โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อภิรักษ์ โกษะโยธิน

ดัชนี อภิรักษ์ โกษะโยธิน

นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน (30 มีนาคม พ.ศ. 2504 —) เป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์, อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี และอดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2 สมั.

83 ความสัมพันธ์: บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัยชำนิ ศักดิเศรษฐ์บุรณัชย์ สมุทรักษ์ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ชนินทร์ รุ่งแสงพ.ศ. 2504พ.ศ. 2552พรรคประชาธิปัตย์พรรคไทยพอเพียงพรวุฒิ สารสินพฤศจิกายน พ.ศ. 2548พฤษภาคม พ.ศ. 2547พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์พนิช วิกิตเศรษฐ์กรณ์ จาติกวณิชการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 6 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552กิจจา ทวีกุลกิจกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549กนก วงษ์ตระหง่านมกราคม พ.ศ. 2549มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ยงยุทธ ติยะไพรัชรายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ปากเกร็ดรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลลีนา จังจรรจาวรรณพร พรประภาวิศาล ดิลกวณิชวิทเยนทร์ มุตตามระสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24สมัคร สุนทรเวชสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สวนวชิรเบญจทัศสวนทวีวนารมย์สามารถ ราชพลสิทธิ์สิงหาคม พ.ศ. 2547สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสถานีกรุงธนบุรี...สถานีสุรศักดิ์สโมสรฟุตบอลทรูแบงค็อก ยูไนเต็ดหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตรหม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุลหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานครอุทยานเบญจสิริผุสดี ตามไทผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจังหวัดนนทบุรีจุติ ไกรฤกษ์ถิรชัย วุฒิธรรมถนอม อ่อนเกตุพลถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์คณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์)คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ตุลาคม พ.ศ. 2548ต่อตระกูล ยมนาคประภัสร์ จงสงวนประเทศไทยใน พ.ศ. 2547ปวีณา หงสกุลนวลพรรณ ล่ำซำแทนคุณ จิตต์อิสระโกวิทย์ ธารณาโรงเรียนวัดเขมาภิรตารามโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาเชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์เกรียงยศ สุดลาภาเกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์เกียรติ สิทธีอมรเหตุการณ์ นปช. ปะทะกับกลุ่มพันธมิตรฯ 2 กันยายน พ.ศ. 2551เหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 254929 สิงหาคม ขยายดัชนี (33 มากกว่า) »

บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย

รองศาสตราจารย์ บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช อดีตหัวหน้าพรรคถิ่นไทย อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหญิง (ในสมัย ดร.พิจิตต รัตตกุล) และในสมัยนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน โดยเข้ารับตำแหน่งรองผู้ว่าฝ่ายโยธาครั้งที่สอง แทน ดร.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและบรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย · ดูเพิ่มเติม »

ชำนิ ศักดิเศรษฐ์

ำนิ ศักดิเศรษฐ์ (3 มีนาคม พ.ศ. 2490-) รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ กรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมัย เป็นหนึ่งในกำลังสำคัญของพรรคประชาธิปัตย์ในพื้นที่ภาคใต้.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและชำนิ ศักดิเศรษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

บุรณัชย์ สมุทรักษ์

นายแพทย์บุรณัชย์ สมุทรักษ์ (ชื่อเล่น: ท็อป) หรือที่สื่อมวลชนนิยมเรียกว่า หมอท็อป..บัญชีรายชื่อ และ อดีตโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2509 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ พล.อ.เมธี สมุทรักษ์ อดีตประธานคณะกรรมการที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้บัญชาการหน่วยข่าวกรองทางทหาร และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทิพย์วัลย์ สมุทรักษ์ อดีต.ว.สรรหา และ อดีตคณบดีคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและบุรณัชย์ สมุทรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์

ูวิทย์ กมลวิศิษฏ์ หรือนามแฝงว่า Davis Kamol (เกิด 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504 เยาวราช) เป็นอดีตนักการเมืองชาวไทย อดีตหัวหน้าพรรค และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อพรรครักประเทศไทย อดีตสมาชิกพรรคสู้เพื่อไทย และอดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไท.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชนินทร์ รุ่งแสง

นายชนินทร์ รุ่งแสง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองประธานสภากรุงเทพมหานคร 2 สมั.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและชนินทร์ รุ่งแสง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคไทยพอเพียง

รรคไทยพอเพียง พรรคการเมืองของไทยที่จดทะเบียนจัดตั้งพรรคเมื่อ วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2553 มีนายจำรัส อินทุมาร เป็นหัวหน้าพรรคและนายธีรวุธ พราหมณสุทธ์เป็นเลขาธิการพรร.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและพรรคไทยพอเพียง · ดูเพิ่มเติม »

พรวุฒิ สารสิน

รวุฒิ สารสิน เป็นนักธุรกิจ นักการเมือง และนักแสดงชาวไทย ปัจจุบันเป็นประธานกรรมการ บริษัทไทยน้ำทิพย์ จำกัด ซึ่งในประวัติการทำงานส่วนนี้ทำให้ได้รับฉายาว่า "เจ้าพ่อน้ำดำ".

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและพรวุฒิ สารสิน · ดูเพิ่มเติม »

พฤศจิกายน พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม พ.ศ. 2547

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและพฤษภาคม พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์

นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ · ดูเพิ่มเติม »

พนิช วิกิตเศรษฐ์

นิช วิกิตเศรษฐ์ (4 กันยายน 2506 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ (สำรอง) อดีตผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (นายกษิต ภิรมย์) และอดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในสมัยนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและพนิช วิกิตเศรษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรณ์ จาติกวณิช

กรณ์ จาติกวณิช (เกิด: 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507) เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เนื่องจากรูปร่างที่สูงถึง 193 เซนติเมตร ทำให้ได้สมญานามจากสื่อมวลชนว่า "หล่อโย่ง" ซึ่งตั้งให้เข้าชุดกับอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่มีสมญานาม "หล่อใหญ่" และสมาชิกพรรครุ่นใหม่คนอื่นๆ เช่น อภิรักษ์ โกษะโยธิน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อเล็ก" และหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อจิ๋ว" ต้นปี..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและกรณ์ จาติกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 6 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 6 แทนตำแหน่งที่ว่าง..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 6 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

แต่เดิม ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นข้าราชการการเมืองที่มาจากแต่งตั้งโดยคณะรัฐมนตรีตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552

ปสเตอร์รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2552 การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

กิจจา ทวีกุลกิจ

กิจจา ทวีกุลกิจ (เกิด ?) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า หมอนิด เป็น หมอดูชาวไทยมีชื่อเสียงมาจากการทำนายทายทักดวงเมืองและเหตุการณ์ทางการเมือง.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและกิจจา ทวีกุลกิจ · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กนก วงษ์ตระหง่าน

ตราจารย์ ดร.กนก วงษ์ตระหง่าน รองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) และคณะกรรมการขับเคลื่อนวาระประชาชนของพรรคประชาธิปัตย์ ด้านเศรษฐกิจและการศึกษ.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและกนก วงษ์ตระหง่าน · ดูเพิ่มเติม »

มกราคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและมกราคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์

ห้องสมุดในมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยจอนส์ ฮอปกินส์ (Johns Hopkins University ตัวย่อ JHU) หรือเรียกอย่างย่อว่า ฮอปกินส์ เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในสหรัฐอเมริกา ริเริ่มก่อตั้งโดยประธานาธิบดี เดวิด คอยต์ กิลแมน ตั้งอยู่ที่เมืองบัลติมอร์ รัฐแมริแลนด์ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2419 (ค.ศ. 1876) โดยมีการเปิดการเรียนการสอบในหลายระดับ มีนักศึกษาระดับปริญญาตรีประมาณ 4,500 คน และในระดับสูงกว่าระดับปริญญาตรี 15,000 คน จอนส์ ฮอปกินส์เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในสหรัฐอเมริกาที่ใช้รูปแบบการจัดการศึกษาแบบมหาวิทยาลัยในเยอรมนี และเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในสหรัฐอเมริกาที่จัดการเรียนการสอนโดยใช้การสัมมนาแทนการสอนโดยการบรรยายเพียงอย่างเดียว รวมทั้งเป็นมหาวิทยาลัยอเมริกันแห่งแรกที่จัดให้มีวิชาเอก (major) แทนหลักสูตรศิลปศาสตร์ทั่วไป ดังนั้นจอนส์ ฮอปกินส์จึงเป็นต้นแบบของมหาวิทยาลัยวิจัยขนาดใหญ่ในสหรัฐอเมริกา และเป็นหนึ่งใน 14 สมาชิกก่อตั้งสมาคมมหาวิทยาลัยอเมริกัน หรือ Association of American Universities จากสถิติของกองทุนวิทยาศาสตร์แห่งชาติ (National Science Foundation) ของสหรัฐอเมริกา จอนส์ ฮอปกินส์เป็นมหาวิทยาลัยที่ครองอันดับ 1 ในด้านการใช้งบประมาณการวิจัยและพัฒนาในสาขาวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และวิศวกรรมศาสตร์ เป็นเวลา 30 ปีต่อเนื่องกันและเป็นสถาบันที่ได้รับการอ้างอิงมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก จอห์น ฮอปกินส์ มีชื่อเสียงในด้านการแพทย์ สาธารณสุข และ การพยาบาล โดยได้รับการจัดอันดับจากยูเอสนิวส์ในอันดับต้นของประเทศหลายครั้ง นอกจากนั้นจอนส์ฮอปกินส์ยังมีสถาบันชั้นนำระดับโลกในสาขาอื่น อาทิ สถาบันด้านการดนตรีพีบอดี (Peabody Institute) และด้านการระหว่างประเทศ (The Paul H. Nitze School of Advanced International Studies หรือ SAIS) จนถึงพ.ศ. 2552 มีบุคคลที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์จำนวน 33 คนที่ได้รับรางวัลโนเบล.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและมหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช (Navamindradhiraj University) เดิมชื่อ มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นวันที่ 13 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อังกฤษ: Chiang Mai University; อักษรย่อ: มช.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทยที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูม..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ ติยะไพรัช

ร.ยงยุทธ ติยะไพรัช อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและยงยุทธ ติยะไพรัช · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

150px รายชื่อศิษย์เก่า คณาจารย์ ที่มีชื่อเสียงจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและรายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ ยี่ห้อ Sunlong SLK6125CNG ที่สถานีสาทร รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์ หรือสายช่องนนทรี-ราชพฤกษ์ เป็นระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือบีอาร์ที (BRT) สายนำร่องของกรุงเทพมหานคร และเป็นสายแรกของประเทศไทย เดินรถบนถนนนราธิวาสราชนครินทร์, ถนนพระรามที่ 3, สะพานพระราม 3 และถนนรัชดาภิเษก-ท่าพระ ระยะทาง 15.9 กิโลเมตร มีจุดจอดรับส่งผู้โดยสาร 12 สถานี โดยจัดช่องทางการเดินรถแยกจากช่องทางปกติบนพื้นถนนเดิมในทิศทางเดียวกัน ยกเว้นบนสะพานข้ามทางแยกและสะพานพระราม 3ที่เดินรถในช่องเดินรถมวลชน (high-occupancy vehicle/HOV lane) ร่วมกับรถยนต์ที่มีผู้โดยสารตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป และบริเวณทางแยกบางจุดที่ใช้ช่องทางร่วมกับรถทั่วไป โครงการนี้เริ่มขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและรถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ปากเกร็ด

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ปากเกร็ด หรือ รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ศูนย์ราชการกรุงเทพมหานคร เป็นโครงการก่อสร้างระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ (BRT) ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 7 สถานี เกิดแนวคิดขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ปากเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

250px รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นแผนงานโครงข่ายระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือบีอาร์ที (BRT) ที่ภาครัฐพยายามนำมาใช้เสริมโครงข่ายระบบขนส่งมวลชน เพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรและพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะโดยเฉพาะระบบรถประจำทาง ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล จัดทำโดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กรุงเทพมหานครได้เปิดให้บริการ รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์ ตั้งแต่วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 (จากกำหนดเดิมในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) โดยโครงการสายอื่นนั้นยังอยู่ในขั้นตอนการวางแผน.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

ลีนา จังจรรจา

ลีนา จังจรรจา เป็นที่รู้จักในชื่อ ลีน่าจัง (เกิด 14 กันยายน พ.ศ. 2502) เป็นอดีตหัวหน้าพรรคมหาประชาชน เคยลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในปี 2547, 2551 และ 2552 นอกจากนี้ ยังเปิดร้านขายเครื่องสำอาง "ไฮโซไซตี้" ที่ประตูน้ำเซ็นเตอร์ และประกอบอาชีพทนายความ.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและลีนา จังจรรจา · ดูเพิ่มเติม »

วรรณพร พรประภา

วรรณพร พรประภา หรือนามสกุลเดิม ล่ำซำ เป็นภูมิสถาปนิกและสถาปนิกเจ้าของสำนักงานออกแบบ โดยดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท PLA (บริษัท พี แลนด์สเคป จำกัด) บุตรโพธิพงษ์ ล่ำซำ และน้องสาวนวลพรรณ ล่ำซำ.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและวรรณพร พรประภา · ดูเพิ่มเติม »

วิศาล ดิลกวณิช

วิศาล ดิลกวณิช พิธีกรรายการบ่ายนี้มีคำตอบ ทางช่อง 9 MCOT HD เกิดเมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2513 วิศาลทำงานสื่อมวลชนมาหลายรูปแบบ เคยเป็นผู้สื่อข่าววิทยุ สังกัดศูนย์ข่าวแปซิฟิก และสถานีวิทยุกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ เอเอ็ม 1008, ผู้ประกาศข่าวภาคเที่ยง ผู้สื่อข่าวสายเศรษฐกิจและเทคโนโลยี ทางสถานีโทรทัศน์ไอทีวี, พิธีกรข่าว รายการเช้าวันใหม่ (คู่กับนิธินาฎ ราชนิยม หรือปราย ธนาอัมพุช), ครอบครัวข่าวเช้า ช่วง ไขประเด็นดัง, เที่ยงวันทันเหตุการณ์ (ช่วงเกาะประเด็นร้อน แกะประเด็นลึก) ทางไทยทีวีสีช่อง 3 โดยเขาเป็นผู้นำคนหนึ่งของกลุ่มพนักงานฝ่ายข่าวไอทีวี ที่เคลื่อนไหวคัดค้านการเข้าถือหุ้นใหญ่ใน บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) ของกลุ่มชินคอร์ป ซึ่งพนักงานกลุ่มดังกล่าวเชื่อว่า มีความเกี่ยวข้องกับ ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ต่อมากลุ่มพนักงานดังกล่าว เป็นที่รู้จักในชื่อ กบฏไอทีวี นอกจากงานประจำแล้ว ปัจจุบันวิศาลยังมีกิจการผลิตรายการโทรทัศน์ ในนามบริษัท เมไกแมสมีเดีย จำกัดอีกด้ว.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและวิศาล ดิลกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

วิทเยนทร์ มุตตามระ

วิทเยนทร์ มุตตามระ กรรมการผู้จัดการสถานีโทรทัศน์บลูสกายแชนแนล และอดีตผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ เกิดเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและวิทเยนทร์ มุตตามระ · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 480 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 400 คน และการเลือกตั้งแบบสัดส่วน 80 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 500 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 375 คน และการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ 125 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร มี 33 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 33 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สวนวชิรเบญจทัศ

วนวชิรเบญจทัศ หรือที่นิยมเรียกว่า สวนรถไฟ เป็นสวนสาธารณะขนาดใหญ่ มีเนื้อที่กว่า 375 ไร่ ตั้งอยู่ที่ถนนกำแพงเพชร 3 แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ติดกับสวนสาธารณะอีก 2 สวน คือ สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ และสวนจตุจักร อยู่ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และ การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.).

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและสวนวชิรเบญจทัศ · ดูเพิ่มเติม »

สวนทวีวนารมย์

วนทวีวนารมย์ เป็นสวนสาธารณะในความดูแลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 1 ถนนทวีวัฒนา แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10170 เป็นสวนสาธารณะเอนกประสงค์ เพราะอยู่ใกล้กับตลาดธนบุรี หรือ สนามหลวง 2 ซึ่งกรุงเทพมหานครมีประสงค์ต้องการจะให้เป็นทั้งแหล่งพักผ่อนและแหล่งจับจ่ายสินค้าของประชาชนในฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและสวนทวีวนารมย์ · ดูเพิ่มเติม »

สามารถ ราชพลสิทธิ์

มารถ ราชพลสิทธิ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ฝ่ายโยธาและจราจร หนึ่งในทีมบริหารกรุงเทพมหานครชุดเริ่มต้นของ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เกิดวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 ที่ ตำบลปากพะยูน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง เป็นบุตรของ นายจบ ราชพลสิทธิ์ และนางละม้าย ราชพลสิทธิ์ สำเร็จการศึกษาปริญญาโท วิศวกรรมโยธา สาขาวิศวกรรมจราจรและขนส่ง และปริญญาเอก วิศวกรรมโยธา สาขาการวางแผนโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง ดร.สามารถ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการวางระบบจราจรเมืองใหญ่ เป็นหนึ่งในคณะกรรมการพิจารณาโครงการ รถเมล์ด่วนพิเศษบีอาร์ที (Bus Rapid Transit หรือ BRT) ของ สำนักงานนโยบาย และแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มีประสบการณ์ทำงานเกี่ยวข้องกับจราจรและขนส่ง ทั้งในและต่างประเทศหลายประเภท เช่น รถไฟฟ้า ทางด่วน สนามบิน และท่าเรือ โดยเป็นที่ปรึกษาโครงการ ให้กับองค์การระหว่างประเทศต่างๆ เช่น ธนาคารโลก องค์การสหประชาชาติ ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (เอดีบี) องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น (ไจก้า) และกองทุนความร่วมมือด้านเศรษฐกิจโพ้นทะเล (โออีซีเอฟ) ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น "เจบิก" หรือ ธนาคารเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น ระหว่างดำรงตำแหน่ง รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นเวลาสั้นๆ ระหว่างเดือนกันยายน..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและสามารถ ราชพลสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม พ.ศ. 2547

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและสิงหาคม พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาคารจามจุรี 10 และศศินทร์ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Sasin Graduate Institute of Business Administration of Chulalongkorn University) เป็นสถาบันที่เปิดทำการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา (นานาชาติ) ทางด้านบริหารธุรกิจ การตลาด การจัดการ และสาขาที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือกันระหว่าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย The Kellogg School of Management ของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น และ Wharton School ของมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย นอกจากนี้ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ยังเป็นสถาบันแห่งแรกในไทยที่ได้รับการรับรองจากสมาคมเพื่อพัฒนาวิทยาลัยธุรกิจ (Association to Advance Collegiate Schools of Business) ด้ว.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีกรุงธนบุรี

นีกรุงธนบุรี (Krung Thon Buri Station รหัสสถานี S7) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สายสีลม ส่วนต่อขยายตากสิน-บางหว้า ช่วงที่ 1 (สะพานตากสิน-แยกตากสิน) ยกระดับเหนือถนนกรุงธนบุรี ใกล้ สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน และ ถนนเจริญนคร ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและสถานีกรุงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสุรศักดิ์

ั้นขายบัตรโดยสาร สถานีสุรศักดิ์ เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับเหนือถนนสาทรเหนือและถนนสาทรใต้ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและสถานีสุรศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด

มสรฟุตบอลทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด สโมสรฟุตบอลในประเทศไทย เคยชนะเลิศการแข่งขันไทยพรีเมียร์ลีก 1 สมัย ในปี 2549 และได้รับสิทธิไปร่วมเล่นใน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ในอดีตเคยใช้ชื่อ สโมสรฟุตบอลมหาวิทยาลัยกรุงเทพ จนกระทั่งปี..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและสโมสรฟุตบอลทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร

รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร (22 กันยายน 2495 -) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 15 อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล

ร้อยตรี หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล พิธีกร และผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ อดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 และความรู้ความสามารถในการเป็นพิธีกร ทั้งเรื่องประเด็นข่าวเศรษฐกิจ และต่างประเทศอีกด้ว.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและหม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร บริเวณภายนอกอาคาร หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร บริเวณภายนอกอาคารเชื่อมต่อทางเดินจากมาบุญครอง บริเวณภายในจัดแสดง ทางเดินก้นหอยรอบตัวอาคาร หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (Bangkok Art and Culture Centre) หรือ หอศิลป์กรุงเทพฯ เป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะตั้งอยู่ที่สี่แยกปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานเบญจสิริ

ระวังสับสนกับ: สวนเบญจกิติ อุทยานเบญจสิริ หรือ สวนเบญจสิริ เป็นสวนสาธารณะระดับชุมชนขนาดเล็กในกรุงเทพมหานครสร้างบนที่ดินเดิมเนื้อที่ 29 ไร่ของกรมอุตุนิยมวิทยาริมถนนสุขุมวิทที่ย้ายออกไปอยู่ที่ถนนสุขุมวิท เขตบางนา โดยด้านข้างของสวนสาธารณะแห่งนี้ติดกับโรงแรมอิมพีเรียลควีนส์พาร์ค ห้างสรรพสินค้าเอ็มโพเรี่ยม กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ในสมัยรัฐบาล ฯพณฯ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ จัดสร้างขึ้นเนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีพระชนมพรรษาครบ 60 พรรษาในปีพ.ศ. 2535 ได้รับการออกแบบภูมิทัศน์โดยศาสตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ ภายในสวนสาธารณะแห่งนี้มีประติมากรรมที่งดงาม และเป็นชิ้นงานสำคัญของศิลปินระดับชาติที่ร่วมใจกันถวายเป็นการเทิดพระเกียรติฯ ตั้งประดับอยู่เป็นการถาวรถึง 12 ชิ้นงาน ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2550 อุทยานเบญจสิริได้ใช้เป็นที่ปราศรัยใหญ่ปิดการหาเสียงของพรรคประชาธิปัตย์ ในการเลือกตั้งในปลายปีเดียวกัน และในวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ใช้เป็นที่ปราศรัยใหญ่ปิดหาเสียงของนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551 และเป็นที่เปิดตัวและปิดท้ายการปราศรัยใหญ่หาเสียงของ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2556 และในวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2554 ใช้เป็นที่ปราศรัยใหญ่ของพรรคประชาธิปัตย์ ในการเลือกตั้งในกลางปีเดียวกัน และใช้เป็นที่ปราศรัยใหญ่ปิดท้ายการหาเสียงเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 ของ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ในวันที่ 1 มีนาคม ปีเดียวกัน.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและอุทยานเบญจสิริ · ดูเพิ่มเติม »

ผุสดี ตามไท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผุสดี ตามไท กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ และอดีตที่ปรึกษาผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน).

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและผุสดี ตามไท · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทย มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี แต่ในปัจจุบันหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีคำสั่งแต่งตั้งอัศวิน ขวัญเมือง เป็นผู้ว่าราชการคนปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป โดยกำหนดให้ดำรงตำแหน่งจนกว่าจะมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีคําสั่งเปลี่ยนแปลงเป็นประการอื่น.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จุติ ไกรฤกษ์

ติ ไกรฤกษ์ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลกหลายสมั.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและจุติ ไกรฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถิรชัย วุฒิธรรม

นายถิรชัย วุฒิธรรม เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน สังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน อดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและถิรชัย วุฒิธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม อ่อนเกตุพล

นายถนอม อ่อนเกตุพล อดีตที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร และโฆษกกรุงเทพมหานคร อดีตที่ปรึกษาและโฆษก สมัยผู้ว่าฯ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน อดีต ผู้อำนวยการสถานีวิทยุกรุงเทพมหานคร อดีตรองโฆษกกรุงเทพมหานคร อดีตเลขานุการรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี นายองอาจ คล้ามไพบูล.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและถนอม อ่อนเกตุพล · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4

นนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4 เป็นโครงการก่อสร้างถนนตัดใหม่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (ฝั่งธนบุรี) และจังหวัดนครปฐม โดยต่อขยายถนนพรานนก จากสามแยกไฟฉาย ไปบรรจบถนนพุทธมณฑล สาย 4 ระยะทาง 16.4 กิโลเมตร ชาวบ้านเรียกกันว่า "ถนนพระเทพ" หรือ "ถนนจรัญ-กาญจนา".

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4 · ดูเพิ่มเติม »

คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เป็นหนึ่งในสี่คณะที่ก่อตั้งพร้อมสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ หรือ นิด้า เมือปี 2509.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและคณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์)

ณะรัฐมนตรีเงา เริ่มมีการจัดตั้งในประเทศไทย เมื่อ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ผู้นำฝ่ายค้าน ได้ประกาศติดตามการทำงานของรัฐบาลผสมที่มีพรรคพลังประชาชนเป็นแกนนำ ในสมัยที่นายสมัคร สุนทรเวช และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย และได้มีการจัดตั้งคณะรัฐมนตรีเงาเป็นคณะที่ 2 ในช่วงรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและคณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์) · ดูเพิ่มเติม »

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้จัดตั้งขึ้นตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็นคณะตามประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 ให้เป็นหน่วยราชการระดับคณะ ซึ่งนับเป็นคณะที่ 5 ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และแต่งตั้งให้อาจารย์ ดร.สุขุม อัศเวศน์ เป็นคณบดีคนแรกของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยในปัจจุบันคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้แบ่งส่วนราชการเป็น 1 สำนักงานคณะ 3 ศูนย์ และ 4 ภาควิชา ได้แก่ ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่การเกษตร และภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและตุลาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

ต่อตระกูล ยมนาค

รศ.ดร.ต่อตระกูล ยมนาค รองศาสตราจารย์ ต่อตระกูล ยมนาค นายกสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เคยทำงานเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมักนิยมออกสื่อเพื่อวิพากษ์วิจารณ์เรื่องต่างๆ ในสังคม.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและต่อตระกูล ยมนาค · ดูเพิ่มเติม »

ประภัสร์ จงสงวน

ประภัสร์ จงสงวน อดีตผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทย อดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551 อดีตผู้ว่าการการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) 3 วาระ (พ.ศ. 2540-พ.ศ. 2551).

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและประภัสร์ จงสงวน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2547

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2547 ในประเทศไท.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและประเทศไทยใน พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

ปวีณา หงสกุล

นางปวีณา หงสกุล (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นักการเมืองสตรีชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครหลายสมัย เป็นที่รู้จักในบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์และผู้ดำเนินงานในนามมูลนิธิปวีณ.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและปวีณา หงสกุล · ดูเพิ่มเติม »

นวลพรรณ ล่ำซำ

นวลพรรณ ล่ำซำ กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช กงสุลกิตติมศักดิ์สาธารณรัฐลิทัวเนีย อดีตที่ปรึกษาประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นอดีตผู้ช่วยเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตที่ปรึกษาผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (อภิรักษ์ โกษะโยธิน) และกรรมการผู้จัดการบริษัท เมืองไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน) รวมถึงเป็นผู้จัดการฟุตบอลหญิงทีมชาติไทย นอกจากเป็นผู้บริหารระดับสูงในธุรกิจประกันภัยของตระกูล นวลพรรณยังเปิดกิจการของตัวเอง นำเข้าสินค้าแฟชั่นแบรนด์เนมหลายแบรนด์ ผ่านทางบริษัท วรรณมานี จำกัด และบริษัท ซังออนอเร่ (กรุงเทพ) จำกัด เริ่มจากแบรนด์แรก คือ แอร์เมส (Hermes) จนมีมากมายหลายแบรนด์ในปัจจุบัน เช่น เอ็มโพริโอ อาร์มานี (Emporio Armani), ทอดส์ (Tod's), Rodo, โคลเอ้ (Chole), Christofle และบลูมารีน (Blumarine) นอกจากนี้เมื่อปี..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและนวลพรรณ ล่ำซำ · ดูเพิ่มเติม »

แทนคุณ จิตต์อิสระ

แทนคุณ จิตต์อิสระ มีชื่อเดิมคือ เอกชัย บูรณผานิต (แซ่ผ่าง) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เป็นอาจารย์สอนภาษาจีน เป็นสุดยอดแฟนพันธุ์แท้เรื่องความสัมพันธ์ไทย-จีน ในปี2005 และได้รับเชิญให้เป็นพิธีกรในรายการเดียวกันนี้ ในปี 2007-2008 ภายหลังได้จัดตั้ง "สถาบันฮั่นอี้ หรือ โรงเรียนนวัตกรรมภาษาและปัญญามนุษย์" ในปี..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและแทนคุณ จิตต์อิสระ · ดูเพิ่มเติม »

โกวิทย์ ธารณา

นายโกวิทย์ ธารณา หรือชื่อที่รู้จักดีในฉายา วิทย์ บางแค แคร์ทุกคน แต่คนบางแค แคร์บางคน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและโกวิทย์ ธารณา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม

รงเรียนวัดเขมาภิรตาราม (Watkhemapirataram School) เป็นโรงเรียนรัฐบาล ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 74/11 หมู่ที่ 8 ถนนพิบูลสงคราม ตำบลสวนใหญ่ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี เปิดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนวัดเขมาภิรตารามเป็น 1 ใน 500 โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) และเป็นโรงเรียนรางวัลพระราชทานประจำปีพุทธศักราช 2536 และ 2553.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและโรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 (ขณะนั้นนับวันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ นับอย่างสากลถือเป็น พ.ศ. 2481) โดยมติของสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี ฯพณฯ ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล เป็นผู้อำนวยการท่านแรก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 227 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีอาณาบริเวณติดกับหลายคณะ ได้แก่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ นอกจากนี้ภายในพื้นที่เช่าของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษายังเป็นที่ตั้งของกลุ่มอาคารจุฬาวิชช์กับที่ตั้งของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

เชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์

ื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์ (18 มกราคม พ.ศ. 2552 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เป็นรายการที่เป็นรายงานผลการปฏิบัติงานของรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ โดยออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (เอ็นบีที) ทุกวันอาทิตย์ เวลา 09.00 - 10.00 น. โดยภายในรายการมีการส่ง SMS แสดงความคิดเห็นและตั้งข้อซักถาม และยังมีช่องทางในการสื่อสารกับนายกรัฐมนตรี คือ ทุกวันศุกร์ หน้า 2 ของหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ จะมีการตอบคำถามของท่านนายกรัฐมนตรีที่ประชาชนส่งคำถามเข้าม.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและเชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงยศ สุดลาภา

นายเกรียงยศ สุดลาภา อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (ถาวร เสนเนียม) และอดีตรองโฆษกกรุงเทพมหานคร ในสมัยนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและเกรียงยศ สุดลาภา · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์

Dr.Dan's 60th Birthday: 60 ปี คนดีมีพลัง ศาสตราจารย์ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (เกิด 9 กันยายน พ.ศ. 2498, ชื่อเล่น: แดน) หรือที่รู้จักกันในนาม ดร.แดน กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์สาธารณรัฐซิมบับเวประจำประเทศไทย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ อดีตอาจารย์หลายมหาวิทยาลัย เคยลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพ พ.ศ. 2551 ในหมายเลข 2 มีผลงานด้านการเขียนหนังสือมากมาย ในหลากหลายสาขา เช่น เศรษฐกิจ นโยบายการศึกษา การต่างประเทศ สังคม การเมือง การศึกษา ความสำเร็จ การดำเนินชีวิต โดยมีหนังสือมากกว่า 200 เล่ม และมีผลงานบทความตีพิมพ์ลงวารสารวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศเป็นประจำมากกว่า 500 เรื่อง และแสดงทัศนะต่างๆมากกว่า 4000 เรื่อง.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและเกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกียรติ สิทธีอมร

นายเกียรติ สิทธีอมร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตประธานผู้แทนการค้าไทย และคณะทำงานด้านเศรษฐกิจพรรคประชาธิปัตย์ อดีตประธานคณะกรรมการบริหาร หอการค้านานาชาติแห่งประเทศไทย เกิดวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2502 สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนอัสสัมชัญ ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโทด้านการต่างประเทศ จากมหาวิทยาลัยทัฟส์ และ ประกาศนียบัตรชั้นสูงด้านการบริหาร จาก Harvard Business School ได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย จากสถาบันพระปกเกล้.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและเกียรติ สิทธีอมร · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ นปช. ปะทะกับกลุ่มพันธมิตรฯ 2 กันยายน พ.ศ. 2551

หตุการณ์ นปก.ปะทะกับกลุ่มพันธมิตรฯ 2 กันยายน..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและเหตุการณ์ นปช. ปะทะกับกลุ่มพันธมิตรฯ 2 กันยายน พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549

หตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและเหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

29 สิงหาคม

วันที่ 29 สิงหาคม เป็นวันที่ 241 ของปี (วันที่ 242 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 124 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อภิรักษ์ โกษะโยธินและ29 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »