เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

อหิวาตกโรค

ดัชนี อหิวาตกโรค

อหิวาตกโรค หรือ โรคห่า (cholera) คือ โรคระบาดชนิดหนึ่ง เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Vibrio cholerae ที่ลำไส้เล็ก ผู้ป่วยจะมีอาการท้องร่วงเป็นน้ำและอาเจียนเป็นหลัก เรียกว่า "ลงราก" จึงเรียกโรคนี้ว่า "โรคลงราก" ก็มี และถ้าเกิดแก่สัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ วัว ควาย เรียก "กลี" ร่างกายจะขับน้ำออกมาเป็นจำนวนมาก ในผู้ป่วยรุนแรงอาจทำให้มีผิวสีออกเทา-น้ำเงินได้ การแพร่เชื้อเกิดขึ้นจากการดื่มน้ำหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนอุจจาระของผู้ติดเชื้อเป็นหลัก ซึ่งผู้นั้นแม้ไม่มีอาการก็สามารถแพร่เชื้อได้ ความรุนแรงของอาการท้องร่วงและอาเจียนสามารถนำไปสู่ภาวะขาดน้ำและเสียสมดุลเกลือแร่อย่างรวดเร็ว กระทั่งเสียชีวิตในบางราย การรักษาหลักคือการชดเชยสารน้ำโดยการกิน ซึ่งมักทำโดยให้ดื่มสารละลายชดเชยการขาดน้ำและเกลือแร่ ถ้าไม่ได้ผลหรือได้ผลเร็วไม่เพียงพอหรือดื่มไม่ได้ ผู้ป่วยบางรายอาจจำเป็นต้องได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ สำหรับผู้ป่วยบางรายที่เป็นรุนแรงอาจใช้ยาปฏิชีวนะช่วยเพื่อลดระยะเวลาและความรุนแรงของการป่ว..

สารบัญ

  1. 86 ความสัมพันธ์: ATC รหัส J07บุญต๋วน บุญอิตบีเอลซิบับชเตฟานีแห่งโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงินฟลอเรนซ์ ไนติงเกลพ.ศ. 2363พ.ศ. 2375พ.ศ. 2392พ.ศ. 2403พ.ศ. 2560พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยาอายลองพระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี)พระราชพิธีอาพาธพินาศพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าเปดรูที่ 5 แห่งโปรตุเกสกัวเก่าการระบาดของอหิวาตกโรคในเฮติการรักษาด้วยการให้สารน้ำทางปากการศึกษาทางนิเวศวิทยากาฬโรคภาวะขาดน้ำยัน เบรอเคิล (ผู้พ่อ)ยางกราดยาปฏิชีวนะระยะฟักรักเมื่อคราวห่าลงรัฐสุลต่านอาเจะฮ์รัตนสูตรราชอาณาจักรอิตาลีรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิดวัดศรีฐานธรรมิการามวัดสระเกศราชวรมหาวิหารวัดไผ่ล้อม (จังหวัดแพร่)วัคซีนวัคซีนอหิวาตกโรควังปารุสกวันวิทยาการระบาดศาสนาคริสต์ในประเทศไทยสมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนียสมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 2 แห่งโปรตุเกสสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)สวนปริศนาสถานีวิทยุ อ.ส.หลวงอัคนีนฤมิตร (จิตร จิตราคนี)หวายตะมอยหนาดห่าอาการท้องร่วง... ขยายดัชนี (36 มากกว่า) »

ATC รหัส J07

วนของ ระบบจำแนกประเภทยาตามการรักษาทางกายวิภาคศาสตร์ (Anatomical Therapeutic Chemical Classification System) J ต้านการติดเชื้อทั้งระบบ (Anti-infectives for systemic use).

ดู อหิวาตกโรคและATC รหัส J07

บุญต๋วน บุญอิต

นาจารย์บุญต๋วน บุญอิต เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนผดุงราษฎร์ คริสตจักรคริสตคุณานุกูล จังหวัดพิษณุโลก และคริสตจักรสืบสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เป็นผู้ริเริ่มและเผยแพร่งานของ YMCA ที่จะให้เกิดขึ้นในกรุงเทพฯ อาคารบุญอิตอนุสรณ์สำนักงานของสมาคมไว.เอ็ม.ซี.เอ.กรุงเทพฯ ที่ถนนวรจักร สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์สถานสำหรับท่าน.

ดู อหิวาตกโรคและบุญต๋วน บุญอิต

บีเอลซิบับ

240px บีเอลซิบับ (Beelzebub; βεελζεβούβ; בעל זבוב) พญาแมลงวัน เป็นปีศาจตนหนึ่งในความเชื่อของคริสต์ศาสนาและกรีก บีเอลซิบับเป็นราชาแห่งแมลงวัน และเป็นตัวแทนของ "บาปตะกละ" (Gluttony) หนึ่งในบาปเจ็ดประการ (Seven Deadly Sins) เป็นเทพแห่งโรคร้ายและความสกปรก มักอยู่ในร่างของแมลงวัน.

ดู อหิวาตกโรคและบีเอลซิบับ

ชเตฟานีแห่งโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน

ตฟานี โยเซฟา ฟรีเดอริเคอ วิลเฮลมีน อันโทเนีย แห่งโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน เป็นเจ้าหญิงเยอรมันซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์โปรตุเกสและอัลเกรฟ และได้ขึ้นเป็นพระราชีนีในพระเจ้าเปดรูที่ 5 แห่งโปรตุเก.

ดู อหิวาตกโรคและชเตฟานีแห่งโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน

ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล

ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล (Florence Nightingale) (เครื่องราชอิสริยาภรณ์ OM, เข็มกาชาดหลวง) (12 พฤษภาคม พ.ศ. 2363 - 13 สิงหาคม พ.ศ. 2453) ได้รับการขนานนามและเป็นที่รู้จักว่า "สุภาพสตรีแห่งดวงประทีป" (Lady of the Lamp) เนื่องจากภาพลักษณ์ติดตาของผู้คนที่เห็นกิจวัตรการตรวจดูแลผู้ได้รับบาดเจ็บแม้ยามค่ำคืน และถือว่าเป็นผู้บุกเบิกด้านพยาบาลศาสตร์ยุคใหม่ ยกระดับวิชาชีพพยาบาล นอกจากนี้ยังมีบทบาทผลักดัน การพัฒนาด้านสถิติศาสตร.

ดู อหิวาตกโรคและฟลอเรนซ์ ไนติงเกล

พ.ศ. 2363

ทธศักราช 2363 ใกล้เคียงกั.

ดู อหิวาตกโรคและพ.ศ. 2363

พ.ศ. 2375

ทธศักราช 2375 ตรงกับคริสต์ศักราช 1832 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู อหิวาตกโรคและพ.ศ. 2375

พ.ศ. 2392

ทธศักราช 2392 ใกล้เคียงกั.

ดู อหิวาตกโรคและพ.ศ. 2392

พ.ศ. 2403

ทธศักราช 2403 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1860.

ดู อหิวาตกโรคและพ.ศ. 2403

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู อหิวาตกโรคและพ.ศ. 2560

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู อหิวาตกโรคและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น.

ดู อหิวาตกโรคและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระยาอายลอง

ระยาอายลอง (ဗညားအဲလောင်, บะญาเอเหล่าง์) เป็นพระราชโอรสพระองค์เดียวของพระยาอายลาว พระเจ้าเมาะตะมะรัชกาลที่ 7 พระองค์ติดตามพระบิดาไปอยู่เมืองเมาะตะมะในฐานะรัชทายาทเมืองเมาะตะมะ ระหว่าง..

ดู อหิวาตกโรคและพระยาอายลอง

พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี)

ระตำรวจเอก นายพลตรี พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี) เป็นขุนนางชาวสยาม ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น องคมนตรี รัฐมนตรีและสมุหพระตำรวจในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู อหิวาตกโรคและพระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี)

พระราชพิธีอาพาธพินาศ

ระราชพิธีอาพาธพินาศ เป็นพระราชพิธีที่เกิดขึ้นในต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ในพุทธศักราช ๒๓๖๓ ในรัชสมัยรัชกาลที่ ๒ เมื่อเกิดอหิวาตกโรคระบาดทั่วพระนคร มีผู้คนล้มตายเป็นจำนวนมากจนเผาศพแทบไม่ทัน ศพกองสุมกันอยู่ที่วัดสระเกศ และมีอีแร้งลงมาจิกกินเป็นที่น่าสังเวชใจเป็นอย่างมาก จนมีคำกล่าวว่า "แร้งวัดสระเกศ" มีจดหมายเหตุเล่าถึงการะบาดของอหิวาตกโรคในครั้งนั้นว่า พระราชพิธีนี้จึงเกิดขึ้นเพื่อปลุกปลอบใจราษฎร และเป็นการปัดรังควานแก่พระนคร โดยประกอบพิธีที่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทคล้ายพระพิธีตรุษ มีการยิงปืนใหญ่รอบพระนครตลอดคืน มีการอัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกต) และพระบรมสารีริกธาตุออกจากที่ประดิษฐานภายในพระอุโบสถพระบรมมหาราชวังแห่รอบพระนคร นับเป็นครั้งแรกที่มีการอัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรออกจากที่ประดิษฐานเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์นับตั้งแต่อัญเชิญมาประดิษฐานไว้ในกรุงรัตนโกสินทร์นี้ มีการนิมนต์สมเด็จพระสังฆราช (สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (มี)) และพระสงฆ์รูปอื่น ๆ จำนวน ๕๐๐ รูป สวดพระปริตรประพรมน้ำพระปริตรไปในขบวนแห่นั้นด้วย องค์พระเจ้าอยู่หัวก็ทรงรักษาศีล สละพระราชทรัพย์ ซื้อชีวิตสัตว์สี่เท้าสองเท้า ปล่อยนักโทษ และห้ามราษฎรทำปาณาติบาต หลังพระราชพิธีนี้เสร็จ ฝนก็ตกลงมาห่าใหญ่ อหิวาตกโรคระบาดหนักอยู่ ๑๕ วัน ก็ค่อยหายไป หลังจากเกิดอหิวาตกโรคในครานั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงสังเวชสลดพระราชหฤทัยที่กรรมบันดาลให้เกิดภัยพิบัติแก่ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินเป็นอันมาก จึงทรงบำเพ็ญพระราชกุศลหลายอย่างหลายประการ.

ดู อหิวาตกโรคและพระราชพิธีอาพาธพินาศ

พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส (Charles X de France, ชาร์ลดิสเดอฟร็องส์; 9 ตุลาคม พ.ศ. 2300 – 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2379), ได้รับพระสมัญญานามว่า ผู้ทรงเป็นที่รัก (le Bien-Aimé; เลอเบียงแนเม), ทรงดำรงตำแหน่งเคานต์แห่งอาร์ตัวก่อนจะขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ตั้งแต่ 16 กันยายน พ.ศ.

ดู อหิวาตกโรคและพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าเปดรูที่ 5 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้าเปดรูที่ 5 แห่งโปรตุเกส (Pedro V de Portugal) (16 กันยายน ค.ศ. 1837 - 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1861) หรือพระนามเต็ม เปดรู เดอ อัลคานตารา มารีอา เฟอร์นานโด มิเกล ราฟาเอล กอนซากา ซาเวียร์ ฌูเอา อันโตนิโอ ลีโอโปลโด วิทเตอร์ ฟรานซิสโก เดอ อัสซิส จูลีโอ อเมลิโอ เป็นพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกสตั้งแต่ ค.ศ.

ดู อหิวาตกโรคและพระเจ้าเปดรูที่ 5 แห่งโปรตุเกส

กัวเก่า

กัวเก่า (กงกณี: पोरणें गोंय – Pornnem Goem; ओल्ड गोवा – Old Gova, पुराणा गोवा – Purana Gova; Velha Goa) เป็นเมืองเก่าที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งอยู่ในอำเภอกัวเหนือ รัฐกัว ในประเทศอินเดีย โดยเมืองแห่งนี้สร้างในสมัยสุลต่านแห่งบิจาปูร์ (Bijapur Sultanate) ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และต่อมาได้กลายมาเป็นเมืองหลวงของอาณานิคมของโปรตุเกสในอินเดีย (Portuguese India) หรือเรียกอีกชื่อว่า รัฐอินเดีย (State of India) ภายใต้จักรวรรดิโปรตุเกส ตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 จนกระทั่งยุบลงในคริสต์ศตวรรษที่ 18 เนื่องจากโรคระบาด โดยสันนิษฐานว่าเคยมีประชากรราว ๆ 200,000 คนก่อนสมัยโรคระบาด เพื่อใช้ในการค้าและเดินเรือของชาวโปรตุเกส ในปัจจุบันกัวเก่าได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก โดยองค์การยูเนสโก กัวเก่าตั้งอยู่ห่างจากปณชีซึ่งเป็นเมืองหลวงของรัฐกัวในปัจจุบันประมาณ 10 กิโลเมตร.

ดู อหิวาตกโรคและกัวเก่า

การระบาดของอหิวาตกโรคในเฮติ

การระบาดของอหิวาตกโรคในเฮต..

ดู อหิวาตกโรคและการระบาดของอหิวาตกโรคในเฮติ

การรักษาด้วยการให้สารน้ำทางปาก

การรักษาด้วยการให้สารน้ำทางปาก (oral rehydration therapy) เป็นการรักษาด้วยการชดเชยสารน้ำวิธีหนึ่ง ใช้เพื่อรักษาหรือป้องกันการขาดน้ำ โดยเฉพาะการขาดน้ำที่เกิดจากภาวะท้องร่วง ทำโดยให้ผู้ป่วยดื่มน้ำที่ผสมเกลือและน้ำตาลเล็กน้อย อาจให้ด้วยการกินตามปกติหรือให้ผ่านสายให้อาหารชนิดใส่ผ่านจมูกก็ได้ โดยปกติจะแนะนำให้เสริมสังกะสีร่วมด้วยในการรักษา การรักษาด้วยวิธีนี้สามารถลดอัตราการเสียชีวิตจากท้องร่วงลงได้ถึง 93% ผลข้างเคียงที่อาจพบได้ ได้แก่ อาเจียน โซเดียมในเลือดสูง หรือโปแตสเซียมในเลือดสูง หากผู้ป่วยกินสารละลายแล้วอาเจียนแนะนำให้พักก่อน 10 นาที แล้วค่อยๆ กินใหม่ สูตรของสารละลายที่แนะนำจะประกอบด้วย โซเดียมคลอไรด์ โซเดียมซิเตรต โปแตสเซียมคลอไรด์ และกลูโคส หากไม่มีอาจใช้ซูโครสแทนกลูโคส และใช้โซเดียมไบคาร์บอเนตแทนโซเดียมซิเตรตได้ กลูโคสจะช่วยให้เซลล์ในลำไส้ดูดซึมน้ำและโซเดียมได้ดีขึ้น นอกจากสูตรนี้แล้วยังมีสูตรดัดแปลงอื่นๆ เช่นสูตรที่สามารถทำได้เองที่บ้าน อย่างไรก็ตามสูตรที่ทำได้เองเหล่านี้ยังไม่มีผลการศึกษาวิจัยที่ยืนยันผลการรักษา การรักษาด้วยการให้สารน้ำทางปากเช่นนี้ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อช่วงปี 1940s และเริ่มเป็นที่แพร่หลายเมื่อช่วงปี 1970s สูตรยาของสารน้ำนี้ได้รับการบรรจุไว้ในรายการยามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก ซึ่งเป็นกลุ่มของยาที่ปลอดภัยและได้ผลดีและมีความจำเป็นต่อระบบบริการสุขภาพ ราคาขายส่งของผงละลายน้ำเกลือแร่ที่ขายอยู่ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วอยู่ที่ประมาณซองละ 0.03-0.20 ดอลลาร์สหรัฐ ในปี..

ดู อหิวาตกโรคและการรักษาด้วยการให้สารน้ำทางปาก

การศึกษาทางนิเวศวิทยา

Ecological study เป็นการศึกษาองค์ความเสี่ยง ต่อสุขภาพหรือผลอย่างอื่น ๆ อาศัยข้อมูลประชากรที่กำหนดส่วนโดยภูมิภาคหรือโดยกาลเวลา แทนที่จะใช้ข้อมูลในระดับบุคคล ทั้งค่าองค์ความเสี่ยงและค่าผลจะเป็นค่าเฉลี่ยของประชากรส่วนต่าง ๆ (ไม่ว่าจะกำหนดโดยภูมิภาคหรือโดยกาลเวลา) แล้วใช้เปรียบเทียบกันโดยวิธีการทางสถิติ งานศึกษาแบบนี้สามารถพบความสัมพันธ์ระหว่างองค์ความเสี่ยงกับผลทางสุขภาพ บ่อยครั้งก่อนวิธีการทางวิทยาการระบาดหรือทางการทดลองอย่างอื่น ๆ ซึ่งจะแสดงตัวอย่างต่อ ๆ ไป งานศึกษาของ น..

ดู อหิวาตกโรคและการศึกษาทางนิเวศวิทยา

กาฬโรค

กาฬโรค (plague) เป็นโรคติดเชื้อถึงตายที่เกิดจากเอ็นเทอโรแบคทีเรีย Yersinia pestis ซึ่งตั้งตามชื่อนักวิทยาแบคทีเรียชาวฝรั่งเศส-สวิส อเล็กซานเดอร์ เยอร์ซิน กาฬโรคเป็นโรคที่อยู่ในสัตว์ฟันแทะ และหมัดเป็นตัวแพร่สู่มนุษย์ โรคดังกล่าวรู้จักกันตลอดประวัติศาสตร์ เนื่องจากขอบเขตการเสียชีวิตและการทำลายล้างที่โรคอื่นเทียบไม่ได้ กาฬโรคเป็นโรคระบาดหนึ่งในสามโรคที่ต้องรายงานต่อองค์การอนามัยโลก (อีกสองโรค คือ อหิวาตกโรคและไข้เหลือง) กระทั่งเดือนมิถุนายน 2550 กาฬโรคสามารถแพร่ในอากาศ ผ่านการสัมผัสโดยตรง หรือโดยอาหารหรือวัสดุที่ปนเปื้อน ขึ้นอยู่กับการติดเชื้อที่ปอดหรือสภาพสุขาภิบาล อาการของกาฬโรคขึ้นอยู่กับบริเวณที่มีเชื้อมากในแต่ละบุคคล เช่น กาฬโรคที่ต่อมน้ำเหลือง (bubonic plague) กาฬโรคแบบโลหิตเป็นพิษ (septicemic plague) ในหลอดเลือด กาฬโรคแบบมีปอดบวม (pneumonic plague) ในปอด ฯลฯ กาฬโรครักษาได้หากตรวจพบเร็ว และยังระบาดอยู่ในบางส่วนของโลก.

ดู อหิวาตกโรคและกาฬโรค

ภาวะขาดน้ำ

วะขาดน้ำ (dehydration) คือการที่ร่างกายมีปริมาตรน้ำในร่างกายทั้งหมดน้อยกว่าปกติ ทำให้เกิดความผิดปกติของกระบวนการเมตาบอลิซึมต่างๆ ของร่างกาย เกิดขึ้นเมื่ออัตราการสูญเสียน้ำออกจากร่างกายมากกว่าอัตราการได้รับน้ำเข้าสู่ร่างกาย อาจเกิดจากการออกกำลังกาย ความเจ็บป่วย หรืออุณหภูมิสิ่งแวดล้อมที่สูง ร่างกายของคนปกติสามารถทนรับการขาดน้ำในร่างกายได้จนถึง 3-4% โดยไม่เกิดผลเสียร้ายแรงใดๆ ต่อร่างกาย หากขาดน้ำ 5-8% อาจทำให้เกิดอาการอ่อนเพลียหรือมึนงง หากมากกว่า 10% อาจทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจอย่างมาก รวมไปถึงความกระหายน้ำอย่างรุนแรงได้.

ดู อหิวาตกโรคและภาวะขาดน้ำ

ยัน เบรอเคิล (ผู้พ่อ)

ัน เบรอเคิล (ผู้พ่อ) (Jan Brueghel de Oude; ค.ศ. 1568 - 13 มกราคม ค.ศ. 1625) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชของสมัยบาโรกในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพจิตรกรรมประวัติศาสตร์ ศิลปะคริสเตียน จิตรกรรมภูมิทัศน์ ภาพชีวิตประจำวัน และจิตรกรรมภาพนิ่ง.

ดู อหิวาตกโรคและยัน เบรอเคิล (ผู้พ่อ)

ยางกราด

งกราด หรือ สะแบง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Dipterocarpaceae ลำต้นแตกเป็นร่องลึกยาวหรือเป็นสะเก็ดตามขวาง สีน้ำตาลปนเทา ใบเดี่ยว ผิวใบด้านบนมีขนหยาบและสาก ด้านล่างมีขนรูปดาว ดอกช่อ กลีบดอกบิดเป็นรูปกังหัน สีขาวหรือแซมสีแดงเป็นแนวตรงกลางกลีบ ผลกลมเป็นจีบพับ มีปีก 5 ปีก เนื้อไม้ใช้ทำเครื่องเรือน ยางใช้ทำยางชัน ใช้เป็นส่วนผสมของยารักษาอหิวาตกโรค เป็นไม้ประจำโรงเรียนตราษตระการคุณ จังหวัดตร.

ดู อหิวาตกโรคและยางกราด

ยาปฏิชีวนะ

การดื้อยาปฏิชีวนะในกลุ่มเพนิซิลลินอย่างรุนแรง ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics จากภาษากรีซโบราณ αντιβιοτικά, antiviotika) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Antibacterials) เป็นกลุ่มย่อยของยาอีกกลุ่มหนึ่งในกลุ่มยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs) ซึ่งเป็นยาที่ถูกใช้ในการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยอาจออกฤทธิ์ฆ่าหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสอง ยาปฏิชีวนะบางชนิดอาจมีคุณสมบัติเป็นมีคุณสมบัติเป็นสารต้านโพรโทซัวได้ เช่น เมโทรนิดาโซล ทั้งนี้ ยาปฏิชีวนะไม่มีฤทธิ์ในการต้านไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เช่น ไข้หวัด หรือ ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น โดยยาที่มีฤทธิ์ต่อเชื้อไวรัสจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มยาต้านไวรัส ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยอีกกลุ่มหนึ่งของยาต้านจุลชีพ ในบางครั้ง คำว่า ยาปฏิชีวนะ (ซึ่งหมายถึง "การต่อต้านชีวิต") ถูกนำมาใช้เพื่อสื่อความถึงสารใดๆที่นำมาใช้เพื่อต้านจุลินทรีย์ ซึ่งมีความหมายเดียวกันกับคำว่า ยาต้านจุลชีพ บางแหล่งมีการใช้คำว่า ยาปฏิชีวนะ และ ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ในความหมายที่แยกจากกันไป โดยคำว่า ยา (สาร) ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย จะสื่อความถึง สบู่ และน้ำยาฆ่าเชื้อ ขณะที่คำว่า ยาปฏิชีวนะ จะหมายถึงยาที่ใช้ในทางการแพทย์เพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย การพัฒนายาปฏิชีวนะเริ่มต้นในช่วงศตวรรษที่ 20 พร้อมกับการพัฒนาเรื่องการให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคจากเชื้อจุลชีพต่างๆ การเกิดขึ้นของยาปฏิชีวนะนำมาซึ่งการกำจัดโรคติดเชื้อแบคทีเรียต่างๆ ออกไปหลายชนิด เช่น กรณีของวัณโรคที่ระบาดในประเทศกำลังพัฒนา อย่างไรก็ตาม ด้วยประสิทธิภาพที่ดีและการเข้าถึงยาที่ง่ายนำไปสู่การใช้ยาปฏิชีวนะในทางที่ผิด พร้อมๆกับการที่แบคทีเรียมีการพัฒนาจนกลายพันธุ์เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ ปัญหาดังข้างต้นได้แพร่กระจายเป็นวงกว้าง จนเป็นปัญหาสำคัญของการสาธารณสุขในทุกประเทศทั่วโลก จนองค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้ประกาศให้ปัญหาการดื้อยาของเชื้อแบคทีเรียเป็น "ปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่สุดที่เกิดขึ้นในทุกภูมิภาคทั่วโลกและทุกคนล้วนจะต้องได้รับผลกระทบจากปัญหานี้ ไม่ว่าวัยใด หรือประเทศใดก็ตาม".

ดู อหิวาตกโรคและยาปฏิชีวนะ

ระยะฟัก

ระยะฟักตัวคือช่วงเวลาระหว่างการสัมผัสสิ่งที่ทำให้เกิดโรค (เช่น เชื้อก่อโรค สารเคมี หรือรังสี เป็นต้น) กับการปรากฏอาการของโรค ในกรณีโรคติดเชื้อ ระยะฟักตัวคือระยะเวลาที่เชื้อเพิ่มจำนวนจนถึงจุดที่จะทำให้เกิดอาการในผู้ป่วยได้.

ดู อหิวาตกโรคและระยะฟัก

รักเมื่อคราวห่าลง

รักเมื่อคราวห่าลง (Love in the Time of Cholera; El amor en los tiempos del cólera) เป็นนวนิยายของกาเบรียล การ์เซีย มาร์เกซ (Gabriel García Márquez) นักเขียนชาวโคลอมเบียผู้ได้รับรางวัลโนเบล นวนิยายนี้พิมพ์เป็นภาษาสเปนครั้งแรกเมื่อ..

ดู อหิวาตกโรคและรักเมื่อคราวห่าลง

รัฐสุลต่านอาเจะฮ์

รัฐสุลต่านอาเจะฮ์ (Sultanate of Aceh) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรอาเจะฮ์ดารุซซาลัม (Kingdom of Aceh Darussalam, ภาษาอาเจะฮ์: Keurajeuën Acèh Darussalam; อักษรยาวี: كاورجاون اچيه دارالسلام) เป็นรัฐที่มีสุลต่านเป็นผู้ปกครองอยู่ในบริเวณที่ปัจจุบันคือจังหวัดอาเจะฮ์ ประเทศอินโดนีเซีย ครองอำนาจในราวพุทธศตวรรษที่ 21 – 22 ก่อนจะเสื่อมอำนาจลง เมืองหลวงตั้งอยู่ที่กูตาราจา ปัจจุบันคือบันดาอาเจะฮ์ ในช่วงที่มีอำนาจ อาเจะฮ์พยายามเข้ายึดครองรัฐสุลต่านยะโฮร์ และมะละกาที่อยู่ภายใต้การปกครองของโปรตุเกส พยายามเข้าควบคุมช่องแคบมะละกา และพื้นที่ที่มีพริกไทยและดีบุกมาก อาเจะฮ์เป็นศูนย์กลางของนักปราชญ์อิสลามและการค้.

ดู อหิวาตกโรคและรัฐสุลต่านอาเจะฮ์

รัตนสูตร

รัตนสูตร เป็นพระสูตรในพระสุตตันตปิฎก หมวดขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ และยังปรากฏในหมวดสุตตนิบาต เป็นพระคาถาจำนวน 17 บท แต่ปรากฏในพากย์ภาษาสันสกฤตจำนวน 19 บท ดังที่มีอยู่ในคัมภีร์มหาวัสตุอวทานของนิกายโลโกตตรวาท และนิกายมหาสังฆิกะ พระสูตรนี้พรรณนาคุณของพระรัตนตรัย และป่าวประกาศความยิ่งใหญ่ และคุณลักษณะของพระอริยะเจ้า มีพระโสดาบัน เป็นอาทิ จุดประสงค์ของการประกาศพระสูตรนี้ก็เพื่อโปรดชาวเมืองเวสาลีให้รอดพ้นจากภยันตรายทั้งหลวงทั้งปวงที่กำลังรุมเร้าเมืองแห่งนี้ และเพื่อยังให้ชาวเมืองทั้งหลายได้มีดวงตาเห็นธรรม รัตนสูตร หรือรัตนปริตร จัดเป็นหนึ่งในพระปริตร หรือพระคาถาพรรณนาอานุภาพของพระรัตนตรัย โดยได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในพระคาถาหลักของคัมภีร์จตุภาณะวารปาลี หรือตำรารวบรวมพระปริตรที่เป็นที่นิยมสวดสาธยายกันในศรีลังกา รวบรวมขึ้นในช่วงยุคกลางของประวัติศาสตร์พุทธศาสนา หรือในยุคที่พระพุทธศาสนากำลังรุ่งเรืองในลังกา นอกจากนี้ ยังมีอรรถกถาอธิบายพระปริตรนี้ในคัมภีร์ปรมัตถโชติกา อรรกถาขุททกนิกาย เสาอโศกในเมืองเวสาลี.

ดู อหิวาตกโรคและรัตนสูตร

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ.

ดู อหิวาตกโรคและราชอาณาจักรอิตาลี

รายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด

ต่อไปนี้เป็น รายชื่อคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด เรียงลำดับตามตัวอักษรของ คำที่เขียนถูก ตามที่ปรากฏในพจนานุกรมภาษาไทยหรือตามประกาศของหน่วยงานราชการไทย หมายเหตุ: การเขียนสะกดคำในนี้เป็นกรณีทั่วไป แต่ในกรณีเฉพาะ เช่น เป็นวิสามานยนาม อาทิ เป็นชื่อบุคคล ชื่อสถานที่ หรือในทางร้อยกรอง สามารถเขียนสะกดคำแตกต่างได้.

ดู อหิวาตกโรคและรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด

วัดศรีฐานธรรมิการาม

วัดศรีฐานธรรมิการาม เป็นวัดพระพุทธศาสนา แบบเถรวาท วัดชั้น อารามราษฎร์ ชนิดคามวาสี(วัดบ้าน) สังกัดมหานิกาย  เริ่มก่อตั้งวัดเมื่อ ๒๔๘๓ ได้รับวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๑๕ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๐๐ หมู่ที่ ๑ บ้านเหล่าหมี ตำบลเหล่าหมี อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร เป็นวัดที่เป็นศูนย์กลางของชุมชนบ้านเหล่าหมี ทั้งยังมีพระพุทธรูป เนื้อ ไม้พะยอมแกะสลัก พระพุทธลักษณะเป็นพระพุทรูป ปางมารวิชัย ซึ่งเป็น ศิลปะไทย ผสมศิลปะ ล้านช้าง ฐานลายกลีบบัว สร้างใน สมัยรัตนโกสินทร์ ชื่อว่า "พระธัมมะธิรง" ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในนาม หลวงพ่อองค์ดำ หรือพระองค์ดำ เป็นพระคู่บ้านคู่ชุมชน ลักษณะงดงามเป็นที่เคารพสักการะ และเลื่อมใสศรัทธาของชุมชน สร้างประมาณ..

ดู อหิวาตกโรคและวัดศรีฐานธรรมิการาม

วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร

วัดสระเกศ เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ริมคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย มีจุดเด่นคือ พระบรมบรรพต.

ดู อหิวาตกโรคและวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร

วัดไผ่ล้อม (จังหวัดแพร่)

วัดไผ่ล้อม ตั้งอยู่เลขที่ 173 หมู่ที่ 1 ตำบลหัวทุ่ง อำเภอลอง จังหวัดแพร่ มีฐานะเป็นวัดราษฎร์ สังกัดการปกครองคณะสงฆ์มหานิกาย ภาค 6.

ดู อหิวาตกโรคและวัดไผ่ล้อม (จังหวัดแพร่)

วัคซีน

็กกำลังรับวัคซีนโปลิโอชนิดหยอด วัคซีน (Vaccine) เป็นชีววัตถุที่เตรียมขึ้นจากเชื้อจุลินทรีย์หรือส่วนของเชื้อจุลินทรีย์ซึ่งจะมีกลไกชักนำให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันที่จำเพาะต่อจุลินทรีย์ชนิดนั้น ๆ กล่าวคือมีฤทธิ์ชักนำการสร้างภูมิคุ้มกันอันจำเพาะกับโรค วัคซีนโดยทั่วไปจะประกอบด้วยส่วนประกอบของจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุของโรค (แอนติเจน) ซึ่งถูกทำให้อ่อนฤทธิ์ลง, ตาย หรือการใช้ส่วนที่เป็นพิษที่อ่อนฤทธิ์ลง (toxoid) โดยวัคซีนจะกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายและสามารถจดจำได้ว่าเป็นสารก่อโรคซึ่งจะมีกลไกการทำลายต่อไป คุณสมบัติการจดจำแอนติเจนของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำให้ร่างกายสามารถกำจัดแอนติเจนหากเมื่อได้รับอีกในภายหลังได้รวดเร็วยิ่งขึ้น วัคซีนเริ่มมีการพัฒนาในราวคริสต์ทศวรรษที่ 1770 โดยเอดเวิร์ด เจนเนอร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ประสบความสำเร็จในการสกัดเชื้อ cowpox เพื่อป้องกันโรคฝีดาษ (small pox) ในมนุษย์ได้ วัคซีนในระยะเริ่มแรกเป็นการนำเชื้อมาทำให้ตายหรือการใช้เชื้อที่อ่อนฤทธิ์เท่านั้น จนกระทั่งปัจจุบันมีการพัฒนาโดยนำเทคโนโลยีรีคอมบีแนนต์มาช่วยในการพัฒนาโดยอาศัยความรู้ทางชีววิทยาระดับโมเลกุล และมีความพยายามพัฒนาวัคซีนโดยการสังเคราะห์แอนติเจนในการผลิตซับยูนิตวัคซีน (subunit vaccine) อีกด้วย คำว่า "วัคซีน" (vaccine) ได้มาจากครั้งที่เอ็ดวาร์ดให้เชื้อ cowpox แก่มนุษย์ โดยคำว่า variolæ vaccinæ มาจากคำว่า vaccīn-us หรือ vacca ซึ่งแปลว่า cow หรือวัวซึ่งมีความสัมพันธ์กับเชื้อ cowpox.

ดู อหิวาตกโรคและวัคซีน

วัคซีนอหิวาตกโรค

วัคซีนป้องกันอหิวาตกโรค (Cholera) เป็นวัคซีนที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันอหิวาตกโรค ในช่วงหกเดือนแรกวัคซีนจะให้ผลในการป้องกันโรคประมาณ 85% และในช่วงปีแรกจะให้ผลในการป้องกันโรคประมาณ 50–60% หลังจากเวลาสองปีความมีประสิทธิภาพจะลดลงเหลือไม่ถึง 50% แต่ทั้งนี้หากกลุ่มประชากรใดก็ตามมีสัดส่วนของผู้ที่มีภูมิคุ้มกันโรคจำนวนสูง ประชากรในกลุ่มดังกล่าวที่ไม่มีภูมิคุ้มกันโรคก็จะได้รับประโยชน์จากภูมิคุ้มกันหมู่ สำหรับกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงในการติดโรคสูง องค์การอนามัยโลกได้แนะนำให้ใช้มาตรการขององค์การฯ ร่วมกับมาตรการอื่นๆ โดยทั่วไปแนะนำให้ใช้วัคซีนชนิดรับประทานตามขนาดที่กำหนดจำนวนสองหรือสามครั้ง วัคซีนแบบฉีดซึ่งมีจำนวนน้อยกว่านั้นมีอยู่ในพื้นที่บางแห่งของโลกเท่านั้น โดยทั่วไปวัคซีนชนิดรับประทานทั้งสองประเภทนั้นมีความปลอดภัย แต่อาจมีอาการปวดท้องหรือการการท้องร่วงเกิดขึ้นได้ วัคซีนนี้ปลอดภัยสำหรับผู้ที่อยู่ในระหว่างการตั้งครรภ์ และผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง วัคซีนเหล่านี้ได้รับได้รับอนุมัติให้ใช้ป้องกันโรคในกว่า 60 ประเทศ และมีการใช้ในประเทศที่มักเกิดโรคเป็นประจำ ซึ่งมีความคุ้มค่าของค่ารักษา วัคซีนตัวแรกที่ใช้ในการป้องกันอหิวาตกโรคนั้นถูกผลิตขึ้นเมื่อปลายศตวรรษที่ 18 และเป็นวัคซีนที่มีการใช้อย่างแพร่หลายตัวแรกที่ถูกผลิตขึ้นในห้องทดลอง ในช่วงศตวรรษที่ 19 ได้มีการเปิดตัววัคซีนชนิดรับประทานเป็นครั้งแรก วัคซีนนี้อยู่ในทะเบียนยาที่จำเป็นขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization's List of Essential Medicines) โดยเป็นยารักษาโรคที่มีความสำคัญมากที่สุดในระบบสุขภาพขั้นพื้นฐาน ค่าใช้จ่ายในการสร้างภูมิคุ้มกันอหิวาตกโรคนั้นอยู่ที่ระหว่าง 0.1 และ 4.0 เหรียญสหรัฐฯ.

ดู อหิวาตกโรคและวัคซีนอหิวาตกโรค

วังปารุสกวัน

ตำหนักปารุสก์ ตำหนักสวนจิตรลดา ตำหนักจิตรลดาในวังปารุสกวัน วังปารุสกวัน หรือย่อว่า วังปารุสก์ ตั้งอยู่หัวมุมถนนพิษณุโลก ตัดกับถนนราชดำเนินนอก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเป็นวังที่ประทับของจอมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ พระราชโอรสในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสที่ทรงสำเร็จการศึกษาวิชาการทหาร จากประเทศรัสเซีย เมื่อ พ.ศ.

ดู อหิวาตกโรคและวังปารุสกวัน

วิทยาการระบาด

วิทยาการระบาด เป็นการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพและความเจ็บป่วยของประชากร และเป็นพื้นฐานและตรรกะที่ทำให้เกิดแนวคิดความสนใจในสาธารณสุขและเวชศาสตร์ป้องกัน สาขาวิชานี้วิธีที่สำคัญพื้นฐานของงานวิจัยด้านสาธารณสุข และเกี่ยวข้องกับเวชศาสตร์อิงหลักฐาน (evidence-based medicine) ในการหาปัจจัยเสี่ยงของโรคและประเมินวิธีการรักษาที่เหมาะสมที่สุด งานของนักวิทยาการระบาดที่เกี่ยวข้องกับโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ มีขอบเขตตั้งแต่การสืบค้นการระบาดของโรค (outbreak investigation) ไปจนถึงการออกแบบการศึกษา การเก็บข้อมูล และการวิเคราะห์ รวมทั้งการพัฒนาแบบจำลองทางสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐานและการเตรียมผลการวิจัยเพื่อเสนอผลการวิจัย นักวิทยาการระบาดอาจอาศัยระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์หลายอย่างเช่นชีววิทยาในการทำความเข้าใจการดำเนินโรค และระเบียบวิธีทางสังคมศาสตร๋ เช่นสังคมศาสตร์และปรัชญาเพื่อช่วยในการทำความเข้าใจปัจจัยเสี่ยงใกล้เคียงและไกล.

ดู อหิวาตกโรคและวิทยาการระบาด

ศาสนาคริสต์ในประเทศไทย

นาคริสต์ เป็นหนึ่งใน 5 ศาสนาในประเทศไทยที่กรมการศาสนารับรอง โดยมิชชันนารีชาวยุโรปเป็นกลุ่มแรกที่นำเข้ามาเผยแผ่ ปัจจุบันมีจำนวนศาสนิกชนมากที่สุดเป็นอันดับสาม.

ดู อหิวาตกโรคและศาสนาคริสต์ในประเทศไทย

สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย หรือ เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระ (มารี อเล็กซานดรา วิกตอเรีย, 27 ตุลาคม ค.ศ. 1875 - 18 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู อหิวาตกโรคและสมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย

สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 2 แห่งโปรตุเกส

มเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 2 แห่งโปรตุเกส ("Maria II de Portugal") (4 เมษายน 1819 - 15 พฤศจิกายน 1853) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งโปรตุเกส พระนางเป็นพระราชธิดาของพระเจ้าเปดรูที่ 4กับอาร์ชดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดีนาแห่งออสเตรีย อภิเสกสมรสครั้งแรกกับออกุสต์ เดอ โบฮาร์เนส์ ดยุคแห่งเลาช์เทนเบิร์ก ครั้งที่สองกับเจ้าชายเฟอร์ดินานด์แห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา พระนางครองราชสมบัติสองครั้ง ครั้งแรกเมื่อ 5 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู อหิวาตกโรคและสมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 2 แห่งโปรตุเกส

สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)

มเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ได้รับการสถาปนาเมื่อปี..

ดู อหิวาตกโรคและสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)

สวนปริศนา

วนปริศนา หรือ สวนลับ หรือ ในสวนศรี หรือ ในสวนลับ (The Secret Garden) เป็นวรรณกรรมเด็กของนางฟรานเซส ฮอดจ์สัน เบอร์เนทท์ ที่เดิมพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสารเริ่มตั้งแต่ปี..

ดู อหิวาตกโรคและสวนปริศนา

สถานีวิทยุ อ.ส.

ัญลักษณ์ของสถานีวิทยุ อ.ส. พระราชวังดุสิต สถานีวิทยุ อ.. เป็นสถานีวิทยุที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตรทรงตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู อหิวาตกโรคและสถานีวิทยุ อ.ส.

หลวงอัคนีนฤมิตร (จิตร จิตราคนี)

หลวงอัคนีนฤมิตร (จิตร) หรือ นายจิตร หรือ ฟรานซ.

ดู อหิวาตกโรคและหลวงอัคนีนฤมิตร (จิตร จิตราคนี)

หวายตะมอย

หวายตะมอย (pigeon orchid) หรือ เอื้องมะลิ หรือ แส้พระอินทร์ เป็นกล้วยไม้ในสกุลหวาย กระจายพันธุ์ในเอเชียใต้ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นพืชอิงอาศัย โคนต้นเป็นลำทรงกระบอก ส่วนปลายเป็นเส้นกลมเรียวและแข็ง ยาวได้ถึง 70 ซม.

ดู อหิวาตกโรคและหวายตะมอย

หนาด

หนาด หรือ หนาดใหญ่ หรือ หนาดหลวง (L.) DC.

ดู อหิวาตกโรคและหนาด

ห่า

ห่า อาจหมายถึง.

ดู อหิวาตกโรคและห่า

อาการท้องร่วง

อาการท้องร่วง (diarrhea หรือ diarrhoea) เป็นภาวะมีการถ่ายอุจจาระเหลวหรือเป็นน้ำอย่างน้อยสามครั้งต่อวัน มักกินเวลาไม่กี่วันและอาจทำให้เกิดภาวะขาดน้ำจากการเสียสารน้ำ อาการแสดงของภาวะขาดน้ำมักเริ่มด้วยการเสียความตึงตัวของผิวหนังและบุคลิกภาพเปลี่ยน ซึ่งสามารถลุกลามเป็นการถ่ายปัสสาวะลดลง สีผิวหนังซีด อัตราหัวใจเต้นเร็ว และการตอบสนองลดลงเมื่อภาวะขาดน้ำรุนแรง อย่างไรก็ดี อุจจาระเหลวแต่ไม่เป็นน้ำในทารกที่กินนมแม่อาจเป็นปกติ สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ การติดเชื้อของลำไส้อาจเนื่องจากไวรัส แบคทีเรียหรือปรสิต เป็นภาวะที่เรียก กระเพาะและลำไส้เล็กอักเสบ (gastroenteritis) การติดเชื้อเหล่านี้มักได้รับจากอาหารหรือน้ำที่มีการปนเปื้อนอุจจาระ หรือโดยตรงจากบุคคลอื่นที่ติดเชื้อ อาการท้องร่วงอารจแบ่งได้เป็นสามประเภท คือ อาการท้องร่วงเป็นน้ำระยะสั้น อาการท้องร่วงเป็นเลือดระยะสั้น และหากกินเวลานานกว่าสองสัปดาห์จะเป็นอาการท้องร่วงเรื้อรัง อาการท้องร่วงเป็นน้ำระยะสั้นอาจเนื่องจากการติดเชื้ออหิวาตกโรคซึ่งพบยากในประเทศพัฒนาแล้ว หากมีเลือดอยู่ด้วยจะเรียก โรคบิด อาการท้องร่วงมีบางสาเหตุที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อซึ่งมีภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน ภาวะไม่ทนต่อแล็กโทส (แพ้นม) โรคลำไส้อักเสบ ยาจำนวนหนึ่ง และกลุ่มอาการลำไส้ไวเกินต่อการกระตุ้น ในผู้ป่วยส่วนมาก ไม่จำเป็นต้องเพาะเชื้ออุจจาระเพื่อยืนยันสาเหตุแน่ชัด การป้องกันอาการท้องร่วงจากการติดเชื้อทำได้โดยปรับปรุงการสุขาภิบาล มีน้ำดื่มสะอาดและล้างมือด้วยสบู่ แนะนำให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อยหกเดือนเช่นเดียวกับการรับวัคซีนโรตาไวรัส สารน้ำเกลือแร่ (ORS) ซึ่งเป็นน้ำสะอาดที่มีเกลือและน้ำตาลปริมาณหนึ่ง เป็นการรักษาอันดับแรก นอกจากนี้ยังแนะนำยาเม็ดสังกะสี มีการประเมินว่าการรักษาเหล่านี้ช่วยชีวิตเด็ก 50 ล้านคนใน 25 ปีที่ผ่านมา เมื่อบุคคลมีอาการท้องร่วง แนะนำให้กินอาหารเพื่อสุขภาพและทารกกินนมแม่ต่อไป หากหา ORS พาณิชย์ไม่ได้ อาจใช้สารละลายทำเองก็ได้ ในผู้ที่มีภาวะขาดน้ำรุนแรง อาจจำเป็นต้องให้สารน้ำเข้าหลอดเลือดดำ ทว่า ผู้ป่วยส่วนมากสามารถรักษาได้ดีด้วยสารน้ำทางปาก แม้ว่ามีการใช้ยาปฏิชีวนะน้อย แต่อาจแนะนำให้ผู้ป่วยซึ่งมีอาการท้องร่วงเป็นเลือดและไข้สูง ผู้ที่มีอาการท้องร่วงรุนแรงหลังท่องเที่ยว และผู้ที่เพาะแบคทีเรียหรือปรสิตบางชนิดขึ้นในอุจจาระ โลเพอราไมด์อาจช่วยลดจำนวนการถ่ายอุจจาระ แต่ไม่แนะนำในผู้ป่วยรุนแรง มีผู้ป่วยอาการท้องร่วงประมาณ 1,700 ถึง 5,000 ล้านคนต่อปี พบมากที่สุดในประเทศกำลังพัฒนาซึ่งเด็กเล็กมีอาการท้องร่วงโดยเฉลี่ย 3 ครั้งต่อปี มีการประเมินยอดผู้เสียชีวิตจากอาการท้องร่วง 1.26 ล้านคนในปี 2556 ลดลงจาก 2.58 ล้านคนในปี 2533 ในปี 2555 อาการท้องร่วงเป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่พบมากที่สุดอันดับสองในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี (0.76 ล้านคนหรือ 11%) คราวอาการท้องร่วงบ่อยยังเป็นสาเหตุทุพโภชนาการที่พบมากและเป็นสาเหตุที่พบมากที่สุดในเด็กอายุน้อยกว่าห้าปี ปัญหาระยะยาวอื่นซึ่งอาจเกิดได้มีการเติบโตช้าและพัฒนาการทางสติปัญญาไม่ดี.

ดู อหิวาตกโรคและอาการท้องร่วง

อาหารเลี้ยงเชื้อ

อาหารเลี้ยงเชื้อแบบแข็ง ตัวอย่างของอาหารสำหรับเลี้ยงแบคทีเรีย เส้นสีส้มเป็นกลุ่มของแบคทีเรียที่เจริญหลังจากขีด (streak) ลงบนอาหาร อาหารเลี้ยงเชื้อ (culture medium) หมายถึง อาหารทั้งชนิดเหลวและแบบแข็ง (ใส่วุ้น) เพื่อสนับสนุนการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์หรือเซลล์ หรือพืชขนาดเล็กเช่น มอส (Physcomitrella patens) อาหารเลี้ยงเชื้อมีหลายชนิดซึ่งจะใช้เลี้ยงจุลินทรีย์หรือเซลล์ต่างชนิดกัน อาหารเลี้ยงเชื้อควรมีลักษณะดังนี้คือ มีธาตุอาหาร และความเข้มข้นที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ มีค่าความเป็นกรดด่าง (พีเอช) ที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ปราศจากสารพิษ ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ต้องไม่มีสิ่งมีชีวิตใดๆ อยู่ในอาหารเลี้ยงเชื้อ.

ดู อหิวาตกโรคและอาหารเลี้ยงเชื้อ

อาณาจักรล้านช้าง

อาณาจักรล้านช้าง (ອານາຈັກລ້ານຊ້າງ) เป็นอาณาจักรของชนชาติลาวซึ่งตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำโขง มีอาณาเขตอยู่ในบริเวณประเทศลาวทั้งหมด ตลอดจนพื้นที่บางส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยมีความเจริญรุ่งเรืองทั้งการเมืองการปกครอง ด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนพระพุทธศาสนา ที่มีพัฒนาการเคียงคู่มาพร้อมกันอาณาจักรอื่น ๆ ใกล้เคียง ทั้งล้านนา สยาม พม่า และเขมร อาณาจักรแห่งนี้ได้สถาปนาขึ้นอย่างเป็นปึกแผ่นมั่งคงอย่างแท้จริงในปี พ.ศ.

ดู อหิวาตกโรคและอาณาจักรล้านช้าง

อาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์

ราชอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ คืออาณาจักรลาวล้านช้างที่ตั้งอยู่ทางต้นใต้ของประเทศลาวในปัจจุบัน ดำรงอยู่ในช่วงเวลาตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู อหิวาตกโรคและอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์

อิน-จัน

อิน-จัน และลูก ๆ ของทั้งคู่ อิน-จัน (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2354 — 17 มกราคม พ.ศ. 2417) เป็นชื่อของฝาแฝดสยาม ที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก โดยเป็นที่มาของคำว่า "แฝดสยาม" เนื่องจากเกิดที่ประเทศสยาม (ประเทศไทย) ฝาแฝดที่มีหน้าอกติดกันและใช้ตับร่วมกัน เป็นฝาแฝดคู่แรกของโลกที่สามารถดำรงชีพเหมือนคนธรรมดาได้ตลอดชีวิต อิน-จันได้สัญชาติอเมริกันเมื่อปี พ.ศ.

ดู อหิวาตกโรคและอิน-จัน

องค์การเภสัชกรรม

องค์การเภสัชกรรม เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จัดตั้งเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2509 ตามพระราชบัญญัติองค์การเภสัชกรรม..

ดู อหิวาตกโรคและองค์การเภสัชกรรม

ฮงอินโบ ชูซะกุ

งอินโบ ชูซะกุ (本因坊秀策; Honinbo Shusaku) เจ้าของฉายา ชูซะกุ ผู้คงกระพัน หรือชื่อแรกเกิด คุวะบะระ โทะระจิโร (桑原虎次郎; Kuwabara Torajiro; 5 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู อหิวาตกโรคและฮงอินโบ ชูซะกุ

ผี (แก้ความกำกวม)

ผี อาจหมายถึง.

ดู อหิวาตกโรคและผี (แก้ความกำกวม)

จอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์

อห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์ (ภาษาอังกฤษ: John Singer Sargent) (12 มกราคม ค.ศ. 1856 - 14 เมษายน ค.ศ. 1925) เป็นจิตรกรคนสำคัญของสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพภูมิทัศน์, ภาพเหมือน และ การใช้สีน้ำ ซาร์เจนท์เกิดที่ฟลอเรนซ์ ที่ประเทศอิตาลี บิดามารดาเป็นชาวอเมริกัน ซาร์เจนท์ศึกษาที่อิตาลีและเยอรมนี ต่อมาที่ปารีสกับอีมิล โอกุสต์ คาโรลุส-ดูแรง (Emile Auguste Carolus-Duran) ในชีวิตซาร์เจนท์เขียนจิตรกรรมสีน้ำมันด้วยกันทั้งสิ้นราว 900 ภาพ และอีก 2,000 ภาพเขียนด้วยสีน้ำ นอกจากนั้นก็ยังมีงานเขียนภาพร่าง และภาพวาดลายเส้นด้วยถ่านอีกด้ว.

ดู อหิวาตกโรคและจอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์

ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์

ร่างสตรีและเด็กที่เป็นบรรยายความยากเข็ญของบริจิต โอดอนเนล จากลอนดอนนิวส์ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1849 ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ (An Gorta Mór, Irish Potato Famine) หรือในภาษาเกลิก “An Gorta Mór” แปลตรงตัวว่า “ความโหยหิวอันยิ่งใหญ่” หรือ “An Drochshaol” ที่แปลว่า “ชีวิตอันตกอับ” เป็นสมัยที่เกิดทุพภิกขภัย โรคระบาด และการย้ายถิ่นฐานครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ระหว่างปี..

ดู อหิวาตกโรคและทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์

ดอกซีไซคลีน

อกซีไซคลีน (Doxycycline) เป็นยาปฏิชีวนะชนิดหนึ่งที่มีข้อบ่งใช้สำหรับรักษาโรคติดเชื้อหลายชนิดที่มีสาเหตุมาจากแบคทีเรียและโปรโตซัว ยานี้มีประโยชน์เป็นอย่างมากในการรักษาโรคปอดอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย, สิว, การติดเชื้อคลามัยเดีย, ระยะเริ่มต้นของโรคไลม์, อหิวาตกโรค และซิฟิลิส นอกจากนี้ยังมีการใช้ดอกซีไซคลีนในการรักษามาลาเรีย ซึ่งเป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อจำพวกโปรโตซัว โดยให้ยานี้ร่วมกับควินิน และอาจใช้ดอกซีไซคลีนเพื่อเป็นการป้องกันมาลาเรียสำหรับผู้ที่มีความจำเป็นต้องเดินทางเข้าพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคได้ ดอกซีไซคลีนเป็นยาปฏิชีวนะอีกชนิดหนึ่งที่มีการใช้อย่างแพร่หลายเนื่องจากมีราคาถูกและสามารถบริหารยาโดยการรับประทานได้ ในรายที่มีอาการของโรครุนแรงอาจจำเป็นต้องได้รับการบริหารยาโดยการฉีดเข้าหลอดเลือดดำ ดอกซีไซคลีนเป็นยาปฏิชีวนะอีกชนิดหนึ่งที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง (Broad-spectrum antibiotic) โดยยานี้จะฆ่าแบคทีเรียและโปรโตซัวที่ไวต่อยานี้ด้วยการยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการขยายพันธุ์ของเซลล์ ทำให้เซลล์จุลชีพเป้าหมายตายไปในที่สุด อย่างไรก็ตาม การใช้ดอกซีไซคลีนในการรักษานี้อาจก่อให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ขึ้นได้เช่นเดียวกันกับยาชนิดอื่นๆ โดยอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นได้บ่อยจากการใช้ยานี้ ได้แก่ ท้องเสีย, คลื่นไส้, อาเจียน, ผื่นแดง, และผิวไวต่อแสงมากขึ้น ทำให้มีความเสี่ยงที่จะเกิดผิวไหม้จากแสงแดด (sunburn) เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ การใช้ดอกซีไซคลีนในหญิงตั้งครรภ์หรือในเด็กอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนสีของฟันทารกหรือเด็กเป็นสีเทาหรือน้ำตาลอย่างถาวรได้ ส่วนการใช้ยานี้ในหญิงที่กำลังให้นมบุตรนั้นค่อนข้างมีความปลอดภัย เนื่องจากดอกซีไซคลีนถูกขับออกทางน้ำนมได้น้อยมาก ดอกซีไซคลีนได้รับการจดสิทธิบัตรในปี..

ดู อหิวาตกโรคและดอกซีไซคลีน

คริสตจักรที่ 1 สำเหร่

ริสตจักรที่ 1 สำเหร่ ภาพในอดีต ค.ศ. 1928 คริสตจักรที่ 1 สำเหร่ (The First Presbyterian Church of Bangkok) เป็นโบสถ์คริสต์ของนิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทย ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 37 ซอยเจริญนคร 59 ถนนเจริญนคร แขวงสำเหร่ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร เป็นคริสตจักรแห่งแรกของคณะอเมริกันเพรสไบทีเรียน (The American Presbyterian Mission) ซึ่งมิชชันนารีคณะนี้ได้เริ่มวางรากฐานการเผยแพร่คริสต์ศาสนาในประเทศไทยตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู อหิวาตกโรคและคริสตจักรที่ 1 สำเหร่

คลอแรมเฟนิคอล

ลอแรมเฟนิคอล (Chloramphenicol หรือ 2,2-dichlor-N-acetamide) เป็น ยาปฏิชีวนะ (antibiotic) ได้จาก แบคทีเรีย ชื่อ สเตรปโตมัยซีส เวเนซูเอลี (Streptomyces venezuelae) และปัจจุบันได้จากการสังเคราะห์ คลอแรมเฟนิคอล มีประสิทธิภาพในการต้านจุลินทรีย์ได้หลายชนิด แต่เนื่องจากมันมีผลข้างเคียงที่อันตรายมาก เช่น ทำลายไขกระดูก (bone marrow) และ มะเร็งเม็ดโลหิตขาว (aplastic anemia) ถึงแม้จะมีผลข้างเคียงที่อันตรายแต่องค์การอนามัยโลกก็อนุญาตให้ใช้ คลอแรมเฟนิคอล สำหรับรักษาโรคทางเดินอาหารของเด็กในประเทศโลกที่ 3 กรณีที่ไม่มีทางเลือกใช้ยาที่ดีกว่าและถูกกว่า โรคที่ใช้รักษาได้แก่อหิวาตกโรค (cholera) สามารถทำลายเชื้อ วิบริโอ (vibrio) และลดอาการ ท้องร่วง (diarrhea) มีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อ วิบริโอ ที่ดื้อยา เตตร้าไซคลิน (tetracycline) ได้ดี และนอกจากนี้ยังใช้ใน ยาหยอดตา (eye drop) เพื่อรักษาโรค เยื่อตาขาวอักเสบ (conjunctivitis).

ดู อหิวาตกโรคและคลอแรมเฟนิคอล

คาร์ล ลาร์สสัน

ร์ล ลาร์สสัน (Carl Larsson) (28 พฤษภาคม ค.ศ. 1853 - 22 มกราคม ค.ศ. 1919) เป็นจิตรกรและนักตกแต่งภายในชาวสวีเดนของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ผู้มีบทบาทสำคัญในขบวนการศิลปะหัตถกรรม.

ดู อหิวาตกโรคและคาร์ล ลาร์สสัน

ตรุษจีนในนครสวรรค์

ตรุษจีนในนครสวรรค์ ประเพณีตรุษจีน ตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 1 ตามปฏิทินจีน เป็นประเพณีเกี่ยวกับการไหว้เจ้า ไหว้บรรพบุรุษ ของคนไทยเชื้อสายจีน ที่อยู่ในอำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ มีกิจกรรมการแสดงหลายอย่าง เช่น การแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ แห่มังกร เชิดสิงโต การแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ เป็นประเพณีที่กลายเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นของจังหวัดดนครสวรรค์ ซึ่งปฏิบัติสืบเนื่องติดต่อกันมา การแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพเริ่มครั้งแรกเมื่อใด ไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนจากคำบอกเล่าของผู้อาวุโสของชาวไหนนำ คุณเตียงตุ่น แซ่ภู่ ว่าการแห่เจ้ามีมาก่อนที่จะเกิดโรคระบาดโดยสมัยก่อนแห่ทางน้ำ ใช้เวลาในการแห่ 2 วัน โดยอัญเชิญรูปจำลองเจ้าพ่อเทพารักษ์-เจ้าพ่อกวนอู-เจ้าแม่ทับทิม ประทับบนเกี้ยว แล้วนำลงเรือบรรทุกข้าวหรือบรรทุกไม้ ล่องไปทางตลาดใต้ บ้านตากุ๋ย แล้วอัญเชิญกลับศาล วันที่สองจะมีการทำการแห่ขึ้นไปทางเหนือทางสถานีรถไฟ ขบวนแห่จะมีแต่เฉพาะองค์เจ้าและพะโหล่ว ต่อมาเมื่อมีการคมนาคมทางบกสะดวก จึงได้อัญเชิญแห่รอบตลาดปากน้ำโพ และได้นำเอาศิลปวัฒนธรรมของชาวไหนนำ คือการเชิดเสือ พะโหล่ว สาวงามถือโบ้ยโบ้ (อาวุธเจ้า) ไซกี่ (ธง) มาร่วมในขบวน จวบจนกระทั่งปี..2460-2462 เกิดโรคห่า (อหิวาตกโรค) ระบาด ทำให้ประชาชนล้มตายเป็นจำนวนมาก ด้วยเหตุเพราะการแพทย์ การสาธารณสุขสมัยนั้นยังไม่เจริญเท่าที่ควร ชาวบ้านต้องพึ่งพาหมอตามบ้าน หรือซินแสจีน แต่ก็ไม่สามารถยับยั้งโรคระบาดได้ ส่วนใหญ่หันไปพึ่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งในครั้งนั้นเจ้าพ่อแควใหญ่ (เจ้าพ่อเทพารักษ์) ได้ประทับทรง ทำพิธีรักษาโรคด้วยการเขียน “ยันต์กระดาษ” หรือเรียกว่า "ฮู้" ให้ติดตัวหรือปิดไว้หน้าบ้าน และได้นำฮู้เผาไฟเพื่อทำน้ำมนต์ให้ประชาชนได้ดื่มกินและประพรมรอบตลาด บริเวณใดที่ได้ทำพิธีแล้วก็จะใช้ผ้าแดง กั้นไว้ให้ประชาชนผ่านไปผ่านมาเส้นนี้ได้ เป็นผลให้การระบาดของโรคหมดไป ความศักดิ์สิทธิ์จากปากต่อปากที่เล่าขานและแรงศรัทธา จึงทำให้มีผู้คนศรัทธามากราบไหว้เพิ่มขึ้นทุกปี ปัจจุบันประเพณีการแห่เจ้าพ่อเจ้าแม่ เทศกาลตรุษจีนได้สร้างชื่อเสียงให้กับจังหวัดนครสวรรค์เป็นอย่างมาก ซึ่งรูปแบบการจัดงานได้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคตามสมัย โดยได้คัดเลือกชาวตลาดปากน้ำโพเข้ามาเป็นคณะกรรมการจัดงาน หรือที่เรียกว่าคณะกรรมการกลาง โดยการจัดงานในปัจจุบันจะจัดงานในภาคกลางคืนถึง 12 คืน โดยในงานจะจัดให้มีการอุปรากรจีนทั้งไหหนำและแต้จิ๋ว การจัดขบวนแห่กลางคืนมีแสงสีที่สวยงาม ซึ่งการแห่กลางคืนนี้ถือได้ว่าเป็นการแห่ล้างตลาดก่อนที่วันรุ่งขึ้นจะอัญเชิญองค์เจ้าพ่อเจ้าแม่ออกแห.

ดู อหิวาตกโรคและตรุษจีนในนครสวรรค์

ตะบูนขาว

ตะบูนขาว เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Meliaceae เป็นไม้ผลัดใบ พบในป่าชายเลน พบได้ทั่วไปในเอเชีย แอฟริกา ออสเตรเลีย และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก รากมีพูพอน แผ่ออกจากโคนต้น มีรากหายใจค่อนข้างแบน เปลือกเรียบ สีน้ำตาลอมเหลือง เปลือกหลุดออกเป็นแผ่นบางๆ ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ใบสีเขียวอ่อน ผิวใบเป็นมัน ดอกเป็นดอกช่อ แตกออกจากง่ามใบ ดอกสีขาว กลีบดอกมีสี่กลีบ ผลเป็นผลกลม สีน้ำตาลอมเขียว แก่แล้วเป็นสีน้ำตาลแก่ ภายในมีเมล็ดขนาดใหญ่ อัดแน่นภายในผล การนำตะบูนขาวมาใช้ประโยชน์นั้น เปลือกให้น้ำฝาดใช้ย้อมผ้า เปลือกและผลแก้อหิวาตกโร.

ดู อหิวาตกโรคและตะบูนขาว

ตะบูนดำ

ตะบูนดำ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Meliaceae เปลือกลำต้นสีดำหรือน้ำตาล แตกเป็นร่องตามยาว โคนต้นมีพูพอนและมีรากหายใจ ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ผิวใบมัน สีเขียวเข้ม หลังใบเขียวอ่อนกว่า ดอกเป็นดอกช่อ ออกที่ง่ามใบ ดอกย่อยสีขาว มีจำนวนมาก ผลเป็นลูกกลมขนาดใหญ่ ผิวเกลี้ยง ข้างในมีเมล็ดสีน้ำตาลอมแดงขนาดใหญ่หลายอัน.

ดู อหิวาตกโรคและตะบูนดำ

ซานเตียโก รามอน อี กาฮาล

ซานเตียโก รามอน อี กาฮาล (Santiago Ramón y Cajal) ForMemRS (1 พฤษภาคม 2395 – 18 ตุลาคม 2477) เป็นแพทย์ อาจารย์ พยาธิแพทย์ นักมิญชวิทยาและนักประสาทวิทยาศาสตร์ชาวสเปน ได้รับรางวัลรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ในปี..1906 (พ.ศ.

ดู อหิวาตกโรคและซานเตียโก รามอน อี กาฮาล

ซิมโฟนีหมายเลข 6 (ไชคอฟสกี)

ซิมโฟนีหมายเลข 6 ในบันไดเสียง บี ไมเนอร์ (Symphony No.) เป็นซิมโฟนีชิ้นสุดท้ายของปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกี แต่งขึ้นในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงสิงหาคม..

ดู อหิวาตกโรคและซิมโฟนีหมายเลข 6 (ไชคอฟสกี)

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2363

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2363 ในประเทศไท.

ดู อหิวาตกโรคและประเทศไทยใน พ.ศ. 2363

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2392

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2392 ในประเทศไท.

ดู อหิวาตกโรคและประเทศไทยใน พ.ศ. 2392

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2403

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2403 ในประเทศไท.

ดู อหิวาตกโรคและประเทศไทยใน พ.ศ. 2403

ปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกี

ปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกี (Пётр Ильи́ч Чайко́вский; Pyotr Ilyich Tchaikovsky) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ปีเตอร์ อิลิช ไชคอฟสกี เป็นคีตกวีชาวรัสเซีย เกิดเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู อหิวาตกโรคและปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกี

นีกอลา เลออนาร์ ซาดี การ์โน

ซาดี การ์โน นีกอลา เลออนาร์ ซาดี การ์โน (Nicolas Léonard Sadi Carnot; 1 มิถุนายน ค.ศ. 1796 - 24 สิงหาคม ค.ศ. 1832) เป็นนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส และนายช่างวิศวกรประจำกองทัพ ซึ่งคิดค้นทฤษฎีเครื่องจักรความร้อนได้สำเร็จจริง จากงานวิจัยเรื่อง Reflections on the Motive Power of Fire ในปี..1824 ปัจจุบันทฤษฎีนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ "วัฏจักรการ์โน" เป็นผู้วางรากฐานกฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ หรืออาจกล่าวได้ว่าเขาเป็นนักอุณหพลศาสตร์คนแรกของโลก ซึ่งคิดค้นหลักการพื้นฐานต่าง ๆ มากมายเช่น ประสิทธิภาพการ์โน ทฤษฎีการ์โน เครื่องจักรความร้อนการ์โน เป็นต้น การ์โนเกิดในกรุงปารีส เป็นบุตรชายคนโตของนักเรขาคณิตและนายทหารผู้มีชื่อเสียง คือ ลาซาร์ นีกอลา มาร์เกอริต การ์โน (Lazare Nicholas Marguerite Carnot) น้องชายของเขาคือ อีปอลิต การ์โน (Hippolyte Carnot) ซึ่งเป็นบิดาของมารี ฟร็องซัว ซาดี การ์โน (Marie François Sadi Carnot ประธานาธิบดีของสาธารณรัฐฝรั่งเศส ระหว่างปี ค.ศ.1887-1894) เมื่อการ์โนอายุ 16 ปี (ค.ศ.

ดู อหิวาตกโรคและนีกอลา เลออนาร์ ซาดี การ์โน

แมลงสาบ

แมลงสาบ (Cockroachs) เป็นแมลงที่อยู่ในอันดับ Blattodea หรือ Blattaria จัดเป็นแมลงที่มีวงจรชีวิตไม่สมบูรณ์ คือ ไม่เป็นตัวหนอนและดักแด้ ปัจจุบันเป็นแมลงที่พบกระจายไปแล้วทั่วโลก โดยติดไปกับยานพาหนะต่าง ๆ พบได้ถึงขนาดบนเครื่องบินโดยสาร ถือเป็นสัตว์ที่เป็นพาหะนำโร.

ดู อหิวาตกโรคและแมลงสาบ

แร้ง

แร้งสีน้ำตาล (''Gyps indicus'') แร้ง หรือ อีแร้งบรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.

ดู อหิวาตกโรคและแร้ง

แฮเรียต บีเชอร์ สโตว์

แฮเรียต บีเชอร์ สโตว์ (Harriet Beecher Stowe; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2354 – 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2439) เป็นนักเขียนนวนิยายชาวอเมริกัน เกิดที่เมืองลิชฟิลด์ รัฐคอนเนตทิคัต ประเทศสหรัฐอเมริกา ในครอบครัวที่เคร่งศาสนานิกายพิวริแทน สโตว์ได้รับการศึกษาเบื้องต้นในโรงเรียนของพี่สาวและต่อมาได้เป็นครูในโรงเรียนนี้ ต่อมาได้แต่งงานกับศาสตราจารย์ด้านการศาสนาในปี..

ดู อหิวาตกโรคและแฮเรียต บีเชอร์ สโตว์

โรคไวรัสอีโบลา

รคไวรัสอีโบลา หรือไข้เลือดออกอีโบลา เป็นโรคของมนุษย์ที่เกิดจากไวรัสอีโบลา ตรงแบบเริ่มมีอาการสองวันถึงสามสัปดาห์หลังสัมผัสไวรัส โดยมีไข้ เจ็บคอ ปวดกล้ามเนื้อและปวดศีรษะ จากนั้นมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนและท้องร่วงร่วมกับการทำหน้าที่ของตับและไตลดลงตามมา เมื่อถึงจุดนี้ บางคนเริ่มมีปัญหาเลือดออก บุคคลรับโรคนี้ครั้งแรกเมื่อสัมผัสกับเลือดหรือสารน้ำในร่างกายจากสัตว์ที่ติดเชื้อ เช่น ลิงหรือค้างคาวผลไม้ เชื่อว่าค้างคาวผลไม้เป็นตัวพาและแพร่โรคโดยไม่ได้รับผลกระทบจากไวรัส เมื่อติดเชื้อแล้ว โรคอาจแพร่จากคนสู่คนได้ ผู้ที่รอดชีวิตอาจสามารถส่งผ่านโรคทางน้ำอสุจิได้เป็นเวลาเกือบสองเดือน ในการวินิจฉัย ต้องแยกโรคอื่นที่มีอาการคล้ายกันออกก่อน เช่น มาลาเรีย อหิวาตกโรคและไข้เลือดออกจากไวรัสอื่น ๆ อาจทดสอบเลือดหาแอนติบอดีต่อไวรัส ดีเอ็นเอของไวรัส หรือตัวไวรัสเองเพื่อยืนยันการวินิจฉัย การป้องกันรวมถึงการลดการระบาดของโรคจากลิงและหมูที่ติดเชื้อสู่คน ซึ่งอาจทำได้โดยการตรวจสอบหาการติดเชื้อในสัตว์เหล่านี้ และฆ่าและจัดการกับซากอย่างเหมาะสมหากพบโรค การปรุงเนื้อสัตว์และสวมเสื้อผ้าป้องกันอย่างเหมาะสมเมื่อจัดการกับเนื้อสัตว์อาจช่วยได้ เช่นเดียวกับสวมเสื้อผ้าป้องกันและล้างมือเมื่ออยู่ใกล้ผู้ที่ป่วยเป็นโรคดังกล่าว ตัวอย่างสารน้ำร่างกายจากผู้ป่วยควรจัดการด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษ ไม่มีการรักษาไวรัสอย่างจำเพาะ ความพยายามช่วยเหลือผู้ป่วยมีการบำบัดคืนน้ำ (rehydration therapy) ทางปากหรือหลอดเลือดดำ โรคนี้มีอัตราตายสูงระหว่าง 50% ถึง 90% ของผู้ติดเชื้อไวรัส มีการระบุโรคนี้ครั้งแรกในประเทศซูดานและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ตรงแบบเกิดในการระบาดในเขตร้อนแอฟริกาใต้สะฮารา ระหว่างปี 2519 ซึ่งมีการระบุโรคครั้งแรก และปี 2555 มีผู้ติดเชื้อน้อยกว่า 1,000 คนต่อปี การระบาดครั้งใหญ่ที่สุดจนถึงปัจจุบัน คือ การระบาดของอีโบลาในแอฟริกาตะวันตก พ.ศ.

ดู อหิวาตกโรคและโรคไวรัสอีโบลา

โรเบิร์ต คอค

รเบิร์ต คอค ลายเซ็นของโรเบิร์ต คอค โรเบิร์ต คอค (Heinrich Hermann Robert Koch; 11 ธันวาคม พ.ศ. 2386 — 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2453) เป็นนายแพทย์ชาวเยอรมัน ได้ศึกษาโรคที่เกิดจากแกะโดยเพาะเลี้ยงเชื้อนอกอวัยวะสัตว์จนสามารถอธิบายวงจรชีวิตของเชื้อดังกล่าวได้ เมื่อปี..

ดู อหิวาตกโรคและโรเบิร์ต คอค

เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส

มรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เป็นฌาปนสถานสำหรับพระราชวงศ์ซึ่งไม่ได้สร้างพระเมรุมาศ ที่ท้องสนามหลวง และ พระศพเจ้านายฝ่ายในราชนิกูล ขุนนาง ข้าราชการผู้ใหญ่ ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสายสะพายของแต่ละตระกูล และ ได้รับพระราชทานโกศเป็นเกียรติยศ โดยเมื่อใช้ในการพระราชทานเพลิงพระศพเจ้านายจะออกหมายเรียกว่า "พระเมรุ" และถ้าเป็นเจ้านายที่มีพระเกียรติยศสูง เป็นที่นับถือของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อาจมีการปรับปรุงประดับตกแต่งโดยรอบให้สมพระเกียรติยศ เช่น กางกั้นด้วยฉัตรตามพระเกียรติยศ มีการประดับด้วยฉัตรดอกไม้สดโดยรอบ สร้างซ่างไว้สำหรับพระพิธีธรรมสวด จัดตกแต่งสวนหย่อมให้เป็นป่าหิมพานต์ นอกจากนี้ ยังใช้เป็นพระเมรุพระบุพโพของพระบรมวงศ์สำคัญที่บรรจุพระศพลงพระโกศ เพื่อจะได้ไม่ต้องไปสร้างพระเมรุดาดผ้าขาวที่วัดมหาธาตุ เช่น พระบุพโพ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 พระบุพโพ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และ พระบุพโพ พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ในรัชกาลที่ 6.

ดู อหิวาตกโรคและเมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส

เสม พริ้งพวงแก้ว

ตราจารย์ นายแพทย์ เสม พริ้งพวงแก้ว (31 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณ..

ดู อหิวาตกโรคและเสม พริ้งพวงแก้ว

เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)

อนุสาวรีย์เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ณ วัดมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) (13 มกราคม พ.ศ.

ดู อหิวาตกโรคและเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)

เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)

ระอาชญาเจ้าขุนรามราชรามางกูร (ลาว: ພຣະອາດຊະຢາເຈົ້າຂຸນຣາມມະຣາຊຣາມາງກູຣ, ราว พ.ศ. ๒๓๐๐-๒๔๐๐) ทรงเป็นเจ้าเมืองพนม (เมืองธาตุพนม) อันเป็นเมืองกัลปนาหรือเมืองพุทธศาสนานครพระองค์แรกจากราชวงศ์เวียงจันทน์ เมื่อครั้งธาตุพนมยังเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรศรีสัตนาคนหุตล้านช้างเวียงจันทน์ ก่อนตกเป็นประเทศราชของราชอาณาจักรสยาม และทรงเป็นเจ้าขุนโอกาส (ขุนโอกลาษ) ผู้รักษากองข้าอุปัฏฐากพระบรมมหาธาตุเจ้าเจดีย์พระนม (พระธาตุพนม วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร) พระองค์แรกแห่งราชวงศ์เวียงจันทน์ ระหว่างราวปี..

ดู อหิวาตกโรคและเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)

เจ้าหญิงมารีอา ดา อาซุงเซาแห่งโปรตุเกส

้าหญิงมารีอา ดา อาซุงเซาแห่งโปรตุเกส หรือ เจ้าหญิงแห่งบรากังซา (25 มิถุนายน พ.ศ. 2348 - 7 มกราคม พ.ศ. 2377) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งโปรตุเกส และเป็นพระราชธิดาในพระเจ้าโจเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกสกับเจ้าหญิงการ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน.

ดู อหิวาตกโรคและเจ้าหญิงมารีอา ดา อาซุงเซาแห่งโปรตุเกส

เทศบาลเมืองศรีราชา

ทศบาลเมืองศรีราชา หรือ เมืองศรีราชา เป็นเทศบาลขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเขตอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญของอ่าวไทยริมฝั่งภาคตะวันออกของประเทศไทย และที่สำคัญยังเป็นเมืองเศรษฐกิจอีกเมืองหนึ่งของจังหวัดชลบุรีด้ว.

ดู อหิวาตกโรคและเทศบาลเมืองศรีราชา

เปรต

วาดเปรตแบบญี่ปุ่น เปรต (प्रेत เปฺรต; peta เปต) หมายถึงผี ตามความเชื่อในหลายศาสนาทั้ง ศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดู ศาสนาซิกข์ และศาสนาเชน.

ดู อหิวาตกโรคและเปรต

ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรค

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ดู อหิวาตกโรคและICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรค

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Choleraลงรากอหิวาต์โรคลงรากโรคห่า

อาหารเลี้ยงเชื้ออาณาจักรล้านช้างอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์อิน-จันองค์การเภสัชกรรมฮงอินโบ ชูซะกุผี (แก้ความกำกวม)จอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ดอกซีไซคลีนคริสตจักรที่ 1 สำเหร่คลอแรมเฟนิคอลคาร์ล ลาร์สสันตรุษจีนในนครสวรรค์ตะบูนขาวตะบูนดำซานเตียโก รามอน อี กาฮาลซิมโฟนีหมายเลข 6 (ไชคอฟสกี)ประเทศไทยใน พ.ศ. 2363ประเทศไทยใน พ.ศ. 2392ประเทศไทยใน พ.ศ. 2403ปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกีนีกอลา เลออนาร์ ซาดี การ์โนแมลงสาบแร้งแฮเรียต บีเชอร์ สโตว์โรคไวรัสอีโบลาโรเบิร์ต คอคเมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสเสม พริ้งพวงแก้วเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)เจ้าหญิงมารีอา ดา อาซุงเซาแห่งโปรตุเกสเทศบาลเมืองศรีราชาเปรตICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรค