สารบัญ
130 ความสัมพันธ์: ชัยยง เอื้อวิริยานุกูลบัณฑิต เอื้ออาภรณ์พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)พระสิทธิการโกศล (เมธ ปญฺญาวโร)พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ)พระครูปริยัติกิจธำรง (สมหวัง อคฺคเสโน)พระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริพิจิตต รัตตกุลพจน์ สารสินพงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์พนักงานมหาวิทยาลัยไทยกฤษณพงศ์ กีรติกรกษมา วรวรรณ ณ อยุธยากำจร มนุญปิจุกิตติชัย ไตรรัตนศิริชัยกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37กนก โตสุรัตน์มหาวิทยาลัยรังสิตมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมามหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยลิเวอร์พูลมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยปาร์มามหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์มหาวิทยาลัยแมคกิลล์มหาวิทยาลัยโบโลญญามหาวิทยาลัยโรเจอร์ วิลเลียมส์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเดอรัมมหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟมุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ยัน ฮุสระพี สาคริกรัชตะ รัชตะนาวินรายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรางวัลศรีบูรพารางวัลครุฑทองคำวชิราวุธวิทยาลัยวิรุณ ตั้งเจริญ... ขยายดัชนี (80 มากกว่า) »
ชัยยง เอื้อวิริยานุกูล
นายชัยยง เอื้อวิริยานุกูล (19 มีนาคม พ.ศ. 2492 —) อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาคนแรก สมรสกับนางปราณี เอื้อวิริยานุกูล มีบุตร 2 คน คือ ดร.ขวัญชัย เอื้อวิริยานุกูล และนางสาวสุนิตา เอื้อวิริยานุกูล เริ่มต้นชีวิตราชการ เมื่อปีการศึกษา 2516 เป็นอาจารย์ประจำแผนกวิชาช่างไฟฟ้า คณะวิชาไฟฟ้า วิทยาเขตเทคนิคภาคพายัพ จังหวัดเชียงใหม.
ดู อธิการบดีและชัยยง เอื้อวิริยานุกูล
บัณฑิต เอื้ออาภรณ์
ตราจารย์ บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคนปัจจุบัน อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้แทนผู้บริหารและอดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บัณฑิตเป็นอธิการบดีคนที่ 2 ในวาระการดำรงตำแหน่งนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยของศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.
ดู อธิการบดีและบัณฑิต เอื้ออาภรณ์
พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)
ระพรหมบัณฑิต ศาสตราจารย์ ดร. นามเดิม ประยูร มีฤกษ์ ฉายา ธมฺมจิตฺโต เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองชั้นหิรัญบัฏ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยรูปปัจจุบัน เจ้าคณะภาค 2 และกรรมการมหาเถรสมาคม พระพรหมบัณฑิต เป็นพระนักวิชาการ นักบริหาร นักการศึกษา นักเทศน์และนักเขียน ผู้มีผลงานมากมายทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เป็นพระสงฆ์ไทยรูปแรกที่ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัย ได้รับรางวัลและดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากหลายสถาบัน และเป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาปรัชญา ในฐานะเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสได้บูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุมหาเจดีย์ของวัดจนได้รับรางวัลยอดเยี่ยม อันดับ 1 ด้านการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรรมจากองค์การยูเนสโก เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 5 สมัยได้ก่อสร้างสำนักงานใหญ่ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นประธานผู้ก่อตั้งสมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติและประธานผู้ก่อตั้งสภาสากลวันวิสาขบูชาโลกที่ได้รับฐานะเป็นองค์กรที่ปรึกษาพิเศษขององค์การสหประชาชาต.
ดู อธิการบดีและพระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)
พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
มหาอำมาตย์ตรี พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (12 มีนาคม พ.ศ. 2423 – 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491) นักการศึกษา ผู้บัญชาการ (อธิการบดี) คนแรกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (6 เมษายน พ.ศ.
ดู อธิการบดีและพระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
พระสิทธิการโกศล (เมธ ปญฺญาวโร)
ระสิทธิการโกศล (เมธ ปญฺญาวโร)ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์,อดีตรองเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ (มหานิกาย)และ เจ้าอาวาสวัดปราสาท อำเภอศีขรภูมิ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดพระราชทานสมณศักดิ์ตั้งเป็นพระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญ เมื่อวันที่ ๕ เดือนธันวาคม..
ดู อธิการบดีและพระสิทธิการโกศล (เมธ ปญฺญาวโร)
พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ)
ระธรรมโมลี นามเดิม ทองอยู่ พิศลืม ฉายา ญาณวิสุทฺโธ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมฝ่ายมหานิกาย ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 11 อดีตเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ เจ้าอาวาสวัดศาลาลอย รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ เป็นกรรมการสภาวิชาการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประเภทโดยตำแหน่งในระดับรองอธิการบดี และอดีตกรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ พิธีบำเพ็ญกุศลอายุวัฒนมงคล พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ) ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 11.
ดู อธิการบดีและพระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ)
พระครูปริยัติกิจธำรง (สมหวัง อคฺคเสโน)
ระครูปริยัติกิจธำรง (สมหวัง อคฺคเสโน) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งพระสังฆาธิการเป็นเจ้าอาวาสวัดกลางสุรินทร์,รองเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ ฝ่ายมหานิกาย และตำแหน่งอื่นๆอีกอาทิเช่น,ประธานกลุ่มโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา กลุ่มที่ ๑๑ รับผิดชอบในเขต ๕ จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดศรีสะเกษ,กรรมการสถานศึกษาโรงเรียนสุรวิทยาคาร ตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร.
ดู อธิการบดีและพระครูปริยัติกิจธำรง (สมหวัง อคฺคเสโน)
พระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์
ระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فؤاد الأول) (26 มีนาคม ค.ศ. 1868-28 เมษายน ค.ศ. 1936) สุลต่านและกษัตริย์อียิปต์และซูดาน, องค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ พระองค์เป็นกษัตริย์องค์ที่เก้าแห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี โดยพระองค์ครองราชย์เป็นสุลต่านแห่งอียิปต์และซูดานเมื่อ ค.ศ.
ดู อธิการบดีและพระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์
ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..
ดู อธิการบดีและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ
ตราจารย์พิเศษ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2452 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2536) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ และหม่อมจำรัส จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ทรงสำเร็จการศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์ และเริ่มเข้ารับราชการที่กระทรวงเกษตร และเป็นอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นอกจากนี้ พระองค์ยังมีความสามารถพิเศษทางด้านการประพันธ์คำร้องและทำนองเพลงอีกด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริประชวรด้วยโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจและถุงลมโป่งพองสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..
ดู อธิการบดีและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ
พิจิตต รัตตกุล
ตต รัตตกุล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 90/2557 อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพมหานคร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิร.
พจน์ สารสิน
น์ สารสิน (25 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 28 กันยายน พ.ศ. 2543) นายกรัฐมนตรีคนที่ 9 ของประเทศไทย นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทยที่เป็นพลเรือนในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แต่ภายหลังได้ลาออกเนื่องจากมีความเห็นขัดแย้งกับรัฐบาลเกี่ยวกับการรับรองรัฐบาลเบาได๋ แห่งเวียดนามใต้ และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริก.
พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์
ตราจารย์ ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมรสกับเจ้าสุภัทรา (สกุลเดิม ณ ลำพูน) อังกสิทธิ์ นัดดาในเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์สุดท้.ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ เป็นอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรั.
ดู อธิการบดีและพงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์
พนักงานมหาวิทยาลัยไทย
นักงานมหาวิทยาลัย หรือ พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา คือ บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญจ้างให้ปฏิบัติหน้าที่ราชการในสถาบันอุดมศึกษา โดยได้รับค่าจ้างหรือค่าตอบแทนจากเงินงบประมาณแผ่นดิน หรือเงินรายได้ของสถาบันอุดมศึกษ.
ดู อธิการบดีและพนักงานมหาวิทยาลัยไทย
กฤษณพงศ์ กีรติกร
กฤษณพงศ์ กีรติกร (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489-) ประธานกรรมการในคณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประธานกรรมการคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อดีตที่ปรึกษาโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) กรรมการกฤษฎีกา กรรมการในคณะกรรมการควบคุมมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
ดู อธิการบดีและกฤษณพงศ์ กีรติกร
กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา
ณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา กรรมการกฤษฎีกาอดีตเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อธิบดีกรมสามัญศึกษาคนสุดท้าย เลขาธิการคณะกรรมการการประถมศึกษา (กปช.) ที่ปรึกษาโครงการตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และตำแหน่งอื่นๆ อีกหลายตำแหน่งในกระทรวงศึกษาธิการ.
ดู อธิการบดีและกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา
กำจร มนุญปิจุ
ตราจารย์เกียรติคุณ นาวาตรี กำจร มนุญปิจุ ร.น.ราชบัณฑิต เกิดวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2469 ที่ตำบลบางหลวง อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี เป็นบุตรของ ขุนกัลยาณวิทย์ (เกิด มนุญปิจุ) อดีตศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี และนางกิม มนุญปิจุ สมรสกับนางวิภาวรรณ มนุญปิจุ มีบุตรชาย 1 คน คือ นายณัฐเสกข์ (กวิช) มนุญป.น.ต.กำจร มนุญปิจุ เป็นนักวิทยาศาสตร์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาอินทรีย์เคมี เป็นผู้ริเริ่มดำเนินการให้เกิดความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระหว่างประเทศไทยและประเทศออสเตรีย นับตั้งแต่ปี..
กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย
รองศาสตราจารย์ กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น คนที่ 10 เป็นศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ รุ่นที่ 11 เป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 11 และเป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยขอนแก่นคนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น ร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย หรือ ร.ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย เมื่อหลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
ดู อธิการบดีและกิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย
กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37
กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37 หรือ แม่โดมเกมส์ เป็นการแข่งกีฬาของนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยในครั้งนี้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขัน โดยจะจัดการแข่งขันขึ้นในระหว่างวันที่ 22 - 30 มกราคม พ.ศ.
ดู อธิการบดีและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37
กนก โตสุรัตน์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กนก โตสุรัตน์ (22 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 -) เป็นประธานคณะกรรมการจริยธรรมข้าราชการพลเรือนประจำจังหวัดศรีสะเกษที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ และอดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
มหาวิทยาลัยรังสิต
มหาวิทยาลัยรังสิต (Rangsit University; ชื่อย่อ: มรส. - RSU) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย ถูกจัดอยู่ในลำดับที่ 20 มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในประเทศ นอกจากนี้ยังถูกจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่ดีที่สุด ลำดับที่ 1 ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยรังสิต
มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ (Rajabhat Rajanagarindra University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดฉะเชิงเทรา จัดตั้งขึ้นเมื่อปี..
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (Uttaradit Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกและเพียงแห่งเดียวที่ตั้งอยู่ในจังหวัดอุตรดิตถ์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เลขที่ 340 ถนนสุรนารายณ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารีไปทางตำบลจอหอ ประมาณ 3 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 274 ไร่ 3 งาน 41 ตารางวา พื้นที่หลักอยู่ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จำนวน 174 ไร่ 3 งาน 41 ตารางวา และมีศูนย์ฝึกปฏิบัติงานด้านการเกษตรอีก 100 ไร่ อยู่ที่ตำบลโพธิ์กลาง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ติดกับสวนสัตว์ จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งอยู่ห่างจากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ประมาณ 15กิโลเมตร มีปรัชญาประจำมหาวิทยาลัยว.
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยรามคำแหง
มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล
มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล (University of Liverpool) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ในสหราชอาณาจักรที่มีเปิดสอนในระบบที่อิงฐานการเรียนการสอนในห้องเรียนและบนพื้นฐานของการทำวิจัย ตั้งอยู่ในเมืองลิเวอร์พูล ประเทศอังกฤษ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (ื่อย่อ: ม., STOU) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ "มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช" ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ.
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (อังกฤษ: Prince of Songkla University; อักษรย่อ: ม.อ.) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในภาคใต้ของประเทศไทย ตาม ก่อตั้งในปี พ.ศ.
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์
ห้องสมุดในมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยจอนส์ ฮอปกินส์ (Johns Hopkins University ตัวย่อ JHU) หรือเรียกอย่างย่อว่า ฮอปกินส์ เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในสหรัฐอเมริกา ริเริ่มก่อตั้งโดยประธานาธิบดี เดวิด คอยต์ กิลแมน ตั้งอยู่ที่เมืองบัลติมอร์ รัฐแมริแลนด์ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรี (อักษรย่อ คือ มธร.) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตั้งอยู่ที่ แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร บนพื้นที่100กว่าไร่ เปิดสอนในระดับปริญญาตรี,ปริญญาโท และปริญญาเอก คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และคณะบัณฑิตวิทยาลัย โดยบัณฑิตวิทยาลัยเปิดสอน 4 หลักสูตร คือ MBA, M.Ed.
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยปาร์มา
มหาวิทยาลัยปาร์มา (Università degli Studi di Parma; University of Parma) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ตั้งอยู่ที่เมืองปาร์มา ประเทศอิตาลี ปัจจุบันมีนักศึกษาประมาณ 30,000 คน มหาวิทยาลัยปาร์มา ประกอบด้วย 12 คณะ ได้แก.
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยปาร์มา
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ (อังกฤษ: Princess of Naradhiwas University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 77 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาสก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
มหาวิทยาลัยแมคกิลล์
มหาวิทยาลัยแมคกิลล์ (McGill University) เป็นมหาวิทยาลัยที่เน้นการวิจัย ตั้งอยู่ในมอนทรีออล รัฐควิเบก ประเทศแคนาดา เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศแคนาดา โดยก่อตั้งในปี ค.ศ.
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยแมคกิลล์
มหาวิทยาลัยโบโลญญา
มหาวิทยาลัยโบโลญญา (Alma Mater Studiorum Università di Bologna, UNIBO;University of Bologna) เป็นมหาวิทยาลัยที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ที่โบโลญญา ประเทศอิตาลี สำหรับวันก่อตั้งที่แท้จริงยังไม่แน่ชัด แต่เชื่อว่าก่อตั้งในปี..
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยโบโลญญา
มหาวิทยาลัยโรเจอร์ วิลเลียมส์
มหาวิทยาลัยโรเจอร์ วิลเลียมส์ (Roger Williams university) หรือเรียกย่อๆ ว่า RWU คือ มหาวิทยาลัยทางด้านศิลปศาสตร์ของอเมริกา (liberal arts university) ตั้งอยู่บนพื้นที่ 140 เอเคอร์ (0.57 ตารางกิโลเมตร ในเมืองบริสโทล (Bristol) รัฐโรดไอแลนด์ เหนืออ่าว Mt.
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยโรเจอร์ วิลเลียมส์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเดอรัม
มหาวิทยาลัยเดอรัม (University of Durham) เป็นมหาวิทยาลัยในเมืองเดอรัม ประเทศสหราชอาณาจักร เริ่มมีการเรียนการสอนและความพยายามก่อตั้งมหาวิทยาลัยตั้งแต่ในสมัย กษัตริย์เฮนรี่ที่ 8 ค.ศ.
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยเดอรัม
มหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ
มหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ (Case Western Reserve University หรือ CASE หรือ CWRU หรือ CASE WESTERN) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ที่เน้นทางด้านการวิจัย ตั้งอยู่ในเมืองคลีฟแลนด์ รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ.
ดู อธิการบดีและมหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ
มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์
ลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ (นามเดิม: มุนี มหาสันทนะ; 29 มีนาคม พ.ศ. 2436 - พ.ศ. 2528) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศคนแรกของกองทัพอากาศไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการสำนักนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ มีนามเดิมว่า มุนี มหาสันทนะ ศึกษาที่โรงเรียนราชวิทยาลัย สมัยสายสวลี จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ..
ดู อธิการบดีและมุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์
ยัน ฮุส
ัน ฮุส ยัน ฮุส (Jan Hus) หรือ จอห์น ฮัส (John Hus, John Huss; ประมาณ ค.ศ. 1369 – 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1415) เป็นนักปรัชญาและบาทหลวงชาวเช็ก ถือเป็นบุคคลแรก ๆ ที่มีแนวคิดในการปฏิรูปศาสน.
ระพี สาคริก
ตราจารย์ ระพี สาคริก (4 ธันวาคม พ.ศ. 2465 — 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561) ราษฎรอาวุโส นักวิจัย นักวิชาการเกษตรผู้บุกเบิกวงการกล้วยไม้ของประเทศไทยสู่สากล อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นอดีตนายกสภาสถาบันอาศรมศิลป.
รัชตะ รัชตะนาวิน
ตราจารย์ นายแพทย์ รัชตะ รัชตะนาวิน (13 สิงหาคม พ.ศ. 2493 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขและประธานกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล.
ดู อธิการบดีและรัชตะ รัชตะนาวิน
รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
150px รายชื่อศิษย์เก่า คณาจารย์ ที่มีชื่อเสียงจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม.
ดู อธิการบดีและรายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รายชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับธรรมศาสตร์ในที่นี้ได้รวบรวมและแยกแยะออกมาตามคณะหรือสถาบันที่คนผู้นั้นเกี่ยวข้อง ซึ่งมีดังต่อไปนี้.
ดู อธิการบดีและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.
ดู อธิการบดีและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รางวัลศรีบูรพา
รางวัลศรีบูรพา เป็นรางวัลที่มอบสำหรับศิลปิน นักคิดนักเขียน และนักหนังสือพิมพ์ ผู้มีผลงานอันทรงคุณค่ามีชีวิตที่เป็นแบบอย่าง เป็นกิจกรรมหนึ่งของ "กองทุนศรีบูรพา" ที่ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อรำลึกและเผยแพร่เกียรติประวัติของ กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือ ศรีบูรพา (31 มีนาคม พ.ศ.
รางวัลครุฑทองคำ
รางวัลครุฑทองคำ หรือรางวัลผู้บริหารราชการพลเรือนดีเด่น เป็นรางวัลที่สมาคมข้าราชการพลเรือนแห่งประเทศไทย มอบให้แก่ผู้บริหารราชการพลเรือน จำนวน 9 คน เพื่อประกาศเกียรติคุณบุคคลที่มีผลงานสร้างสรรค์ประโยชน์ให้แก่สังคมและระบบราชการ โดยเริ่มต้นโครงการในปี พ.ศ.
ดู อธิการบดีและรางวัลครุฑทองคำ
วชิราวุธวิทยาลัย
วชิราวุธวิทยาลัย เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้างโรงเรียนแก่กุลบุตรชาวไทยแทนการสร้างพระอารามซึ่งมีอยู่มากแล้วนั้น ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้มีพระบรมราชโองการให้รวมโรงเรียนมหาดเล็กหลวง กรุงเทพ และโรงเรียนราชวิทยาลัยเข้าด้วยกัน โดยให้นักเรียนย้ายมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพ พร้อมทั้งได้พระราชทานนามโรงเรียนขึ้นใหม่ว่า “วชิราวุธวิทยาลัย” เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนสืบต่อไป วชิราวุธวิทยาลัยมีตึกที่พักนักเรียน เรียกว่า "คณะ" เป็นเสมือนบ้านของนักเรียน แบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง คือ คณะเด็กโต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยม แบ่งออกเป็น ๖ คณะ คือ คณะผู้บังคับการ คณะดุสิต คณะจิตรดา คณะพญาไท คณะจงรักภักดี คณะศักดิ์ศรีมงคล ส่วนคณะเด็กเล็กสำหรับนักเรียนชั้นประถม แบ่งออกเป็น ๓ คณะ คือ คณะสนามจันทร์ คณะนันทอุทยาน และ คณะสราญรมย์ นอกจากนี้ ทางโรงเรียนยังส่งเสริมให้นักเรียนได้เล่นกีฬาต่าง ๆ เช่น รักบี้ฟุตบอล แบดมินตัน นอกจากนี้ ยังมีการจัดการแข่งขันรักบี้ประเพณีกับมาเลย์ คอลเลจ (Malay College Kuala Kangsar) จากประเทศมาเลเซีย เป็นประจำทุก ๆ ปี ปัจจุบัน ดำเนินการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตั้งอยู่ที่ ถนนราชวิถี แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.
ดู อธิการบดีและวชิราวุธวิทยาลัย
วิรุณ ตั้งเจริญ
ตราจารย์ ดร.วิรุณ ตั้งเจริญ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 -) นายกภามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (พ.ศ.
ดู อธิการบดีและวิรุณ ตั้งเจริญ
วิสา คัญทัพ
วิสา คัญทัพ อดีตผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงแรงงาน นักคิดนักเขียน กวี ศิลปินเพลงเพื่อชีวิต อิสระ อดีตเคยเป็น 1 ใน 9 นักศึกษาที่ต่อสู้เพื่อสิทธิเสรีภาพจนถูกลบชื่อออกจากมหาวิทยาลัยรามคำแหง เกิดการเดินขบวนครั้งใหญ่ในวันที่ 21-22 มิถุนายน พ.ศ.
วิจิตร ศรีสอ้าน
ตราจารย์พิเศษ วิจิตร ศรีสอ้าน (22 ธันวาคม พ.ศ. 2477 —) เกิดที่ตำบลสนามจันทร์ อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตปลัดทบวงมหาวิทยาลัย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อดีตรองประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ปัจจุบันศาสตราจารย์พิเศษ วิจิตร ศรีสอ้าน หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน ดำรงตำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี นายกสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และที่ปรึกษาสำนักงานรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา (สมศ.).
ดู อธิการบดีและวิจิตร ศรีสอ้าน
ศักรินทร์ ภูมิรัตน
รองศาสตราจารย์ ศักรินทร์ ภูมิรัตน ประธานกรรมการคณะกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ,ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 นักวิทยาศาสตร์ของประเทศไทยที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านไบโอแก๊ส, Transport Properties of Food Materials และ Algal Technology Research ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ร.ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน เป็นบุตรของศาสตราจารย์ อมร ภูมิรัตน และคุณหญิง ระเบียบ ภูมิรัตน.
ดู อธิการบดีและศักรินทร์ ภูมิรัตน
ศาลาพระเกี้ยว
ลาพระเกี้ยว เป็นอาคารเอนกประสงค์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สร้างในปี พ.ศ. 2508 ใช้เป็นสถานที่จัดกิจกรรมของมหาวิทยาลัยหลายอย่าง เช่น จุฬาฯวิชาการ ชั้นใต้ดินเป็นศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ลักษณะภายนอกของศาลาพระเกี้ยวเป็นสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ รูปทรงคล้ายพระเกี้ยว ในปี พ.ศ.
สภามหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัย เป็นคณะบุคคลคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัย จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ กฎหมาย ระเบียบ หรือตราสารที่จัดตั้งสถาบันอุดมศึกษานั้นๆ โดยสภามหาวิทยาลัยแต่ละแห่งจะมีองค์ประกอบ และบทบาทหน้าที่แตกต่างกันตามที่ได้กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติ กฎหมาย ระเบียบ หรือตราสารจัดตั้งสถาบัน โดยทั่วไปสภามหาวิทยาลัย จะมีหน้าที่ในการกำหนดนโยบาย วางระเบียบข้อบังคับ การพิจารณาจัดตั้งยุบเลิกหน่วยงานในมหาวิทยาลัย การพิจารณาให้ความเห็นชอบหลักสูตร การอนุมัติปริญญา การแต่งตั้งถอดถอนอธิการบดี รองอธิการบดี และผู้บริหาร และภารกิจอื่นๆ ตามที่มีกฎหมาย หรือระเบียบกำหนดไว้.
สภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chulalongkorn University Faculty Senate) เป็นหน่วยงานอิสระภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีบทบาทสำคัญต่อมหาวิทยาลัย คือทำหน้าที่เป็น ตัวแทนคณาจารย์เพื่อให้คำแนะนำ และประสานงาน ด้วยความร่วมมืออันดี กับฝ่ายบริหาร คณาจารย์ นิสิต ตลอดจนหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความ เข้าใจอันดีในการ ที่จะมุ่งมั่นสร้างสรรค์ ประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย โดยส่วนรวมอันจะ เป็นผลดีต่อสังคม และประเทศชาติ มีกำเนิดขึ้นจากพระปรีชาญาณของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก มีหน้าที่เป็น ที่ปรึกษาของอธิการบดี ในการที่จะบริหารงานของมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านวิชาการ มาตรฐานอาจารย์ กิจการนิสิต และเรื่องอื่น ๆ ตามแต่จะได้รับมอบหมาย เมื่อเริ่มเรียกว่า สภาศาสตราจารย์ และมีวิวัฒนาการเป็นลำดับ จนกระทั่งเป็นสภาคณาจารย์ สภาคณาจารย์มุ่งหวังที่จะมีบทบาทที่สำคัญต่อมหาวิทยาลัย โดยทำหน้าที่เป็นผู้แทนคณาจารย์ทั้งปวง เพื่อให้คำปรึกษา แนะนำ ตลอดจนประสานงาน ด้วยความร่วมมืออันดียิ่งกับฝ่ายบริหาร คณาจารย์ นิสิต ตลอดจนหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น สโมสรอาจารย์ และสมาคมนิสิตเก่าฯ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีในการที่จะมุ่งมั่น สร้างสรรค์ประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย โดยส่วนรวม อันจะเป็นผลดีต่อสังคมและประเทศชาติในที่สุด นอกจากการให้คำปรึกษา และข้อเสนอแนะแก่อธิการบดีแล้ว มหาวิทยาลัยยังให้สภาคณาจารย์ส่งผู้แทนเข้าร่วมเป็นกรรมการในคณะกรรมการต่างๆ จนถึงระดับสภามหาวิทยาลัย ซึ่งพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้กำหนดให้ประธานสภาคณาจารย์เป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัยโดยตำแหน่งด้วย พระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฉบับปัจจุบัน (พ.ศ.
ดู อธิการบดีและสภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549
นิติบัญญัติแห่งชาต..
ดู อธิการบดีและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์
ตราจารย์ สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ (17 เมษายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์นายกสภามหาวิทยาลัย ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง อดีตอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย และอดีตเลขาธิการพรรคไท เมื่อปี พ.ศ.
ดู อธิการบดีและสมบัติ ธำรงธัญวงศ์
สมพล พงศ์ไทย
ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์สมพล พงศ์ไทย (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2492 —) เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยบูรพา ซึ่งได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 31 พฤษภาคม..
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล
มศักดิ์ เจียมธีรสกุล เป็นนักประวัติศาสตร์ชาวไทยที่มีความสนใจด้านประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัยโดยเฉพาะประวัติศาสตร์ไทยยุคใกล้ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.
ดู อธิการบดีและสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล
สมคิด เลิศไพฑูรย์
ตราจารย์ สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดึตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และศาสตราจารย์ประจำภาควิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทั้งยังเคยเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญและเลขานุการคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเมื่อ..
ดู อธิการบดีและสมคิด เลิศไพฑูรย์
สล้าง บุนนาค
ล้าง บุนนาค พลตำรวจเอก สล้าง บุนนาค (5 มีนาคม พ.ศ. 2480 — 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561) เกิดที่ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี อดีตรองอธิบดีกรมตำรวจ เป็นบุตรของหลวงพินิตพาหนะเวทย์ (พิง) มารดาชื่อ ทองอยู่ (สกุลเดิม ลิมปิทีป) สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจ และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รับราชการในกรมตำรวจ (สำนักงานตำรวจแห่งชาติในปัจจุบัน) ตำแหน่งที่สำคัญได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธร 12 ผู้บัญชาการศึกษา ผู้ช่วยอธิบดีตำรวจ และรองอธิบดีกรมตำรวจ ฝ่ายป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมพิเศษ ตามลำดับ ปัจจุบันเป็นสมาชิกวุฒิสภา ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก มหาวชิรมงกุฏ และเหรียญจักรพรรดิมาลา พลตำรวจเอกสล้าง มีบุตรกับภรรยาชื่อ สุพรรณวดี (สกุลเดิม ชุมดวง) 3 คน ได้แก่ วันจักร.ต.ท.พลจักร แล.ต.ท.
สัญญา ธรรมศักดิ์
ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.
ดู อธิการบดีและสัญญา ธรรมศักดิ์
สิทธิชัย โภไคยอุดม
ตราจารย์ สิทธิชัย โภไคยอุดม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ซึ่งเข้ารับตำแหน่งโดยการแต่งตั้งของคณะรัฐประหาร ตั้งแต่วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.
ดู อธิการบดีและสิทธิชัย โภไคยอุดม
สุชาดา กีระนันทน์
ตราจารย์กิตติคุณ คุณหญิง สุชาดา กีระนันทน์ (15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 —) เป็นอดีตนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนายกสภาฯ หญิงคนแรกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายกสมาคมสถิติแห่งประเทศไทย, และอดีตอธิการบดีและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหญิงคนแรก.
ดู อธิการบดีและสุชาดา กีระนันทน์
สุรพล นิติไกรพจน์
ตราจารย์ สุรพล นิติไกรพจน์ นายกสภามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชกรรมการในคณะกรรมการควบคุมมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประธานกรรมการ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด วิสาหกิจกรุงเทพมหานคร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการสามัญองค์กรอิสระ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญปฏิรูปการเมือง สภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ.
ดู อธิการบดีและสุรพล นิติไกรพจน์
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (สพบ.) (National Institute of Development Administration) หรือ ที่นิยมเรียกกันว่า นิด้า (NIDA) เป็นสถาบันการศึกษาชั้นสูงของรัฐ เปิดสอนเฉพาะระดับมหาบัณฑิต (ปริญญาโท) และดุษฎีบัณฑิต (ปริญญาเอก) และถือเป็นสถาบันการศึกษาที่เปิดการสอนหลักสูตร MBA เป็นแห่งแรกในประเทศไทย โดยคณะบริหารธุรกิจของนิด้าได้รับการจัดอยู่ในอันดับต้นของทวีปเอเชียอยู่สม่ำเสมอจากสื่อชั้นนำระดับนานาชาติ ประกอบกับเป็นสถาบันที่มีอัตราส่วนอาจารย์ระดับปริญญาเอกต่อจำนวนนักศึกษาที่สูงที่สุดในประเทศไทย และสัดส่วนอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการสูงที่สุดในประเทศไทย รวมไปถึงยังได้รับคะแนนการประเมินการดำเนินงานจากหลากหลายองค์กรในระดับสูงที่สุดในประเทศไทย บุคคลที่เกี่ยวข้องกับสถาบันรวมถึงคณาจารย์และศิษย์เก่ามีหลากหลาย ซึ่งรวมถึงบุคคลสำคัญในด้านการเมืองการปกครองและภาคธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นนายกรัฐมนตรี, รองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีประจำกระทรวงต่างๆ, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ, สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ และข้าราชการระดับสูง รวมถึงเจ้าของธุรกิจขนาดใหญ่ ของประเทศไท.
ดู อธิการบดีและสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์
ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..
ดู อธิการบดีและสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์
หม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่
หม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่ (พ.ศ. 2456-พ.ศ. 2541) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในสมัยของจอมพลถนอม กิตติขจร.
ดู อธิการบดีและหม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่
หม่อมหลวงชูชาติ กำภู
หม่อมหลวงชูชาติ กำภู (4 มกราคม พ.ศ. 2448-13 เมษายน พ.ศ. 2512) ผู้ก่อตั้งโรงเรียนชลประทานวิทยา และวิทยาลัยการชลประทาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีจนถึงแก่อนิจกรรมในขณะดำรงตำแหน่ง ในวันคล้ายวันเกิดของหม่อมหลวงชูชาติ โรงเรียนชลประทานวิทยาและวิทยาลัยการชลประทานได้กำหนดให้วันที่ 4 มกราคมของทุกปี เป็นวันงานพิธีไหว้ครู เพื่อระลึกถึงพระคุณของครู และพระคุณของหม่อมหลวงชูชาติ ผู้ก่อตั้งโรงเรียน.
ดู อธิการบดีและหม่อมหลวงชูชาติ กำภู
หม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุล
ตราจารย์ หม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุล (16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2435 — 5 กันยายน พ.ศ. 2492) ประสูติเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2435 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดากับหม่อมเอม ในปีที่ประสูตินั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงฉลองสิริราชสมบัติครบ 25 ปีสัจธรรม.
ดู อธิการบดีและหม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุล
หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล
ตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 — 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) เป็นนักประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีชาวไทย ทรงเป็นบุคคลคนแรกที่พบทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ ปราสาทพนมรุ้ง อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ในสถาบันศิลปะแห่งชิคาโก สหรัฐอเมริกา จนมีการทวงทับหลังชิ้นกลับคืนสู่ประเทศไทย ทรงเป็นหนึ่งในบุคคลไทยที่ทรงมีคุณูปการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีไท.
ดู อธิการบดีและหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล
หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกโดยย่อว่า หอประชุมจุฬาฯ เป็นหอประชุมใหญ่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีความเป็นมาคู่กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาอย่างยาวนาน อีกทั้งยังมีเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์เกิดขึ้นที่อาคารแห่งนี้หลายเหตุการณ์ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร หอประชุมจุฬาฯ เป็นสิ่งปลูกสร้างที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของภูมิทัศน์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้เกิดการปรับภูมิทัศน์โดยรอบ เช่น การขุดสระน้ำด้านหน้าประตูใหญ่ ตัดถนนรอบสนามรักบี้และสร้างลานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า จนกระทั่งในปี พ.ศ.
ดู อธิการบดีและหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อรุณ สรเทศน์
ตราจารย์ อรุณ สรเทศน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
อะซีม เพรมจี
อะซีม ฮะชีม เพรมจี (Azim Hashim Premji เกิดวันที่ 24 กรกฎาคม 2488) เป็นนักธุรกิจใหญ่ นักลงทุน และนักการกุศล ผู้เป็นประธานบริษัทวิโปรจำกัด (Wipro Limited) ผู้รู้จักกันว่าเป็นเจ้าพ่ออุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศอินเดีย เป็นผู้นำบริษัทที่ขยายธุรกิจเป็นเวลาสี่ทศวรรษจนกลายเป็นบริษัทชั้นนำของโลกบริษัทหนึ่งในอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ในปี 2553 นิตยสารเอเชียวีกจัดเขาให้เป็นชายที่มีอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในโลกในจำนวน 20 คน และนิตยสารไทม์ได้จัดให้เขาเป็นคนที่มีอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในโลกในจำนวน 100 คนในปี 2547 และ 2554 เพรมจีเป็นเจ้าของหุ้น 79.45% ของบริษัทวิโปร และเป็นเจ้าของกองทุนรวมตราสารแห่งทุน (private equity fund) คือ PremjiInvest ซึ่งบริหารจัดการทรัพย์สมบัติส่วนตัวมีค่า 2,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2556 เขาได้เซ็นสัญญาว่าจะให้ทรัพย์สินส่วนตัวโดยมากกับองค์กรการกุศล แล้วต่อมาจึงบริจาคหุ้นบริษัทมีค่า 2,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐให้กับทรัสต์ที่บริหารกองทุนของมูลนิธิอะซีมเพรมจี ซึ่งเป็นองค์กรการกุศลที่ให้ความสนใจในเรื่องการศึกษา การบริจาคทรัพย์ครั้งนี้ได้เพิ่มจำนวนทรัพย์ที่เขาบริจาคแล้วทั้งหมดเป็น 4,400 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 131,000 ล้านบาทในปี 2556).
อัจฉรา ภาณุรัตน์
รองศาสตราจารย์ ดร.
ดู อธิการบดีและอัจฉรา ภาณุรัตน์
อุดม คชินทร
ตราจารย์คลินิก นายแพทย์ อุดม คชินทร (17 สิงหาคม พ.ศ. 2497 -) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล อดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล.
อดัม สมิธ
อดัม สมิธ (Adam Smith) นักปรัชญาศีลธรรม และ นักเศรษฐศาสตร์การเมืองผู้บุกเบิกชาวสกอตแลนด์ อดัม สมิธ เป็นผู้มีส่วนสำคัญในการกำหนดแนวคิดเศรษฐศาสตร์แนวตลาดเสรี เป็นบุคคลสำคัญในขบวนการที่เป็นที่รู้จักในชื่อว่า "ยุคสว่างของสกอตแลนด์" (Scottish Enlightenment) โดยเป็นที่รู้จักในฐานะผู้แต่งศาสตรนิพนธ์2 เรื่องคือ ทฤษฎีว่าด้วยศีลธรรมเร้าอารมณ์ (พ.ศ.
จรัส สุวรรณเวลา
ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ จรัส สุวรรณเวลา เป็นข้าราชการชาวไทย ประธานกรรมการคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภาและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู อธิการบดีและจรัส สุวรรณเวลา
จังหวัดตรัง
ตรัง เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย ตรังหรือเมืองทับเที่ยงเป็นจังหวัดท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของภาคใต้.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.
ดู อธิการบดีและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตรบัณฑิต
รรมศาสตรบัณฑิต เป็นชื่อหลักสูตรการศึกษา ของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (ม.ธ.ก.) ซึ่งเปิดเป็นตลาดวิชา (ไม่มีการสอบเข้า) ผู้สำเร็จหลักสูตรนี้ จะได้รับปริญญาเรียกว่า ปริญญาธรรมศาสตรบัณฑิต (ธ.บ.) หลักสูตรนี้เปิดสอนระหว่าง พ.ศ.
ดู อธิการบดีและธรรมศาสตรบัณฑิต
ธัชชัย สุมิตร
รองศาสตราจารย์ ธัชชัย สุมิตร อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประธานกรรมการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.).
ธนาคารเอเชีย
นาคารเอเชีย (Bank of Asia) เป็นธนาคารในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2482 มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจไทย ใช้ชื่อว่า ธนาคารแห่งเอเชียเพื่ออุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม โดยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ อดีตนายกรัฐมนตรี และผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ต่อมาภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น "ธนาคารเอเชีย" (BOA) จดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์ในปี พ.ศ.
ถนอม กิตติขจร
อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ.
ถนนปรีดี พนมยงค์ (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต)
ถนนปรีดี พนมยงค์ (Thanon Pridi Banomyong) เป็นชื่อถนนสายหนึ่งภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ช่วงระหว่าง ประตูพหลโยธิน 3 และ ถนนตลาดวิชา ทางมหาวิทยาลัยได้ตั้งชื่อถนนสายที่ขนานไปกับถนนป๋วย อึ๊งภากรณ์ และ ถนนสัญญา ธรรมศักดิ์ ว่า "ถนนปรีดี พนมยงค์" เพื่อเป็นเกียรติแก่นายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส, ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 8, นายกรัฐมนตรีคนที่ 7, หัวหน้าขบวนการเสรีไทย, และผู้นำพลเรือนในคณะราษฎร ในฐานะที่ท่านเป็นผู้ริเริ่มก่อตั้ง และผู้ประศาสน์การ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง หมวดหมู่:ถนนในจังหวัดปทุมธานี.
ดู อธิการบดีและถนนปรีดี พนมยงค์ (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต)
ทองอินทร์ วงศ์โสธร
รองศาสตราจารย์ ดร.ทองอินทร์ วงศ์โสธร อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ.
ดู อธิการบดีและทองอินทร์ วงศ์โสธร
ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา คือ ข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ราชการในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ยกเว้นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มิใช่ส่วนราชการ (สถาบันอุดมศึกษานอกระบบ).
ดู อธิการบดีและข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
ณัฐ ภมรประวัติ
ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ณัฐ ภมรประวัติ (29 พฤศจิกายน 2471 – 16 กุมภาพันธ์ 2547) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล อดีตกรรมการมูลนิธิจุฬาภรณ์ ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นประจำปี พ.ศ.
ครู
รู คือ ผู้ที่มีความสามารถให้คำแนะนำ เพื่อให้เกิดประโยชน์ทางการเรียน สำหรับนักเรียน หรือ นักศึกษาในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ทั้งของรัฐและเอกชน มีหน้าที่ หรือมีอาชีพในการสอนกับวิชาความรู้ หลักการคิดการอ่าน รวมถึงการปฏิบัติและแนวทางในการทำงาน โดยวิธีในการสอนจะแตกต่างกันออกไปโดยคำนึงถึงพื้นฐานความรู้ ความสามารถ และเป้าหมายของนักเรียนแต่ละคน และนอกจากการสอนแล้วครูยังเป็นผู้ยกระดับวิญญาณมนุษย์ ให้รู้จักผิดชอบชั่วดี สอนในคุณงามความดีเพื่อเป็นแม่แบบให้เด็กได้ปฏิบัติตามทั้งต่อหน้าและลับหลัง คำว่า "ครู" มาจากศัพท์ภาษาสันสกฤต "คุรุ" และภาษาบาลี "ครุ, คุรุ".
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Political Science, Thammasat University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ จัดเป็น 1 ใน 4 คณะวิชาก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นคณะวิชาลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลั.
ดู อธิการบดีและคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Political Science, Chulalongkorn University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ถือได้ว่าเป็นคณะวิชาที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ เป็นคณะรัฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดทำการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก อีกทั้งยังเป็นคณะที่ได้รับการเลือกเข้าศึกษาจากผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดจากการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีด้วยระบบ Admission ถึง 4 ปีซ้อน (2553 - 2556).
ดู อธิการบดีและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะนิติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.
ดู อธิการบดีและคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นหนึ่งในสี่ของมหาวิทยาลัยภายหลังที่ได้ยกเลิกระบบการสอนแบบธรรมศาสตร์บัณฑิต และนับเป็นคณะเศรษฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไท.
ดู อธิการบดีและคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ตึกโดม
ตึกโดม หรือ แม่โดม (ชื่อที่นิยมเรียกอย่างเคารพของบุคคลภายในมหาวิทยาลัย) แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือชื่ออย่างเป็นทางการเดิม อาคารโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอาคารทรงโดมยอดแหลม วางซ้อนตัวกัน 2 ชั้น ได้รับการออกแบบโดย นายจิตรเสน (หมิว) อภัยวงศ์ ด้วยการเชื่อมต่ออาคารทั้ง 4 หลัง ที่เป็นของกองพันทหารราบที่ 4 เดิม เข้าเป็นตึกเดียวกัน โดยจุดเชื่อมตรงกลางระหว่างอาคารที่ 2 และ 3 ได้ออกแบบให้มีลักษณะโดนเด่น ซึ่งศาสตราจารย์ ดร.
ประภาศน์ อวยชัย
ตราจารย์ ประภาศน์ อวยชัย (18 ธันวาคม พ.ศ. 2467 - 10 มิถุนายน พ.ศ. 2560) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาต.
ดู อธิการบดีและประภาศน์ อวยชัย
ประภาส จารุเสถียร
อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู อธิการบดีและประภาส จารุเสถียร
ประสาท สืบค้า
ตราจารย์ ดร.ประสาท สืบค้า (เกิดวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493) ที่บ้านรังกาใหญ่ ตำบลรังกาใหญ่ อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ได้รับการศึกษาชั้นต้นจากโรงเรียนพิมายสามัคคี 1.
ประธานศาลสูงสุดสหรัฐ
ประธานศาลสูงสุดสหรัฐ (Chief Justice of the United States) เป็นประมุขแห่งศาลสหรัฐทั้งปวง และเป็นประมุขของศาลสูงสุดสหรัฐ (Supreme Court of the United States) โดยเป็นหนึ่งในตุลาการศาลสูงสุดเก้าคน แปดคนที่เหลือเรียก ตุลาการสมทบในศาลสูงสุดสหรัฐ (Associate Justice of the Supreme Court of the United States) ประธานศาลสูงสุดเป็นข้าราชการตุลาการชั้นสูงที่สุดในประเทศ กับทั้งปฏิบัติหน้าที่เป็นประธานกรรมการตุลาการ (chief administrative officer) และแต่งตั้งเลขาธิการศาลสหรัฐ (director of the Administrative Office of the United States Courts) ประธานศาลสูงสุดยังเป็นโฆษกสำหรับองค์กรตุลาการของประเทศอีกด้วย ประธานศาลสูงสุดอำนวยกิจการทั้งปวงของศาลสูงสุด เขาจะนั่งเป็นประธานในการพิจารณาคดีทั้งมวลของศาลสูงสุด โดยเฉพาะในการแถลงการณ์ด้วยวาจา และเมื่อศาลสูงสุดจะทำความเห็นในการวินิจฉัยคดี ถ้าเขาอยู่เสียงข้างมาก เขาสามารถกำหนดให้ตุลาการคนใดทำคำพิพากษากลางขึ้น เขายังกำหนดระเบียบวาระอันสำคัญในการประชุมของศาลสูงสุดด้วย นอกจากนี้ เมื่อวุฒิสภาดำเนินคดีอาญาต่อประธานาธิบดี ซึ่งเคยมีมาแล้วสองคราในหน้าประวัติศาสตร์ เขาจะเป็นประธานในการพิจารณาคดี ปัจจุบัน เขายังมีหน้าที่อันตกผลึกมาทางประเพณีอีก คือ เป็นประธานในพิธีให้สัตย์ปฏิญาณเข้ารับตำแหน่งของประธานาธิบดี จอห์น เจย์ (John Jay) เป็นประธานศาลสูงสุดคนแรก และ จอห์น จี.
ดู อธิการบดีและประธานศาลสูงสุดสหรัฐ
ประทีป ม. โกมลมาศ
ราดา ประทีป มาร์ติน โกมลมาศ เป็นนักบวชคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้มีคุณธรรม อุทิศตนทำงานด้านการบริหารการศึกษา จนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาต.
ดู อธิการบดีและประทีป ม. โกมลมาศ
ประดิษฐ์ เจริญไทยทวี
ตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ ประดิษฐ์ เจริญไทยทวี หรือมักเรียกกันว่า หมอหลวง (5 ตุลาคม พ.ศ. 2475 - 20 กันยายน พ.ศ.
ดู อธิการบดีและประดิษฐ์ เจริญไทยทวี
ปรัชญา เวสารัชช์
ตราจารย์ ดร.ปรัชญา เวสารัชช์ เกิดเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2488 เป็นอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และอดีตประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.).
ดู อธิการบดีและปรัชญา เวสารัชช์
ปราณี สังขะตะวรรธน์
รองศาสตราจารย์ ปราณี สังขะตะวรรธน์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นอธิการบดีหญิงคนแรกของ ม.
ดู อธิการบดีและปราณี สังขะตะวรรธน์
ปริญญา จินดาประเสริฐ
ตราจารย์ ปริญญา จินดาประเสริฐ เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น คนที่ 8 โดยภายหลังจากพันวาระการดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่นแล้วนั้น ได้รับเลือกให้เป็นประธานกรรมการรถไฟ ในระหว่าง..
ดู อธิการบดีและปริญญา จินดาประเสริฐ
ปรีดี พนมยงค์
ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..
ปรีดี เกษมทรัพย์
ตราจารย์ ปรีดี เกษมทรัพย์ นักกฎหมายผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายแพ่ง และนิติปรัชญา อดีตสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตผู้ก่อตั้งและอดีตอธิการวิทยสถานแห่งวัฒนธรรมตะวันออก อดีตรองประธานสหพันธ์คีตาอาศรมแห่งโลก และอดีตประธานคีตาอาศรมแห่งประเทศไทย ท่านอาจารย์ปรีดีถือว่าเป็นปรมาจารย์ในแวดวงนิติศาสตร์ เป็นผู้คิดค้นทฤษฎีกฎหมายสามชั้น และผู้ริเริ่มให้บรรยายวิชากฎหมายแพ่ง นิติปรัชญา ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย และหลักวิชาชีพนักกฎหมาย ขึ้นในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นแห่งแรกของประเทศ ปัจจุบันท่านเป็นประธานกิติมศักดิ์มูลนิธิปรีดี เกษมทรัพย์ ที่ลูกศิษย์ลูกหาร่วมกันจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นมูลนิธิเพื่อให้การสนับสนุนด้านวิชานิติศาตร์ในประเทศไท.
ดู อธิการบดีและปรีดี เกษมทรัพย์
นริศ ชัยสูตร
รองศาสตราจารย์ นริศ ชัยสูตร (8 มิถุนายน พ.ศ. 2498 -) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. 2541-2547) อดีตรองปลัดกระทรวงการคลัง อดีตผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ปัจจุบัน อธิบดีกรมธนารักษ.
นรนิติ เศรษฐบุตร
ตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร (อ่านว่า นอ-ระ-นิด) นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ตั้งแต่ พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจุบัน) และศาสตราจารย์พิเศษ สาขาวิชารัฐศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า กรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
ดู อธิการบดีและนรนิติ เศรษฐบุตร
นำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์
รองศาสตราจารย์ นำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (2 สมัย) อดีตอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ที่ดำรงตำแหน่งเป็นคนสุดท้ายก่อนได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 9 แห่ง ในปี..
ดู อธิการบดีและนำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์
นิเวศน์ นันทจิต
ตราจารย์คลินิก นายแพทย์ นิเวศน์ นันทจิต อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และประธานมูลนิธิโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ (สวนดอก) และได้รับคัดเลือกเป็นนักศึกษาเก่าดีเด่นสาขาบริหารองค์กรการศึกษาจากทางมหาวิทยาลัย ร.น.นิเวศน์ นันทจิตได้มีการผลักดันให้เชียงใหม่เป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ (Medical Hub) โดยความร่วมมือกับทางไอบีเอ็มตั้งแต่ปี 2553 ในปี..
ดู อธิการบดีและนิเวศน์ นันทจิต
นงเยาว์ ชัยเสรี
ตราจารย์ คุณหญิง นงเยาว์ ชัยเสรี อดีตกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลั.
ดู อธิการบดีและนงเยาว์ ชัยเสรี
แอลเลอร์ เอลลิส
ตราจารย์อุปการคุณ นายแพทย์ แอลเลอร์ กัสติน เอลลิส (Aller Gustin Ellis; A.G. Ellis) (พ.ศ. 2411 - 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496) เป็นแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน รับราชการในไทยในสัญญากับรัฐบาลไทยผ่านมูลนิธิร็อกกีเฟลเลอร์โดยเป็นอาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นคนที่สามในช่วงวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ.
ดู อธิการบดีและแอลเลอร์ เอลลิส
แถบ นีละนิธิ
ตราจารย์อุปการคุณ แถบ นีละนิธิ (1 กรกฎาคม 2450 - 10 สิงหาคม 2523) อดีตราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน, อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และอดีตคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (อักษรย่อ: ส.ก./S.K.) เป็นโรงเรียนชายล้วนในระดับชั้น มัธยมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 88 ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 7 หลัง ห้องเรียนทั้งหมด 78 ห้อง นอกจากนี้โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยยังโดดเด่นในเรื่องคุณภาพมาตรฐานของศิษย์เก่าที่จบไปโดยเฉพาะด้านวิชาการ ภาษา และความเป็นผู้นำ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็น 1 ในกลุ่มโรงเรียนจตุรมิตรสามัคคี ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมของทั้ง 4 โรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้าภาพในทุกๆ 2 ปี นอกจากการแข่งขันฟุตบอล ยังมี การแปรอักษร ของทั้ง 4 โรงเรียน ซึ่งเป็นอีกสัญลักษณ์สำคัญของงาน โดยกีฬาจตุรมิตรสามัคคีจะจัดขึ้นในทุกๆ 4 ปี ที่ สนามศุภชลาศัย นอกจากนี้ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ยังมีงานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ และงานชุมนุมลูกเสือสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนใน เครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นประจำทุกปี โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้.
ดู อธิการบดีและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย
รงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย ตั้งอยู่บนเลขที่ 76 ถนนสารสิทธิ์ฯ ตำบลบ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เป็นโรงเรียนเอกชนขนาดใหญ่ประเภทสามัญศึกษาในเครือคณะซาเลเซียนของคุณพ่อบอสโก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับใบอนุญาตจัดตั้งเมื่อ พ.ศ.
ดู อธิการบดีและโรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย
โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต
รงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต หรือ สาธิตรังสิต เป็นโรงเรียนสองภาษาในเครือสาธิตแห่งแรกของประเทศไทยที่มีระบบ IB ก่อตั้งขึ้นโดย ดร.
ดู อธิการบดีและโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต
โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา
รงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา เป็นโรงเรียนสหศึกษาให้การศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เป็นห้องปฏิบัติการฝึกหัดครู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน.
ดู อธิการบดีและโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.
ดู อธิการบดีและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
โรแบร์โต เบลลาร์มีโน
นักบุญโรแบร์โต เบลลาร์มีโน (San Roberto Bellarmino; 4 ตุลาคม ค.ศ. 1542 – 17 กันยายน ค.ศ. 1621) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกคณะเยสุอิตชาวอิตาลี ได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระคาร์ดินัลและอาร์ชบิชอปแห่งกาปัว เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการปฏิรูปคาทอลิก และตอบโต้นิกายโปรเตสแตนต์ เช่น ลูเทอแรน และลัทธิคาลวิน เพื่อปกป้องนิกายคาทอลิก ได้แต่งหนังสือเกี่ยวกับคำสอนคาทอลิกซึ่งยังคงใช้มาจนทุกวันนี้ ต่อมาท่านจึงได้รับยกย่องให้เป็นนักปราชญ์แห่งคริสตจักร.
ดู อธิการบดีและโรแบร์โต เบลลาร์มีโน
โจเซฟ พูลิตเซอร์
ซพ พูลิตเซอร์ โจเซฟ พูลิตเซอร์ (Joseph Pulitzer; 10 เมษายน พ.ศ. 2390 - 29 ตุลาคม พ.ศ. 2454) ผู้พิมพ์โฆษณาชาวฮังการี-อเมริกันผู้ได้รับการยกย่องหลังการเสียชีวิตว่าเป็นผู้ก่อตั้ง "รางวัลพูลิตเซอร์" (Pulitzer Prize) ร่วมกับวิลเลียม แรนดอฟ เฮิร์ส สำหรับการเป็นต้นตอของหนังสือพิมพ์แบบเยลโลว์ หรือ หนังสือพิมพ์ที่ตีข่าวตื่นเต้นเกินจริง.
ดู อธิการบดีและโจเซฟ พูลิตเซอร์
เพลงชาติสาธารณรัฐเขมร
ลงชาติสาธารณรัฐเขมร (ភ្លេងជាតិដំណើរសាធារណរដ្ឋខ្មែរ เภฺลงชาติฎํเณิรสาธารณรฎฺฐแขฺมร) เป็นเพลงชาติของประเทศกัมพูชาที่ใช้อยู่ในสมัยปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐ ในชื่อ "สาธารณรัฐเขมร" ภายใต้การนำของพลเอกลอน นอล ตั้งแต่ พ.ศ.
ดู อธิการบดีและเพลงชาติสาธารณรัฐเขมร
เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม
ตราจารย์เกียรติคุณ เกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม (11 กันยายน พ.ศ. 2480) ราชบัณฑิต และนายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, อดีตคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ.เกริกเกียรติ ได้ชื่อว่าเป็นคนตรงไปตรงมา ไม่มีเบื้องหน้าเบื้องหลัง ทั้งยังยึดมั่นในความเป็นนักวิชาการ ไม่รับตำแหน่งทางการเมืองใดๆ เช่นเดียวกับศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ผู้เป็นที่เคารพ ในอดีตได้เคยปฏิเสธการดำรงตำแหน่งในคณะรัฐมนตรี อาทิรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย รวมทั้งคำชักชวนร่วมงานการเมืองอื่น.
ดู อธิการบดีและเกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม
เกษม วัฒนชัย
ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย องคมนตรี,ประธานคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช, นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล นายกสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ในอดีตได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร สมรสกับคุณหญิง รัชนีวรรณ วัฒนชั.
เกษม สุวรรณกุล
ตราจารย์กิตติคุณ เกษม สุวรรณกุล กรรมการกฤษฎีกา เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.
เมคีกาลี
มคีกาลี (Mexicali) เป็นเมืองหลวงของรัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย ประเทศเม็กซิโก เมืองมีประชากร 689,775 คน (ค.ศ. 2010) ขณะที่มหานครมีประชากร 996,826 คน เมืองมีประชากรที่มีระดับการศึกษาสูงและมีความชำนาญทางวิชาชีพ มีความทันสมัยและกลายเป็นศูนย์กลางสำคัญในเขตทะเลทราย แต่เดิมเศรษฐกิจของเมืองขึ้นกับสินค้าการเกษตร ซึ่งปัจจุบันก็ยังคงเป็นส่วนที่สำคัญทางเศรษฐกิจของเมืองเช่นกัน แต่ยังคงพัฒนาด้านอื่นไปด้วยไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรม เป็นที่ตั้งของบริษัทสำคัญอาทิ มิตซูบิชิ, ออโตไลต์, เนสท์เล่, โคคา-โคล่า และ กูดริชคอร์ปอเรชัน เมืองก่อตั้งเมื่อวันที่ 14 มีนาคม..
เอี่ยม ฉายางาม
ตราจารย์ เอี่ยม ฉายางาม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และอดีตสมาชิกว.
เทียนฉาย กีระนันทน์
ตราจารย์กิตติคุณ เทียนฉาย กีระนันทน์ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ รองประธานกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อนเกษียณอายุราชการดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ ระดับ 11 ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู อธิการบดีและเทียนฉาย กีระนันทน์
เดือน บุนนาค
ตราจารย์ เดือน บุนนาค ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ร่วมก่อตั้ง เลขาธิการ และรักษาการผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวหน้าพรรคสหชีพ มีผลงานที่สำคัญระหว่างปี..
เติมศักดิ์ กฤษณามระ
ตราจารย์กิตติคุณ เติมศักดิ์ กฤษณามระ ผู้อำนวยการสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประธานราชินีมูลน.
ดู อธิการบดีและเติมศักดิ์ กฤษณามระ
5 เมษายน
วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ผู้บัญชาการ (สถาบันอุดมศึกษา)ผู้ประศาสน์การ