตาฟ ดยุกแห่งอัปป์ลันด์

เจ้าชายสแวร์เรอ มักนุสแห่งนอร์เวย์

้าชายสแวร์เรอ มักนุสแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ 3 ธันวาคม ค.ศ. 2005) พระโอรสในเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์‎ กับเจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ และพระองค์อยู่ในลำดับที่สามของการสืบการบัลลังก์นอร์เวย์ต่อจากพระภคินี คือ เจ้าหญิงอิงกริด อเล็กซันดร.

ดู ออสโลและเจ้าชายสแวร์เรอ มักนุสแห่งนอร์เวย์

เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์

้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ (พระนามเต็ม โฮกุน มักนุส, ประสูติ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1973 ณ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์) พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ กับสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ พระองค์มีพระเชษฐภคินีคือ เจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอ.

ดู ออสโลและเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์

เจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์

้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์ (Prinsesse Märtha Louise av Norge; ประสูติ: 22 กันยายน ค.ศ. 1971) พระราชธิดาในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ กับสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ พระองค์เป็นพระเชษฐภคินีของ เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ หลังจากการเปลี่ยนแปลงกฎมนเทียรบาลในปี ค.ศ.

ดู ออสโลและเจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์

เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน

้าฟ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน (Princess Märtha of Sweden, มาร์ธา โซเฟีย โลวิซา แด็กมาร์ ไธรา; 28 มีนาคม พ.ศ. 2444 - 5 เมษายน พ.ศ. 2497) ทรงเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์พระองค์แรกในยุคปัจจุบัน ซึ่งมิได้ทรงเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดนหรือเดนมาร์ก อีกทั้งยังทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งนอร์เวย์มาตั้งแต่แรกประสูติจนกระทั่งถึงการแยกออกตัวออกจากการรวมตัวกันระหว่างประเทศสวีเดนและนอร์เวย์ในปี พ.ศ.

ดู ออสโลและเจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน

เจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์

้าหญิงรัญฮิลด์ อเล็กซันดราแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ 9 มิถุนายน ค.ศ. 1930 ณ พระราชวังหลวง กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ - สิ้นพระชนม์ 16 กันยายน ค.ศ.

ดู ออสโลและเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์

เจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์

้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ: 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932 ณ วิลลาซูลบักเคิน กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์) พระราชธิดาองค์รองในสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์‎ กับเจ้าหญิงมาร์ธา มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ และเป็นพระขนิษฐาในเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์ พระองค์ถือเป็นเหลนในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร พระองค์จึงอยู่ในลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ของสหราชอาณาจักร นอกจากนี้พระองค์ยังเป็นพระญาติชั้นที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร และเป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียมในสายพระมารดาของพระอง.

ดู ออสโลและเจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์

เจ้าหญิงอิงกริด อเล็กซันดราแห่งนอร์เวย์

้าหญิงอิงกริด อเล็กซันดราแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ 21 มกราคม ค.ศ. 2004) พระธิดาในเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์‎ กับเจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ และพระองค์อยู่ในลำดับที่สองของการสืบการบัลลังก์นอร์เวย์ต่อจากพระบิดา ซึ่งจะได้ครองราชย์เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งนอร์เวย์ในอนาคต.

ดู ออสโลและเจ้าหญิงอิงกริด อเล็กซันดราแห่งนอร์เวย์

เทศมณฑลบุสเครุด

เทศมณฑลบุสเครุด (Buskerud) เป็นเทศมณฑลในประเทศนอร์เวย์ อยู่ติดกับอาแคร์สหุส ออสโล ออปป์ลันด์ ซองน์อ็อกฟยอร์ดาเน ฮอร์ดาลันด์ เทเลมาร์ก และ เวสต์ฟอลด์ ที่ตั้งเขตการปกครองอยู่ที่เมืองดรัมเมน หมวดหมู่:ประเทศนอร์เวย์.

ดู ออสโลและเทศมณฑลบุสเครุด

เดอะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์

อะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์ (The Prismatic World Tour) เป็นทัวร์คอนเสิร์ตครั้งที่สามของนักร้องชาวอเมริกัน เคที เพร์รี เพื่อส่งเสริมอัลบั้มลำดับที่สี่ ปริซึม (2013) ทัวร์เริ่มวันที่ 7 พฤษภาคม..

ดู ออสโลและเดอะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์

เดอะมอลล์ (ถนน)

มุมมองของถนนด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้สู่พระราชวังบักกิงแฮม (พ.ศ. 2554) เดอะมอลล์ (The Mall) คือถนนสายหนึ่งในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร โดยเริ่มตั้งแต่พระราชวังบักกิงแฮมทางทิศตะวันตกเรื่อยไปถึงประตู แอดมีรัลตีอาร์ช (Admiralty Arch) ก่อนที่จะไปบรรจบกับถนนไวต์ฮอลที่จัตุรัสทราฟัลการ์ทางทิศตะวันออก นอกจากนี้ยังตัดผ่านถนนสปริงการ์เดนส์อันเคยเป็นที่ตั้งของสำนักแรงงานกรุงลอนดอนและสภาเมืองลอนดอนอีกด้วย ถนนเดอะมอลล์ปิดการจราจรทุกวันอาทิตย์, วันหยุดราชการ และวันงานพิธีสำคัญต่างๆ ของประเทศ เดอะมอลล์ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นถนนประกอบพิธีของรัฐในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เช่นเดียวกับถนนหลักในเมืองสำคัญอื่นๆ เช่น กรุงเบอร์ลิน, กรุงเม็กซิโกซิตี, กรุงออสโล, กรุงปารีส, กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก, กรุงเวียนนา และ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.

ดู ออสโลและเดอะมอลล์ (ถนน)

เดอะมูนไชน์จังเกิลทัวร์

อะมูนไชน์จังเกิลทัวร์ (Moonshine Jungle Tour) เป็นคอนเสิร์ตทัวร์เดี่ยวครั้งที่ 2 โดย นักร้องชาวอเมริกัน บรูโน มาร์ส โดยจัดทั้งหมด 154 รอบ โดยเกี่ยวโยงกับอัลบั้มที่เกี่ยวข้อง อันออร์โธดอกซ์จูกบอกซ์ (2012) หลังจากที่มีการประกาศไว้วันที่ 10 กุมภาพัน..

ดู ออสโลและเดอะมูนไชน์จังเกิลทัวร์

เดนเจอรัสเวิลด์ทัวร์

อนเสิร์ตทัวร์เดนเจอรัส (Dangerous World Tour) เป็นคอนเสิร์ตทัวร์เดี่ยวครั้งที่ 2 โดย นักร้องชาวอเมริกัน ไมเคิล แจ็กสัน สนับสนุนโดย เป๊ปซี่ โคล่า โดยจัดทั้งหมด 70 รอบ ซึ่งผลกำไรทั้งหมดจะถูกบริจาคให้กับองค์กรการกุศลต่าง ๆ รวมทั้งแจ็คสันของตัวเอง มูลนิธิฮีลเดอะเวิลด์ โดยเริ่มแสดงตั้งแต่วันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ.

ดู ออสโลและเดนเจอรัสเวิลด์ทัวร์

เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ

หรียญรางวัลสำหรับการแข่งขันเคมีโอลิมปิก ครั้งที่ 29 ที่มอนทรีออล ประเทศแคนาดา เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Chemistry Olympiad: IChO) เป็นการแข่งขันเคมีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และเป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ โดยเริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกที่กรุงปราก ประเทศเชโกสโลวาเกีย ในปี..

ดู ออสโลและเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ

7 พฤษภาคม

วันที่ 7 พฤษภาคม เป็นวันที่ 127 ของปี (วันที่ 128 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 238 วันในปีนั้น.

ดู ออสโลและ7 พฤษภาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Osloกรุงออสโลนครออสโล

สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952สหราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952สาวเอ๊าะเดือดร้อนสาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952สนามกีฬาบิสเลตต์สนามกีฬาโอลิมปิกสแกนดิเนเวียสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2013–14สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2013–14สโมสรฟุตบอลทอตนัมฮอตสเปอร์ในฤดูกาล 2016–17สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในฤดูกาล 2015–16สเปรย์ละอองลอยอภินันท์ ปวนะฤทธิ์อองซาน ซูจีอา-ฮาอินอะโมเมนต์ไลก์ดิสอีลิทซีเรียน (ฟุตบอล)อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปรายอเล็กซานเดอร์ รืยบัคฮิสทรีเวิลด์ทัวร์ผู้เร่ร่อนดิจิทัลจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์จุดหมายปลายทางของการบินไทยจุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์ทรีฟ ลีทวีปยุโรปท่าอากาศยานออสโล การ์เดอร์มอนดาวเทียมแบล็กไนต์ดิมมูบอร์เกียร์ดิอะเมซิ่งเรซ 6ดินแดนปาเลสไตน์ดีร์ก ฟัน บาบือเรินคริสตินา ชานีคริสเตียนซานคล็อกทาวเวอร์คาบสมุทรสแกนดิเนเวียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์คณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่นคณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกาคณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลีคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศคาซัคสถานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศปากีสถานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกสคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทยคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทรประวัติการบินไทยประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศลัตเวียประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศนอร์เวย์ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952นางงามจักรวาล 2012นีลส์ คริสตีนีนา โซลไฮม์แอร์ลิง ลอเรนต์ซันแอลทีอีแอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษแอนเดอส์ เบห์ริง เบรวิกโยชูอา คิมมิชโรงเรียนฮากาสโอลิมปิกฤดูหนาวโอลิมปิกฤดูหนาว 1952โอลิมปิกฤดูหนาว 2022โฮกุ้น ลอเรนต์ซันโดนต์เซย์ยูเลิฟมีเพียร์ กินต์เมย์เฮมเมเรียน เรเวนเสียงเรียกของคธูลูเส้นขนานที่ 60 องศาเหนือเหตุโจมตีในนอร์เวย์ พ.ศ. 2554เอวัน (วงดนตรี)เอ็มทูเอ็มเอ็ดเวิร์ด มุงค์เจ้าชายกุสตาฟ ดยุกแห่งอัปป์ลันด์เจ้าชายสแวร์เรอ มักนุสแห่งนอร์เวย์เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดนเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงอิงกริด อเล็กซันดราแห่งนอร์เวย์เทศมณฑลบุสเครุดเดอะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์เดอะมอลล์ (ถนน)เดอะมูนไชน์จังเกิลทัวร์เดนเจอรัสเวิลด์ทัวร์เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ7 พฤษภาคม