โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก

ดัชนี องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก

ตราสัญลักษณ์ องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (World Meteorological Organization; ย่อ WMO) เป็นองค์การระหว่างรัฐบาลซึ่งมีรัฐและดินแดนสมาชิกจำนวนหนึ่งร้อยเก้าสิบเอ็ดราย จัดตั้งขึ้นเป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติเมื่อ..

47 ความสัมพันธ์: พายุหมุนเขตร้อนพายุไต้ฝุ่นทุเรียนกัรบะลาอ์การตั้งชื่อพายุหมุนเขตร้อนมิวนิกรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายชื่อพายุถูกปลดของฟิลิปปินส์รายชื่อพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิกที่ถูกถอนชื่อฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2543ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2544ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2555ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2557ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2558ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2556ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2558ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2559ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2560ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2558–2559ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2559–2560ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2556ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2558ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2559ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2560ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2557ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2558ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2559ศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาคสหประชาชาติสำนักงานอุตุนิยมวิทยาเกาหลีสเกลพายุหมุนเขตร้อนหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติอะเล็กซานเดรียองค์การระหว่างประเทศที่สูงแคเมอรอนดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลตความแปรปรวนของสภาพอากาศคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศปาแลร์โมแอ่งพายุหมุนเขตร้อนโลก (ดาวเคราะห์)โอซากะโปร์ตูอาเลกรี

พายุหมุนเขตร้อน

รนแบนด์โดยรอบ, และลักษณะของพายุหมุนเขตร้อน ที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนจากอวกาศ พายุหมุนเขตร้อน คือ ระบบพายุที่พัฒนามาจากศูนย์กลางของหย่อมความกดอากาศต่ำ, ลมแรง และการจัดเกลียวของพายุฝนฟ้าคะนอง ทั้งนี้ขึ้นกับสถานที่และความรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นบริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่งมีชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น พายุเฮอร์ริเคน, พายุโซนร้อน, พายุไซโคลน, พายุดีเปรสชันเขตร้อน และพายุไซโคลนอย่างง่าย โดยทั่วไปรูปแบบพายุหมุนเขตร้อนจะมีขนาดใหญ่ขึ้นกับความสัมพันธ์กับน้ำอุ่น โดยพายุจะได้รับพลังงานผ่านการระเหยของน้ำบริเวณพื้นผิวมหาสมุทร ซึ่งในที่สุดน้ำเหล่านั้นจะควบแน่นอีกครั้งและเข้าไปอยู่ในกลุ่มเมฆและฝน เมื่ออากาศชื้นและความเย็นอิ่มตัว ซึ่งแหล่งพลังงานนี้จะแตกต่างกับพายุหมุนละติจูดกลาง ตัวอย่างเช่น นอร์อิสเทิร์น และพายุลมยุโรป ซึ่งได้รับพลังพลักดันหลักจากความแตกต่างของอุณหภูมิในแนวนอน โดยลมหมุนวนรอบอย่างรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนนั้นเป็นผลมาจากการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม ซึ่งเกิดจากสภาวะการหมุนรอบตัวเองของโลก ขณะที่อากาศไหลเข้ามาสู่แกนกลางของการหมุน ผลที่ตามมา คือ พายุมักไม่ค่อยเกิดขึ้นภายใน 5° จากศูนย์สูตร พายุหมุนเขตร้อนโดยทั่วไปเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ที่ 100 - 4,000 กิโลเมตร คำว่า พายุหมุน (หรือไซโคลน) หมายถึง พายุหมุนตามธรรมชาติ ซึ่งลมจะพัดหมุนทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และจะพัดหมุนตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้ ซึ่งทิศทางตรงข้ามการของการไหลเวียนลม เป็นผลมาจากคอริโอลิส ส่วนคำว่า เขตร้อน หมายถึง แหล่งกำเนิดของพายุทางภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นรูปแบบพิเศษของทะเลในเขตร้อน นอกจากลมแรงและฝนตก พายุหมุนเขตร้อนมีความสามารถในการสร้างคลื่นสูง และก่อให้เกิดความเสียหายจากน้ำขึ้นจากพายุ และทอร์นาโด ซึ่งมักจะลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงที่พายุอยู่บนแผ่นดิน เนื่องจากถูกตัดขาดจากแหล่งพลังงานหลักของมัน จากเหตุผลนี้ ทำให้บริเวณชายฝั่งทะเล มักมีความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายจากพายุหมุนเขตร้อนมากกว่า เมื่อเทียบกับในแผ่นดิน อย่างไรก็ตามในแผ่นดินเองก็เกิดความเสียหายได้จากน้ำท่วมบนแผ่นดิน จากฝนตกหนัก และน้ำขึ้นจากพายุสามารถก่อให้เกิดน้ำท่วมบนแผ่นดินได้กว้างถึง 40 กิโลเมตร จากชายฝั่งทะเล แม้ว่าพายุหมุนเขตร้อนจะส่งผลกระทบต่อประชากรมนุษย์มหาศาล แต่พายุยังสามารถช่วยบรรเทาภาวะภัยแล้งได้ พวกมันยังพาพลังงานความร้อนออกไปจากเขตร้อน ข้ามผ่านไปยังละติจูดในเขตอบอุ่น ซึ่งอาจมีบทบาทสำคัญในการปรับเปลี่ยนสภาวะภูมิอากาศในระดับภูมิภาคและระดับโลก.

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

พายุไต้ฝุ่นทุเรียน

ต้ฝุ่นทุเรียน (ชื่อสากล: 0621, JTWC ตั้งชื่อ: 24W, ให้ชื่อ Typhoon Reming โดย PAGASA และบ้างครั้งเรียกซูเปอร์ไต้ฝุ่นทุเรียน) เป็นพายุที่รุนแรงมาก ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากในประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นเหตุให้มีประชาชนหลายหมู่บ้านเสียชีวิตเป็นจำนวนมากจากโคลนถล่มที่ภูเขาไฟมายอน ตามศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ไต้ฝุ่นทุเรียนเป็นดีเปรสชั่นในเขตร้อนลำดับที่ 24, พายุเขตร้อนลำดับที่ 23, ไต้ฝุ่นลำดับที่ 14 และซูเปอร์ไต้ฝุ่นลำดับที่ 7 ของฤดูไต้ฝุ่นเขตแปซิฟิกปี..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและพายุไต้ฝุ่นทุเรียน · ดูเพิ่มเติม »

กัรบะลาอ์

กัรบะลาอ์ (كَرْبَلَاءกัร ในที่นี้ไม่อ่าน กัน แต่อ่านออกเสียงเป็น การ์ แต่ตัดให้เสียงสระอะสั้นลง, کربلاء) บ้างก็อ่าน คาร์บาลา หรือ เคอร์บาลา เป็นเมืองหรืออำเภอเอกของจังหวัดกัรบะลาอ์ ตั้งทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอิรัก ด้านตะวันออกของทะเลสาบมิลห์ซึ่งเป็นทะเลสาบน้ำเค็มขนาดใหญ่ ห่างจากกรุงบัฆดาดประมาณ เมืองนี้รู้จักกันดีในฐานะสถานที่ยุทธการที่กัรบะลาอ์ หรือฆัซวัตกัรบะลาอ์อักษร ฮาห์ ة นั้นลงท้ายคำใด จะกลายเป็น /ต/ เมื่อมีคำต่อจากนั้น ถ้าไม่มีคำต่อจากนั้นก็คงเป็นสระอะตามปกติ (غَـزوَة كَـربَـلَاء) เมื่อ พ.ศ. 1223 ที่ตั้งของมัสยิดอิหม่ามฮุซัยน์บุตรอะลีและมัสยิดอับบาสShimoni & Levine, 1974, p. 160.

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและกัรบะลาอ์ · ดูเพิ่มเติม »

การตั้งชื่อพายุหมุนเขตร้อน

หมุนเขตร้อนและพายุหมุนกึ่งเขตร้อนจะได้รับการตั้งชื่อโดยศูนย์เตือนภัยต่าง ๆ เพื่อความสะดวกระหว่างนักพยากรณ์อากาศกับประชาชนทั่วไปในการคาดการณ์, ผู้สังเกตการณ์, และการเตือนภัย เนื่องจากระบบของพายุนั้น สามารถมีอายุนานกว่าสัปดาห์หรือมากกว่านั้น และในเวลาเดียวกัน ก็อาจมีพายุเกิดขึ้นได้มากกว่าหนึ่งลูกภายในแอ่งเดียวกัน การตั้งชื่อพายุจึงเกิดขึ้นเพื่อป้องกันการสับสนเกี่ยวกับพายุแต่ละลูก การใช้ชื่อที่ระบุเฉพาะตัวของพายุหมุนเขตร้อนแต่ละลูกต้องย้อนกลับไปหลายปี พร้อมกับระบบการตั้งชื่อตามชื่อสถานที่หรือสิ่งต่าง ๆ ก่อนจะมีการเริ่มต้นการตั้งชื่ออย่างเป็นทางการ โดยการตั้งชื่ออย่างเป็นทางการมีใช้กับพายุที่ก่อตัวในแอ่งพายุหมุนเขตร้อนในแอตแลนติกเหนือ, พายุหมุนเขตร้อนในแปซิฟิกตะวันออก, กลาง, พายุหมุนเขตร้อนในแปซิฟิกตะวันตก, พายุหมุนเขตร้อนในแปซิฟิกใต้ ซึ่งรู้จักกันดีในชื่อพายุหมุนเขตร้อนในภูมิภาคออสเตรเลีย และพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรอินเดีย โดยชื่อต่าง ๆ จะได้รับการกำหนดไว้ล่วงหน้า โดยเมื่อมีพายุหมุนเขตร้อนมีความเร็วลมเฉลี่ยในหนึ่ง, สาม หรือ สิบนาที มากกว่า 65 กิโลเมตร/ชั่วโมง ซึ่งขึ้นอยู่กับแอ่งนั้น.

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและการตั้งชื่อพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

มิวนิก

มิวนิก (Munich) หรือในภาษาเยอรมันว่า มึนเชิน (München) เป็นเมืองที่อยู่ทางใต้ของประเทศเยอรมนี และเป็นเมืองหลวงของรัฐบาวาเรีย ถือเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสามของประเทศรองจากเบอร์ลินและฮัมบวร์ค และเป็นหนึ่งในเมืองมั่งคั่งที่สุดของยุโรปตัวเมืองมีประชากร 1.3 ล้านคน และ 2.7 ล้านคนในเขตเมือง ตัวเมืองตั้งอยู่บนแม่น้ำอีซาร์ เหนือเทือกเขาแอลป์ มิวนิกเป็นเมืองที่มีเศรษฐกิจเข้มแข็งที่สุดในประเทศเยอรมนี โครงการริเริ่ม “Neue Soziale Marktwirtschaft (INSM)” (เศรษฐกิจตลาดสังคมใหม่) และนิตยสาร “Wirtschafts Woche” (ธุรกิจรายสัปดาห์) ให้คะแนนมิวนิกสูงที่สุดในการสำรวจเปรียบเทียบ ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2549 (เป็นครั้งที่สาม) มิวนิกยังเป็นอันดับหนึ่งในการจัดอันดับโดยนิตยสาร “Capital” ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ที่จัดอันดับแนวโน้มเศรษฐกิจระหว่าง..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและมิวนิก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

งประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพายุถูกปลดของฟิลิปปินส์

ื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์สำหรับการเตือนภัยพายุหมุนเขตร้อน ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและรายชื่อพายุถูกปลดของฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิกที่ถูกถอนชื่อ

ต้ฝุ่นแมมี ขณะกำลังมีความรุนแรงสูงสุด รายชื่อพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิกที่ถูกถอนชื่อของสำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) นับตั้งแต่ปีที่ประกาศใช้ชื่อสากลขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลกในเดือนมกราคม พ.ศ. 2543 จนถึงปัจจุบันมีชื่อของพายุหมุนเขตร้อนโดนปลดไปแล้วทั้งสิ้น 26 ชื่อ โดยชื่อที่ถูกปลดจะเป็นพายุที่มีอนุภาพทำลายล้างสูง ความเสียหายจากพายุที่โดนปลดทั้งหมดทำให้เกิดความเสียหายกว่า 68 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงิน ค.ศ.) และมีผู้เสียชีวิตกว่า 12,000 คน.

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและรายชื่อพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิกที่ถูกถอนชื่อ · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2543

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2544

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2555

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2557

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2558

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2556

ูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดี..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2558

ูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดี..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2559

ูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดี..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2560

ูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดี..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2558–2559

ูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2558–2559 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2559–2560

ูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2559–2560 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2556

ูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2558

ูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2559

ูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2560

ูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2557

ูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2558

ูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2559

ูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาค

ูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาค (Regional Specialized Meteorological Center, ย่อว่า RSMC) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบการเผยแพร่ข้อมูล คำแนะนำ และคำเตือนทางอุตุนิยมวิทยาในภูมิภาคที่ตนเองตั้งอยู่ ได้รับการยอมรับโดยความเห็นพ้องที่องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกในฐานะส่วนหนึ่งของหน่วยงานการเฝ้าระวังสภาพอากาศโลก.

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาค · ดูเพิ่มเติม »

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานอุตุนิยมวิทยาเกาหลี

ำนักงานอุตุนิยมวิทยาเกาหลี - หอดูดาวกวานัค สำนักงานอุตุนิยมวิทยาเกาหลี (ฮันกึล: 기상청; ฮันจา: 氣象廳; คีซังช็อง) เป็นสำนักงานด้านอุตุนิยมวิทยาของสาธารณรัฐเกาหลี เริ่มให้บริการด้านอุตุนิยมวิทยาเมื่อปี..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและสำนักงานอุตุนิยมวิทยาเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

สเกลพายุหมุนเขตร้อน

หมุนเขตร้อนจะถูกจัดระดับความรุนแรงอย่างเป็นทางการโดยการวัดลมที่หมุนเวียน ณ บนิเวณศูนย์กลางของระบบอย่างต่อเนื่อง โดยส่วนมากการจัดระดับความรุนแรงของพายุจะกระทำโดยสำนักงานอุตุนิยมวิทยา แต่บางเครื่องวัดจะมีการวัดที่แตกต่างออกไปเช่น วัดพลังงานสะสมพายุหมุนเขตร้อน (Accumulated cyclone energy), ดัชนีการสูญเสียพลังงาน, ดัชนีพลังงานแบบบูรณาการเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว และดัชนีความรุนแรงพายุเฮอร์ริเคน (Hurricane Severity Index) พายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือและทางตะวันออกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกจะใช้การจัดระดับความรุนแรงตามสเกลเฮอร์ริเคนของแซฟเฟอร์-ซิมป์สัน ส่วนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือจะใช้การจัดระดับความรุนแรงตามสำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น ส่วนศูนย์อุตุนิยมวิทยาภูมิภาค (RSMC) ในนิวเดลี, อินเดีย จะใช้สเกลที่แตกต่างออกไปเพื่อประเมินความเร็วลมสูงสุดของพายุหมุนเขตร้อน ส่วนในซีกโลกใต้ ศูนย์พยากรณ์สำนักงานอุตุนิยมวิทยาฝรั่งเศส ในเรอูว์นียงจะใช้สเกลวัดครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย ส่วนศูนย์อุตุนิยมวิทยาแห่งออสเตรเลียและ RSMC ใน นานดี, ฟิจิ จะใช้สเกลความรุนแรงพายุหมุนเขตร้อนของออสเตรเลีย คำนิยามของความเร็วลมตามที่องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกให้ไว้คือ คือเฉลี่ยของความเร็วลมสูงสุด 10 นาที ที่ความสูง 10 ม. (33 ฟุต) อย่างไรก็ตามสเกลเฮอร์ริเคนของแซฟเฟอร์-ซิมป์สัน จะใช้การวัดความเร็วลมสูงสุดใน 1 นาที ที่ความสูง 10 ม. (33 ฟุต) และสเกลที่ RSMC นิวเดลี ใช้คือเวลาเฉลี่ย 3 นาที และออสเตรเลียจะใช้ค่าลมกรรโชกสูงสุดเฉลี่ยใน 10 นาที จึงทำให้การเปรียบเทียบระดับความรุนแรงของแต่ละแอ่งนั้นเป็นไปโดยยาก โดยพายุหมุนเขตร้อนจะเริ่มถูกตั้งชื่อเมื่อมีความเร็วลมมากกว่า 35 นอต (40 ไมล์/ชม. หรือ 65 กม./ชม.).

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและสเกลพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ

นอกจากองค์การหลักทั้ง 6 องค์กรแล้ว (ยกเว้นคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติที่ได้ยุติการปฏิบัติงานในปี พ.ศ. 2537) ยังมีการตั้งหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติขึ้นมาทำหน้าที่พิเศษซึ่งเป็นไปตามกฎบัตรสหประชาชาติว่า องค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 สามารถตั้งหน่วยงานพิเศษขึ้นมาเพื่อการทำงานในรูปแบบต่างๆ ได้ หน่วยงานพิเศษที่ตั้งขึ้นมาจากองค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 องค์กรนั้น หน่วยงานพิเศษบางหน่วยงานอาจจะไม่ได้ขึ้นกับองค์กรใดองค์กรหนึ่งของสหประชาชาติเพียงอย่างเดียว บางหน่วยงานพิเศษที่ก่อตั้งขึ้นมานั้นอาจจะขึ้นอยู่กับองค์กรที่มีมากกว่า 1 องค์กรก็ได้หรือก็ขึ้นอยู่กับทุกๆองค์กรในสหประชาชาติก็ได้ ปัจจุบันหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติมีทั้งสิ้น 15 หน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติ รายชื่อหน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติมีดังนี้.

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อะเล็กซานเดรีย

อะเล็กซานเดรีย หรือในภาษาอาหรับเรียก อัลอัสกันดะริย์ยะ (Alexandria; الإسكندرية; Αλεξάνδρεια; คอปติก: Ⲣⲁⲕⲟⲧⲉ) เป็นเมืองใหญ่อันดับสองในประเทศอียิปต์ รองจากกรุงไคโร มีประชากรประมาณ 3-5 ล้านคน และเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศอียิปต.

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและอะเล็กซานเดรีย · ดูเพิ่มเติม »

องค์การระหว่างประเทศ

องค์การระหว่างประเทศ (international organisation) หมายถึง องค์การที่ประเทศหรือรัฐตั้งแต่สองรัฐขึ้นไปรวมกัน จัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นกลไกอย่างหนึ่งในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมทั้งสนับสนุนความร่วมมือและพัฒนากิจกรรมต่างๆเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมของรัฐสมาชิกและมวลมนุษยชาต.

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและองค์การระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ที่สูงแคเมอรอน

ที่สูงแคเมอรอน (Tanah Tinggi Cameron, ตานะฮ์ติงกีกาเมรน) เป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่บนเขาที่กว้างใหญ่ที่สุดของประเทศมาเลเซีย โดยมีขนาดพื้นที่เท่ากับประเทศสิงคโปร์ ครอบคลุมพื้นที่ว่า 712 ตารางกิโลเมตร(275 ตารางไมล์) มีพื้นที่ทางตอนเหนือติดกับรัฐกลันตัน และทางตะวันตกมีพื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตเมืองปีรัก ที่สูงแคเมอรอน อยู่บริเวณทางปลายสุดฝังตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐปาหัง "คาเมรอน" มีระยะทางประมาณ 90 กิโลเมตร(56 ไมล์) ถ้ามาจากทางเมืองอิโป หรือประมาณ 200 กิโลเมตร (120 ไมล์) ถ้ามาจากทางกัวลาลัมเปอร์ ถือว่าเป็นเขตเลือกตั้งที่เล็กที่สุดในปาหัง ผู้ค้นพบที่สูงแคเมอรอน คือ เซอร์ วิลเลียม คาเมรอนในปี 1885 ที่สูงแคเมอรอน ประกอบด้วย 3 ตำบล คือ ริงเลต (5,165 เฮคเตอร์), ทานะ ราตะ(2,081เฮคเตอร์) และอุรู เทลอม (63,981 เฮคเตอร์) ซึ่งแบ่งเป็นตำบลย่อย ๆ อีก 8 ตำบล คือ ริงเลต, ทานะ ราตะ (ศูนย์กลางบริหารของเมือง), บรินชาง, หุบเขาเบอแทม, ฟาร์มเกีย, ทริงแกป, กัวลา เทอรา และ กัมปุง ราจา พื้นที่เหล่านี้มีความต่างของสูงของแต่ละพื้นที่โดยจัดความสูงอยู่ในช่วงจาก 1100 เมตร ถึง 1600 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล อุณหภูมิเฉลี่ยต่อปีที่เหมาะแก่การพักผ่อนประมาณ 18 องศาเซลเซียส (64 องศาฟาเรนไฮต์) ในระหว่างวันอุณหภูมิจะไม่สูงเกินกว่า 25 องศาเซลเซียส(77 องศาฟาเรนไฮต์) ส่วนในช่วงกลางคืนอุณหภูมิไม่ต่ำไปกว่า 9 องศาเซลเซียส (48 องศาฟาเรนไฮต์) วัดที่พื้นที่ระดับสูง มีสถานพักตากอากาศไว้สำหรับประชาชนที่หลากหลายเชื้อชาติ สามารถรองรับได้มากกว่า 38,000 คน ซึ่งประกอบด้วยชาวมลายูที่เป็นมุสลิมและมีถิ่นฐานอยู่ในอาณาเขตของประเทศมาเลเซียปัจจุบัน (ชาวมลายู(7,321), อื่นๆ(5,668)), ชาวจีน(13,099), ชาวอินเดีย (6,988), กลุ่มที่ไม่ใช่พลเมืองมลายู และชนชาติอื่นๆ(202) ผู้อยู่อาศัยส่วนใหญ่เป็นเจ้าของกิจการ, พนักงานอุตสาหกรรมบริการ, คนงานฟาร์ม, คนเกษียณ หรือข้าราชการ ภาษาที่ใช้พูด มีภาษามลายู, ภาษาจีนกลาง, ภาษาทามิล และภาษาอังกฤษ ศาสนาอิสลาม, ศาสนาพุทธ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาฮินดู, ศาสนาคริสต์ และศาสนาซิกห์ เป็นศานาหลักที่นับถือ ที่สูงแคเมอรอน ได้ถูกพัฒนาในปี 1930 เทเบิ้ลแลนด์ เป็นหนึ่งในจุดท่องเที่ยวที่เก่าแก่ที่สุดในมาเลเซีย นอกจากอุตสาหกรรมชาแล้วที่ราบสูงแห่งนี้ถูกบันทึกว่าเป็นสถานที่ที่มีอากาศเย็นด้วยสถานที่นี้เอง มีทั้งสวนผลไม้, สถานที่เพาะชำพันธุ์ไม้, แหล่งเพาะปลูก, น้ำตก, แม่น้ำ, ทะเลสาบ, สัตว์ป่า, ป่าที่ปกคลุมด้วยหญ้ามอส, สนามกอล์ฟ, โรงแรม, สถานที่ศักดิ์สิทธิ์, บังกะโล, แลนด์ โรเวอร์, พิพิธภัณฑ์ และชนพื้นเมืองเดิม(โอแรง แอสลี่) ทางถนนที่เดินทางมาที่สูงแคเมอรอน คือ ทาพาธ, ซิมปัง พูราย, กัว มูแซง และ ซันกาย โคยาน ทาพาธ และ ซิมปัง พูราย เป็นสองทางจากเมืองปีรัก กัว มูแซง และ ซันกาย โคยาน เป็นทางเข้าที่มาจากรัฐกลันตัน และรัฐปาหัง ตามลำดั.

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและที่สูงแคเมอรอน · ดูเพิ่มเติม »

ดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต

ัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต (ultraviolet index) หรือ ดัชนียูวี (UV Index) เป็นการวัดมาตรฐานระดับสากลในเรื่องของการเผาของแดดโดยการแผ่รังสี ของรังสีอัลตราไวโอเลต ในพื้นที่หรือเวลานั้น ๆ หน่วยวัดได้รับการพัฒนาโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวแคนาดาในปี..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต · ดูเพิ่มเติม »

ความแปรปรวนของสภาพอากาศ

วามแปรปรวนของสภาพอากาศ (Climate Variability) หมายถึง สภาพภูมิอากาศ ที่มีการเปลี่ยนไปจากปกติ ในช่วงเวลาที่มากกว่าช่วงฤดูกาลหรือช่วงปี เป็นช่วงการเปลี่ยนแปลงที่มากกว่าวันต่อวันแบบสภาพอากาศ Weather นอกจากนี้ความแปรปรวนของสภาพอากาศ อาจหมายถึงสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงในระดับที่แตกต่างจากค่าเฉลี่ยของปีอื่นๆแต่ไม่ส่งผลแตกต่างทางสถิติในระดับยาวนานหรือระดับสภาพภูมิอากาศ มักมีความสับสนระหว่าง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) กับ ความแปรปรวนของสภาพอากาศ ซึ่งความแตกต่างคือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จะเกิดในช่วงระยะเวลาที่ยาวนานมากกว่า 30 ปีขึ้นไป ส่วนความแปรปรวนของสภาพอากาศ จะหมายถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในช่วงระยะเวลาสั้นๆ เช่น เดือนต่อเดือน ปีต่อปี.

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและความแปรปรวนของสภาพอากาศ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change หรือ IPCC) ก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2531 โดยองค์กรอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) และโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP) เป็นคณะที่ให้คำแนะนำแก่ผู้กำหนดนโยบายเกี่ยวกับสภาวการณ์ปัจจุบันขององค์ความรู้และให้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน แต่ไม่ได้ดำเนินการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เป็นผู้ทบทวนรายงานที่เกี่ยวกับภาวะโลกร้อนที่ตีพิมพ์ในสิ่งพิมพ์ที่ได้รับการพิจารณาตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ (peer reviewed) ในทุกๆ ปี และสรุป “สถานะขององค์ความรู้” เรื่องภาวะโลกร้อนในรายงานการประเมินซึ่งตีพิมพ์ทุกๆ 5 ปี หรือมากกว่านั้น ผู้เชี่ยวชาญประมาณ 1,000 คน โดยแบ่งคณะทำงาน 3 คณะ คือ.

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ · ดูเพิ่มเติม »

ปาแลร์โม

ปาแลร์โม (Palermo; ซิซิลี: Palermu) เป็นเมืองเก่าทางตอนใต้ของประเทศอิตาลี และเป็นเมืองหลักของแคว้นปกครองตนเองซิซิลี การเดินทางเข้าเมืองสะดวกสบาย มีรถไฟมาเทียบท่าถึงที่ ข้ามถนนสายหลัก พบโรงแรมหลายระดับให้เลือกเข้าพัก ปาแลร์โมเป็นเมืองที่มีประวัติยาวนานย้อนหลังไปถึง 800 ปีก่อนคริสตกาลและผ่านการยึดครองจากหลายชาติหลายภาษา ทำให้มีโบราณสถานโบราณวัตถุลักษณะและรูปแบบแตกต่างกันมีอยู่เป็นจำนวนมาก แต่ละแห่งอยู่ไม่ห่างไกลกันนัก ที่นี่ยังมีสวนพฤกษศาสตร์ (Orte Botanica) ให้คนรักต้นไม้ ดอกไม้ได้เข้าชม มีท่าเรือ มีทะเล มีชายหาด มีสวนสาธารณะ เวลาเปิด-ปิดของร้านค้าช่วงเช้า เวลา 09.00-13.00 น. ช่วงบ่าย 17.00-19.30 น. นอกนั้นปิด และวันอาทิตย์ก็ปิดทั้งวัน ส่วนตลาดนัดจะเปิดตลอดวัน แต่ไม่ค่อยคึกคักนัก คนจะเยอะเฉพาะตอนเช้.

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและปาแลร์โม · ดูเพิ่มเติม »

แอ่งพายุหมุนเขตร้อน

thumb ตามธรรมเนียม พายุหมุนเขตร้อนจะก่อตัวขึ้นแยกกันภายในทั้งหมดเจ็ดแอ่ง ซึ่งประกอบไปด้วย มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ, ด้านตะวันออกและตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ, ด้านตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก, ด้านตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย และด้านเหนือของมหาสมุทรอินเดีย (ทะเลอาหรับ และ อ่าวเบงกอล) ซึ่งในเจ็ดแอ่งนี้ มหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตกมีการกิจกรรมของพายุหมุนเขตร้อนบ่อยที่สุด และด้านเหนือของมหาสมุทรอินเดียมีกิจกรรมของพายุหมุนเขตร้อนน้อยที่สุด ค่าเฉลี่ยของพายุหมุนเขตร้อน ที่มีความรุนแรงในระดับมากกว่าพายุโซนร้อน ทั่วโลกอยู่ที่ 86 ลูก ในจำนวนนี้ 47 ลูก มีความรุนแรงเป็นถึงพายุเฮอร์ริเคน/พายุไต้ฝุ่น และอีก 20 ลูก มีความรุนแรงเป็นถึงพายุหมุนเขตร้อนที่รุนแรง (อย่างน้อยมีความรุนแรงอยู่ในระดับ 3).

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและแอ่งพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

โลก (ดาวเคราะห์)

ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและโลก (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

โอซากะ

อซากะ เป็นเมืองที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และยังเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในสามนครเคฮันชิง ตั้งอยู่ในภาคคันไซบนเกาะฮนชู ในเขตจังหวัดโอซากะ เป็นหนึ่งในไม่กี่เมืองที่มีสถานะเป็นนครโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น นครโอซากะมีประชากรทั้งหมดประมาณ 2.7 ล้านคน แต่ในช่วงเวลาทำงานจะเพิ่มขึ้นเป็น 3.7 ล้านคน ซึ่งเป็นรองเพียงแต่โตเกียวเท่านั้น อัตราส่วนประชากรกลางวันต่อกลางคืนเท่ากับ 141 เปอร์เซ็นต์ นครตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำโยะโดะ อ่าวโอซากะ และทะเลเซะโตะ โอซากะเป็นเป็นเมืองสำคัญทางประวัติศาสตร์ ทั้งการค้าและวัฒนธรรมเมืองหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น มีสมญาว่า ครัวของชาติ เพราะเป็นศูนย์กลางการค้าข้าวของญี่ปุ่นตั้งแต่สมัยเอะโดะ และปัจจุบันเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

โปร์ตูอาเลกรี

ปร์ตูอาเลกรี (Porto Alegre) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรัฐรีโอกรันดีโดซูล ประเทศบราซิล ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกและโปร์ตูอาเลกรี · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

WMOองค์กรอุตุนิยมวิทยาโลก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »